ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChristian Rickard Lindgren ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ทิศทางนโยบายในการดำเนินงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข ปี 2562
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
2
ทิศทางและเป้าหมาย การขับเคลื่อน ปี 2562
3
ยึดยุทธศาสตร์ 20 ปี กสธ. ทิศทางและเป้าหมายการขับเคลื่อน ปี 2562
ภายใต้วิสัยทัศน์เขตสุขภาพที่ 10 : เขตสุขภาพชั้นนำ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี
4
เป้าหมาย 8 Corporate Indicators Access Coverage Quality Governance 5 1
ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน 8 Corporate Indicators 5 1 3 ลด Premature Mortality Happy work life index Access 6 Coverage 4 2 7 Happy Workplace Index ลดปัจจัยเสี่ยง/เจ็บป่วยของ คนไทยเพื่อเพิ่ม (HALE) Quality 8 Governance
6
ยุทธศาสตร์ 1. PP&P Excellence 2. Service Excellence
ระบบคุ้มครองผู้บริโภคที่มีประสิทธิภาพ ระบบการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพที่มีประสิทธิภาพ 1. PP&P Excellence 2. Service Excellence 3. People Excellence 4. Governance Excellence การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ
7
PA :Performance Agreement
ภารกิจ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ บริการสุขภาพ ยาและเวชภัณฑ์ 1. อาหาร 2. ยา 3. วัตถุเสพติด 4.วัตถุออกฤทธิ์ 5. เครื่องสำอาง 6. วัตถุอันตราย 7.เครื่องมือแพทย์ 8. งานโฆษณา 9. งานอาหารปลอดภัย 10. การจัดการเรื่องร้องเรียน 1.การป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพ และส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 2.การบริหารยาและเวชภัณฑ์ มิใช่ยาในโรงพยาบาลและ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลอย่างมีประสิทธิภาพ งานบริการสุขภาพ KPI - ร้อยละของสถาน พยาบาลและสถาน ประกอบการเพื่อสุขภาพ ได้รับการตรวจสอบ มาตรฐานตามเกณฑ์ที่ กำหนด KPI 31. ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์และวัสดุท้นตกรรม 3. การป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพและส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 2.การคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ ภารกิจกลุ่มงานเพื่อให้เข้าใจง่ายๆจะแบ่งตามยุทธศาสตร์กระทรวง 3 กลุ่มคือ 1.กลุ่มผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2.สถานบริการสุขภาพ 3.การบริการตาม Service Plan 4.ประสิทธิภาพการบริหารด้านยาและเวชภัณฑ์ โดยแต่ละกลุ่มมีแผนงานโครงการรองรับและตัวชี้วัดตามPA :Performance Agreement 51.ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) KPI 1.การคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ - ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย - ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด - การบริหารยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยาใน รพ.และรพ.สต. อย่างมีประสิทธิภาพ PA :Performance Agreement
8
4. Governance Excellence
- ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมี ความปลอดภัย ≥90% - ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบ ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด≥97% - ร้อยละของสถานพยาบาล(100%)และสถาน ประกอบการเพื่อสุขภาพได้รับการตรวจสอบ มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด≥70% 17.ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล เป้าขั้น 1≥80% ขั้น 2 ≥80% ขั้น 3 ≥80% 2. Service Excellence 1. P&P Excellence 4. Governance Excellence 3. People Excellence ตัวชี้วัดและเกณฑ์ชี้วัดในแต่ละยุทธศาสตร์ ที่เป็นภารกิจกลุ่มงานดังนี้ 1. P&P Excellence 2. Service Excellence 4. Governance Excellence - ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์และวัสดุท้นตกรรม เป้า ≥25%
9
Service plan RDU ตัวชี้วัดใน (Performance Agreement: PA)
การพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ตัวชี้วัดใน (Performance Agreement: PA)
10
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและปลอดภัยในการใช้ยา (RDU)
2. เพื่อลดการเกิดเชื้อดื้อยาและลดการป่วยจากเชื้อดื้อยา (AMR) 3.ลดค่าใช้จ่าย ด้านยาที่ไม่เหมาะสม วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและปลอดภัยในการใช้ยา (RDU) 2. เพื่อลดการเกิดเชื้อดื้อยาและลดการป่วยจากเชื้อดื้อยา (AMR)
13
เป้าหมายการดำเนินงาน 2560 - 2564
รายการ ปีงบประมาณ 60 61 62 63 64 RDU ขั้นที่ 1 ≥60 ≥80 ≥100 RDU ขั้นที่ 2 - ≥20 RDU ขั้นที่ 3 ≥50 GOAL 2562 - ผ่านขั้น1 ≥ 100% (22 แห่ง) - ผ่านขั้น 2 ≥ 80% (17 แห่ง) - ผ่านขัน 3 ≥ 80% (17 แห่ง)
14
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.