งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการสาธารณสุข ปี 2560
ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ การประชุมถ่ายทอดแผนงาน/โครงการปี 60 ระหว่างวันที่ 2-3 พฤศจิกายน 2559 ณ โรงแรม อมารี แอร์พอร์ต

2 แนวทางภาพรวมปี 60 แนวทางภาพรวม ณ ปัจจุบันยังคงยึดตามแนวทาง ปี 2559
แนวทางภาพรวม ณ ปัจจุบันยังคงยึดตามแนวทาง ปี 2559 ไม่มีการเพิ่มเป้าหมาย รพ.คลินิกโรคจากการทำงาน สิ่งที่แตกต่าง การบูรณาการเกณฑ์มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย และการจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการทุกระดับรพศ/รพท, รพช, รพ.สต รพ.สต.เข้าสู่กระบวนการประเมินและรับรองผล

3 ผลการดำเนินงานปี 59

4 รายชื่อ รพ.ผ่านมาตรฐานอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมรวมปี 58-59
เขต สคร. รายชื่อจังหวัด รายชื่อโรงพยาบาล ผลการดำเนินงาน ผ่านประเมิน Env ปี 58 ผ่านประเมิน Occ ปี 58 ผ่านประเมิน Env. ปี 59 ผ่านประเมิน Occ ปี 59 สรุปยอดสะสม รพ. สามารถจัดบริการ Env Occ ปีงบฯ 59 1 เชียงใหม่ รพท.นครพิงค์เชียงใหม่ ผ่าน ดีมาก 6 แห่ง ลำพูน รพท.ลำพูน รพช.ลี้ ดี ลำปาง รพ.ลำปาง แม่ฮ่องสอน รพท.ศรีสังวาลย์ ดีเด่น เชียงราย รพท.เชียงรายฯ รพร.เชียงของ (รพช.) เริ่มต้น แพร่ รพ.แพร่ น่าน รพท.น่าน พะเยา รพท.พะเยา

5 รายชื่อ รพ.ผ่านมาตรฐานอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมรวมปี 58-59
เขต สคร. รายชื่อจังหวัด รายชื่อโรงพยาบาล ผลการดำเนินงาน ผ่านประเมิน Env ปี 58 ผ่านประเมิน Occ ปี 58 ผ่านประเมิน Env. ปี 59 ผ่านประเมิน Occ ปี 59 สรุปยอดสะสม รพ. สามารถจัดบริการ Env Occ ปีงบฯ 59 2 พิษณุโลก รพท.พุทธชินราช  3 แห่ง รพช.ชาติตระการ เริ่มต้น ตาก รพท.แม่สอด ผ่าน ดีเด่น รพท.สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ดีมาก รพช.บ้านตาก เพชรบูรณ์ รพท.เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ รพศ.อุตรดิตถ์ สุโขทัย รพท.สุโขทัย

6 รายชื่อ รพ.ผ่านมาตรฐานอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมรวมปี 58-59
เขต สคร. รายชื่อจังหวัด รายชื่อโรงพยาบาล ผลการดำเนินงาน ผ่านประเมิน Env ปี 58 ผ่านประเมิน Occ ปี 58 ผ่านประเมิน Env. ปี 59 ผ่านประเมิน Occ ปี 59 สรุปยอดสะสม รพ. สามารถจัดบริการ Env Occ ปีงบฯ 59 3 นครสวรรค์ 1 แห่ง  พิจิตร รพท.พิจิตร ผ่าน ดีมาก รพช.ทับคล้อ เริ่มต้น ชัยนาท รพท.ชัยนาทฯ กำแพงเพชร รพท.กำแพงเพชร อุทัยธานี

7 รายชื่อ รพ.ผ่านมาตรฐานอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมรวมปี 58-59
เขต สคร. รายชื่อจังหวัด รายชื่อโรงพยาบาล ผ่าน Env ปี 58 ผ่าน Occ ปี 58 ผ่าน Env. ปี 59 ผ่านประเมิน Occ ปี 59 สรุปยอดสะสม รพ. สามารถจัดบริการ Env Occ ปีงบฯ 59 4 สระบุรี รพศ.สระบุรี ผ่าน เริ่มต้น รวม 2 แห่ง พระนครศรีอยุธยา รพศ.พระนครศรีอยุธยา ดีมาก ดีเด่น รพท.เสนา ปทุมธานี รพท.ปทุมธานี นนทบุรี ลพบุรี นครนายก สิงห์บุรี อ่างทอง

8 รายชื่อ รพ.ผ่านมาตรฐานอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมรวมปี 58-59
เขต สคร. รายชื่อจังหวัด รายชื่อโรงพยาบาล ผลการดำเนินงาน ผ่าน Env ปี 58 ผ่าน Occ ปี 58 ผ่าน Env. ปี 59 ผ่านประเมิน Occ ปี 59 สรุปยอดสะสม รพ. สามารถจัดบริการ Env Occ ปีงบฯ 59 5 ราชบุรี รพท.โพธาราม ดีเด่น รวมผ่าน 3 แห่ง  กาญจนบุรี รพท.พหลพลฯ รพท.มะการักษ์ ผ่าน เริ่มต้น สมุทรสาคร รพท.สมุทรสาคร ดีมาก ประจวบคีรีขันธ์ รพท.ประจวบคีรีขันธ์ รพท.หัวหิน สุพรรณบุรี รพท.เจ้าพระยายมราชสุพรรณฯ รพช.ศรีประจันต์ เพชรบุรี รพท.พระจอมเกล้า สมุทรสงคราม นครปฐม รพศ.นครปฐม

9 รายชื่อ รพ.ผ่านมาตรฐานอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมรวมปี 58-59
เขต สคร. รายชื่อจังหวัด รายชื่อโรงพยาบาล ผลการดำเนินงาน ผ่านประเมิน Env ปี 58 ผ่านประเมิน Occ ปี 58 ผ่านประเมิน Env. ปี 59 ผ่านประเมิน Occ ปี 59 สรุปยอดสะสม รพ. สามารถจัดบริการ Env Occ ปีงบฯ 59 6 ชลบุรี รพศ.ชลบุรี ผ่าน ดีเด่น รวม 6 แห่ง รพท.บางละมุง เริ่มต้น ระยอง รพศ.ระยอง รพช.บ้านฉาง รพช.แหลมฉบัง ฉะเชิงเทรา รพท.พุทธโสธร สมุทรปราการ รพท.สมุทรปราการ ดี ดีมาก ตราด รพท.ตราด รพช.บ่อไร่ ปราจีนบุรี รพศ.เจ้าพระยาอภัยฯ รพท.กบินทร์บุรี สระแก้ว รพท.สระแก้ว จันทบุรี รพศ.พระปกเกล้า

10 รายชื่อ รพ.ผ่านมาตรฐานอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมรวมปี 58-59
เขต สคร. รายชื่อจังหวัด รายชื่อโรงพยาบาล ผลการดำเนินงาน ผ่านประเมิน Env ปี 58 ผ่านประเมิน Occ ปี 58 ผ่านประเมิน Env. ปี 59 ผ่านประเมิน Occ ปี 59 สรุปยอดสะสม รพ. สามารถจัดบริการ Env Occ ปีงบฯ 59 7 ขอนแก่น รพศ.ขอนแก่น ดีเด่น รวม 2 แห่ง  รพท.สิรินธร กาฬสินธุ์ รพท.กาฬสินธุ์ ผ่าน เริ่มต้น ร้อยเอ็ด รพท.ร้อยเอ็ด ดี มหาสารคาม รพท.มหาสารคาม ดีมาก

11 รายชื่อ รพ.ผ่านมาตรฐานอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมรวมปี 58-59
เขต สคร. รายชื่อจังหวัด รายชื่อโรงพยาบาล ผ่านประเมิน Env ปี 58 ผ่านประเมิน Occ ปี 58 ผ่านประเมิน Env. ปี 59 ผ่านประเมิน Occ ปี 59 สรุปยอดสะสม รพ. สามารถจัดบริการ Env Occ ปีงบฯ 59 8 อุดรธานี รพศ.อุดรธานี ดีมาก ผ่าน รวมผ่าน 4 แห่ง เลย รพท.เลย ดี หนองคาย รพท.หนองคาย นครพนม รพท.นครพนม ดีเด่น สกลนคร รพศ.สกลนคร รพช.นิคมน้ำอูน เริ่มต้น รพช.โพนนาแก้ว รพช.บ้านม่วง รพช.วานรนิวาส รพช.พระอาจารย์แบน รพช.พระอาจารย์ฝั้นฯ บึงกาฬ รพ.บึงกาฬ หนองบัวลำภู รพ.หนองบัวลำภู

12 รายชื่อ รพ.ผ่านมาตรฐานอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมรวมปี 58-59
เขต สคร. รายชื่อจังหวัด รายชื่อโรงพยาบาล ผลการดำเนินงาน ผ่านประเมิน Env ปี 58 ผ่านประเมิน Occ ปี 58 ผ่านประเมิน Env. ปี 59 ผ่านประเมิน Occ ปี 59 สรุปยอดสะสม รพ. สามารถจัดบริการ Env Occ ปีงบฯ 59 9 นครราชสีมา รพศ.มหาราชนครราชฯ ผ่าน ดีเด่น รวมผ่าน รพท.เทพรัตน์ 3 แห่ง รพช.สูงเนิน ดีมาก รพช.โชคชัย เริ่มต้น บุรีรัมย์ รพศ.บุรีรัมย์ รพช.บ้านใหม่ชัยพจน์ รพช.กระสัง ดี รพช.พลับพลาชัย สุรินทร์ รพศ.สุรินทร์ รพช.ชุมพลบุรี รพช.สนม ชัยภูมิ รพท.ชัยภูมิ

13 รายชื่อ รพ.ผ่านมาตรฐานอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมรวมปี 58-59
เขต สคร. รายชื่อจังหวัด รายชื่อโรงพยาบาล ผลการดำเนินงาน ผ่านประเมิน Env ปี 58 ผ่านประเมิน Occ ปี 58 ผ่านประเมิน Env. ปี 59 ผ่านประเมิน Occ ปี 59 สรุปยอดสะสม รพ. สามารถจัดบริการ Env Occ ปีงบฯ 59 10 อุบลราชธานี รพศ.สรรพสิทธิฯ ผ่าน ดีเด่น รวมผ่าน รพท.วารินชำราบ 4 แห่ง รพร.เดชอุดม มุกดาหาร รพท.มุกดาหาร ศรีสะเกษ  รพท ศรีสะเกษ ยโสธร รพท.ยโสธร ดีมาก อำนาจเจริญ รพท.อำนาจเจริญ

14 รายชื่อ รพ.ผ่านมาตรฐานอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมรวมปี 58-59
เขต สคร. รายชื่อจังหวัด รายชื่อโรงพยาบาล ผลการดำเนินงาน ผ่านประเมิน Env ปี 58 ผ่านประเมิน Occ ปี 58 ผ่านประเมิน Env. ปี 59 ผ่านประเมิน Occ ปี 59 สรุปยอดสะสม รพ. สามารถจัดบริการ Env Occ ปีงบฯ 59 11 นครศรีธรรมราช รพศ.มหาราชนครศรีฯ ผ่าน ดีมาก รวมผ่าน กระบี่ รพ.กระบี่ 4 แห่ง ภูเก็ต รพศ.วชิระภูเก็ต ดี พังงา รพท.พังงา สุราษฎร์ธานี รพศ.สุราษฎ์ธานี ระนอง ชุมพร

15 รายชื่อ รพ.ผ่านมาตรฐานอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมรวมปี 58-59
จังหวัด โรงพยาบาล ผลการดำเนินงาน ผ่าน Env ปี 58 ผ่าน Occ ปี 58 ผ่าน Env. ปี 59 ผ่าน Occ ปี 59 สรุปยอดสะสม รพ. สามารถจัดบริการ Env Occ ปีงบฯ 59 เขต 12 สงขลา รพท.หาดใหญ่ เริ่มต้น ผ่าน ดีมาก รวมผ่าน รพช.จะนะ 2 แห่ง รพท.สงขลา รพช.สะบ้าย้อย ตรัง รพศ.ตรัง ดี นราธิวาส รพท.นราธิวาส รพท.สุไหงโกลก รพช.ตากใบ รพช.ยี่งอ ปัตตานี รพท.ปัตตานี พัทลุง รพท.พัทลุง ยะลา รพศ.ยะลา สตูล รพท.สตูล

16 การพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัย ปี 2560
กิจกรรมการดำเนินงาน 1.การประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรสำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัยตามมาตรฐานใน รพช. กลุ่มเป้าหมายในการจัดอบรม โรงพยาบาลชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ hotzone (รวมเศรษฐกิจพิเศษ) ทั้งหมด 46 จังหวัด จำนวนวันอบรม 2 วัน

17 แผนการดำเนินงาน ภาค เจ้าภาพ สถานที่ ระยะเวลาการจัดอบรม ภาคเหนือ
สคร ๑-๓ สคร. 2 จ.พิษณุโลก 8-9 ธันวาคม ๒๕๕๙ ภาคกลาง สคร.๔-๖ และ กทม. สำนักฯ ภาคกลาง หรือ กทม. 25-26 มกราคม ๒๕60 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สคร. ๗-๑๐ สคร. 7  จ. ขอนแก่น 29-30 พฤศจิกายน ๒๕๕9 ภาคใต้ สคร ๑๑, ๑๒ สคร. 12  จ. ตรัง 11-12 มกราคม 2560

18 การพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปี 2560
กิจกรรมการดำเนินงาน 2. การพัฒนาหน่วยบริการภาคเอกชนให้ดำเนินงานตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย กิจกรรม/แผนการดำเนินงาน การประชุมผู้เชี่ยวชาญและผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาคุณภาพการจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับหน่วยบริการภาคเอกชน การอบรมหน่วยบริการภาคเอกชนเพื่อการดำเนินงานตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย (เน้นการประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล) ระยะเวลาอบรม 3 วัน จัด 2 รุ่น ๆ ละ 60 คน พื้นที่ดำเนินการ กรุงเทพฯ หรือ ปริมณฑล กลุ่มเป้าหมาย โรงพยาบาลเอกชน

19 การพัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ปี 2560
3. ติดตาม ประเมินการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐาน รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. และการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล 2.1 การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล (ยึดตามแนวทางปี 2559) 2.2 การประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมสำหรับ รพศ. รพท. รพชและ รพ.สต

20 มาตรฐานบูรณาการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบ รพศ/รพท รพช รพ.สต 1.การบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 9 8 5 2.การจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรในโรงพยาบาล 10 3.การจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุกแก่ผู้ประกอบอาชีพภายนอก 7 4.การจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมเชิงรับ 12 5.การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม (เน้นเชิงรุก) รอข้อมูล รวม 48 ข้อ 42 ข้อ องค์ที่ 1 องค์ที่ 2 องค์ที่ 3 องค์ที่ 4 องค์ที่ 5 การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อม

21 หน่วยงานที่ดำเนินการ
แนวทางการดำเนินงานมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมปี 60 (เกณฑ์บูรณาการ) รพศ , รพท. ระดับโรงพยาบาล หน่วยงานที่ดำเนินการ รพศ , รพท. ที่เข้าร่วม โครงการพัฒนาคลินิกโรค จากการทำงานทุกแห่ง ประเมินตนเองตามมาตรฐาน การจัดบริการอาชีวอนามัย (ยกเว้น รพ ที่ผ่านการ รับรองมาแล้ว) -สคร. สสจ ประชาสัมพันธ์ และเก็บรวบรวมรายชื่อโรงพยาบาลพร้อมผลการประเมินตนเองส่งให้กับสำนักฯ รพศ , รพท. ประเมินตาม มาตรฐานการจัดบริการอาชี วอนามัย (ร้อยละสะสม 50) สคร. คัดเลือก รพ. ที่มีความพร้อม ตามเป้าของสคร. เพื่อเข้ารับการประเมินจากทีมประเมิน (มีผลการประเมินตนเอง) -สำนักฯ ออกสอบทวนร่วมกับทีมประเมินระดับจังหวัดเฉพาะ รพ. ระดับดีมาก ดีเด่น -สคร.รวบรวมหลักฐานเพื่อขอรับรองผล เฉพาะ รพ. ระดับดีมาก ดีเด่น และเก็บรวบรวมรายชื่อโรงพยาบาลพร้อมผลการประเมินระดับอื่นๆ ส่งให้กับสำนักฯ

22 จำนวนรพ.เป้าหมาย และข้อเสนอแนะ
เป้าหมาย รพศ/รพท จำนวนรพ.เป้าหมาย และข้อเสนอแนะ เขต สคร. ร้อยละรพ.ที่ผ่าน อช.+สวล. ปี จำนวนรพ.ที่ต้องดำเนินการเพิ่มตามเป้า ปี 60 (รพ.) จน. รพ สะสม จนถึงปี 60 รพ.ที่ไม่ผ่าน อช. แต่ผ่าน สวล. รพ.ที่ไม่ผ่าน สวล. แต่ผ่าน อช. รพ.ที่ไม่ผ่านทั้งอช.+สวล. 1 (เชียงใหม่) 6/11*100 = 54.54 - เสนอแนะขยายลงรพท ที่เหลือและรพช ตามเป้า ศก. พิเศษ 6 รพศ.ลำปาง รพท.แพร่ รพท.จอมทอง จ.เชียงใหม่ รพท.ฝาง จ.เชียงใหม่ รพท.เชียงคำ จ.พะเยา 2 (พิษณุโลก) 3/7*100 = 42.85 1 4 รพท.สุโขทัย รพศ.พุทธชินราช จ.พิษณุโลก รพท.เพชรบูรณ์ รพท.ศรีสังวรสุโขทัย จ.สุโขทัย 3 (นครสวรรค์) 1/5*100 = 20 2 3 รพท.กำแพงเพชร รพท.ชัยนาทนเรนทร รพศ.สวรรค์ประชารักษ์ จ.นครสวรรค์ รพท.อุทัยธานี

23 จำนวนรพ.เป้าหมาย และข้อเสนอแนะ
เป้าหมาย รพศ/รพท จำนวนรพ.เป้าหมาย และข้อเสนอแนะ เขต สคร. ร้อยละรพ.ที่ผ่าน อช.+สวล. ปี จำนวนรพ.ที่ต้องดำเนินการเพิ่มตามเป้า ปี 60 (รพ.) จน. รพ สะสม จนถึงปี 60 รพ.ที่ไม่ผ่าน อช. แต่ผ่าน สวล. รพ.ที่ไม่ผ่าน สวล. แต่ผ่าน อช. รพ.ที่ไม่ผ่านทั้งอช.+สวล. 4 (สระบุรี) 2/12*100 = 16.66 4 6 - รพท.ปทุมธานี รพท.เสนา รพท.พระนั่งเกล้า จ.นนทบุรี รพท.พระพุทธบาท จ.ปทุมธานี รพท.พระนารายณ์มหาราช จ.ลพบุรี รพท.บ้านหมี่ จ.ลพบุรี รพท.สิงห์บุรี รพท.อินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี รพท.อ่างทอง รพท.นครนายก 5 (ราชบุรี) 3/15*100 = 20 5 8 รพศ.นครปฐม รพท.โพธาราม จ.ราชบุรี รพท.พระจอมเกล้า จ. เพชรบุรี รพท.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ รพศ.ราชบุรี รพท.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี รพท.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี รพท.พหลพลพยุหเสนา จ.กาญจนบุรี รพท.สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 รพท.ประจวบคีรีขันธ์ รพท.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร รพท.สมเด็จพระพุทธเลิศหล้า จ.สมุทรสงคราม

24 จำนวนรพ.เป้าหมาย และข้อเสนอแนะ
เป้าหมายรพศ/รพท จำนวนรพ.เป้าหมาย และข้อเสนอแนะ เขต สคร. ร้อยละรพ.ที่ผ่าน อช.+สวล. ปี จำนวนรพ.ที่ต้องดำเนินการเพิ่มตามเป้า ปี 60 (รพ.) จน. รพ สะสม จนถึงปี 60 รพ.ที่ไม่ผ่าน อช. แต่ผ่าน สวล. รพ.ที่ไม่ผ่าน สวล. แต่ผ่าน อช. รพ.ที่ไม่ผ่านทั้งอช.+สวล. 6 (ชลบุรี) 6/14*100 = 42.85 1 เสนอแนะขยายลง รพรพท และรพช ตามเป้า ศก. พิเศษ 7 รพท.พุทธโสธร จ.ฉะเชิงเทรา รพท.เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพฯ จ.ระยอง รพศ.พระปกเกล้า จ.จันทบุรี รพท.บางละมุง จ.ชลบุรี รพร.สระแก้ว รพท.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว รพท.บางพลี จ.สมุทรปราการ รพท.แกลง จ.ระยอง 7 (ขอนแก่น) 2/6*100 = 33.33 เสนอแนะขยายลง รพทที่เหลือ หรือ รพช 3 - รพศ.ขอนแก่น รพท.มหาสารคาม รพท.สิรินธร จ.ขอนแก่น รพท.ชุมแพ จ.ขอนแก่น

25 จำนวนรพ.เป้าหมาย และข้อเสนอแนะ
เป้าหมายรพศ/รพท จำนวนรพ.เป้าหมาย และข้อเสนอแนะ เขต สคร. ร้อยละรพ.ที่ผ่าน อช.+สวล. ปี จำนวนรพ.ที่ต้องดำเนินการเพิ่มตามเป้า ปี 60 (รพ.) จน. รพ สะสม จนถึงปี 60 รพ.ที่ไม่ผ่าน อช. แต่ผ่าน สวล. รพ.ที่ไม่ผ่าน สวล. แต่ผ่าน อช. รพ.ที่ไม่ผ่านทั้งอช.+สวล. 8 (อุดรธานี) 4/9*100 = 44.44 1 เสนอแนะขยายลง รพรพท รพช ตามเป้า ศก. พิเศษ 5 - รพท.กุมภวาปี จ.อุดรธานี รพท.หนองคาย รพท.บึงกาฬ รพท.หนองบัวลำภู รพท.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร 9 (นครราชสีมา) 3/8*100 = 37.50 เสนอแนะขยายลง รพทที่เหลือ หรือ รพช 3 รพศ.บุรีรัมย์ รพท.เทพรัตน์นครราชสีมา รพท.ปากช่องนานา จ.นครราชสีมา รพท.นางรอง จ.บุรีรัมย์ รพท.ปราสาท จ.สุรินทร์

26 จำนวนรพ.เป้าหมาย และข้อเสนอแนะ
เป้าหมายรพทศ/รพท จำนวนรพ.เป้าหมาย และข้อเสนอแนะ เขต สคร. ร้อยละรพ.ที่ผ่าน อช.+สวล. ปี จำนวนรพ.ที่ต้องดำเนินการเพิ่มตามเป้า ปี 60 (รพ.) จน. รพ สะสม จนถึงปี 60 รพ.ที่ไม่ผ่าน อช. แต่ผ่าน สวล. รพ.ที่ไม่ผ่าน สวล. แต่ผ่าน อช. รพ.ที่ไม่ผ่านทั้งอช.+สวล. 10 (อุบลราชธานี) 4/8*100 = 50 - เสนอแนะขยายลง รพรพท รพช 4 รพร.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี รพท.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี รพท.ห้าสิบพรรษามหาวชิราลงกรณ์ จ.อุบลราชธานี รพท.ศรีสะเกษ 11 (นครศรีธรรมราช) 4/11*100 = 36.36 2 6 รพท.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช รพท.สิชล จ.นครศรีธรรมราช รพท.เกาะสมุย จ.สุราษฎรานี รพท.ระนอง รพท.ชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ รพท.พังงา รพท.ตะกั่วป่า จ.พังงา 12 (สงขลา) 2/10*100 = 20 3 5 รพศ.ตรัง รพท.พัทลุง รพท.สตูล รพท.ปัตตานี รพท.เบตง จ.ยะลา รพท.นราธิวาสราชนครินทร์ รพท.สุไหงโกลก จ.นราธิวาส

27 แนวทางการดำเนินงานมาตรฐานฯ ปี 60
รพช. ระดับโรงพยาบาล หน่วยงานที่ดำเนินการ - รพช สคร ละอย่างน้อย 2 แห่ง มีการจัดบริการอาชีวอนามัยตามมาตรฐาน และได้รับการตรวจประเมินจากผู้ประเมิน ภายนอก (เน้นรพช.ในพื้นที่ 46 จังหวัดเสี่ยง และรพช.ที่มีการประเมินตนเองมาแล้วในปี 2559 -รพช. ร้อยละ10 มีการประเมินตนเอง -สคร. คัดเลือก รพ. ที่มีความพร้อม อย่างน้อย 2 แห่งต่อ สคร. เพื่อเข้ารับการประเมินจากทีมประเมิน (มีผลการประเมินตนเอง) -สำนักฯ ออกสอบทวนร่วมกับทีมประเมินระดับจังหวัด เฉพาะ รพ. ระดับดีมาก ดีเด่น -สคร.รวบรวมหลักฐานเพื่อขอรับรองผล เฉพาะ รพ. ระดับดีมาก ดีเด่น -สคร. สสจ เก็บรวบรวมรายชื่อโรงพยาบาลพร้อมผลการประเมินระดับอื่นๆ และผลการประเมินตนเองส่งให้กับสำนักฯ

28 หน่วยงานที่ดำเนินการ
แนวทางการดำเนินงานมาตรฐาน ฯ ปี 60 รพ นอกสังกัด ระดับโรงพยาบาล หน่วยงานที่ดำเนินการ โรงพยาบาลสังกัดนอก สป. หรือนอกสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ที่ผ่านเกณฑ์การ ประเมินความเสี่ยงระดับ 5 หรือ 5 ต่อเนื่อง และมีการจัดบริการ อช. ให้กับผู้ประกอบ อาชีพภายนอกประเมินตนเองตามมาตรฐาน การจัดบริการอาชีวอนามัย มีความพร้อมขอประเมินและรับรองผล -สคร. สสจ. ประชาสัมพันธ์ และเก็บรวบรวมรายชื่อโรงพยาบาลพร้อมผลการประเมินตนเองส่งให้กับสำนักฯ -สำนักฯ ออกสอบทวนร่วมกับทีมประเมินระดับจังหวัด เฉพาะ รพ. ระดับดีมาก ดีเด่น -สคร.รวบรวมหลักฐานเพื่อขอรับรองผล เฉพาะ รพ. ระดับดีมาก ดีเด่น

29 แนวทางการดำเนินงานมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสวล. รพ. สต
รพช. และ รพ นอกสังกัด เป้าหมาย หน่วยงานที่ดำเนินการ -สคร.คัดเลือก รพ.สต.อย่างน้อย 2 แห่งที่ ผ่านเกณฑ์คลินิกสุขภาพเกษตรกรระดับดี หรือดีมากในปี 2559 มีการประเมินและ รับรองผล ตามมาตรฐานการจัดบริการ อาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม - สคร. ประสานสสจ.คัดเลือก รพ.สต. ที่ที่ผ่านเกณฑ์คลินิกสุขภาพเกษตรกรดี หรือดีมาก และมีผลการประเมินตนเองในปี 2559 -สำนักฯ ร่วมกับทีมพื้นที่ลงประเมินกรณีประเมินตนเองระดับดีมาก ดีเด่น - รพ.สต ระดับดีมาก ดีเด่น เข้าสู่กระบวนการรับรองผล รพ

30 วิเคราะห์เกณฑ์คลินิกสุขภาพแรงงานในชุมชน (เกษตรกร) กับ มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรม สวล.สำหรับ รพ.สต.

31 มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับ รพ.สต.
เกณฑ์คลินิกเกษตรกร มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับ รพ.สต. ข้อที่ 1. มีข้อมูลกลุ่มอาชีพของประชากร ที่อยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบของหน่วยบริการสุขภาพ ข้อที่ 16 การเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานด้านอาชีวอนามัยสำหรับผู้ประกอบอาชีพทุกกลุ่มในพื้นที่ ข้อที่ 2. มีการดำเนินงานคัดกรองสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงาน(โดยใช้ แบบประเมินความเสี่ยง(นบก.1-56)หรือ การตรวจคัดกรองการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช หรือ ใช้แบบประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์ ฯลฯ) และความเสี่ยงมิติอื่นๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ฯลฯ และมีผลการคัดกรอง - ข้อที่ 3. มีการซักประวัติ หรือ วินิจฉัยโรคและภัยจากการประกอบอาชีพเบื้องต้น ข้อที่ 21 การคัดกรอง การตรวจวินิจฉัย รักษาโรคและการบาดเจ็บจากการทำงานเบื้องต้น ข้อที่ 4. การบันทึกผลการดำเนินงานคัดกรอง หรือหัตถการ หรือรักษา หรือส่งต่อ และการรายงานโรค ตามระบบ ICD ข้อที่ 5. ให้สุขศึกษา หรือคำแนะนำ ในการลดความเสี่ยง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและการทำงาน ข้อที่ 15 การให้ความรู้/คำปรึกษาทางวิชาการด้านอาชีวอนามัยและความ-ปลอดภัยในการทำงานแก่ผู้ประกอบอาชีพ/นายจ้าง หรือเครือข่ายอื่นๆ เช่น อสม. ข้อที่ 6. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดเวทีคืนข้อมูล ที่สำคัญ ในการดำเนินงานแก่เครือข่าย เช่น ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลความเสี่ยง ข้อมูลกลุ่มอาชีพ สถานการณ์สุขภาพและความเสี่ยง ให้แก่เกษตรกร ชุมชน และอปท.อย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง

32 มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับ รพ.สต.
เกณฑ์คลินิกเกษตรกร มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับ รพ.สต. ข้อที่ 7. การพัฒนาเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข เครือข่ายยุวเกษตรกรเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ ฯลฯ ในการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ควบคุมดูแลสุขภาพเกษตรกร/แรงงานในชุมชน อย่างน้อย 1 กิจกรรม ข้อที่ 15 การให้ความรู้/คำปรึกษาทางวิชาการด้านอาชีวอนามัยและความ-ปลอดภัยในการทำงานแก่ผู้ประกอบอาชีพ/นายจ้าง หรือเครือข่ายอื่นๆ เช่น อสม. ข้อที่ 8. มีแผนงานโครงการดูแลสุขภาพเกษตรกร/แรงงานในชุมชนร่วมกับเครือข่าย เช่น อปท. , ธกส., กศน. ฯลฯ ข้อที่ 2 การจัดทำแผนงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานตามสภาพปัญหาของพื้นที่ ข้อที่ 9. ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยจากการทำงานสำหรับผู้ประกอบอาชีพในชุมชนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (นอกสังกัดกระทรวงกระทรวงสาธารณสุข เช่น สสส. สปสช. อปท. กองทุนสุขภาพตำบล ฯลฯ) ข้อที่ 10. การสำรวจ และประเมินความเสี่ยง สภาพแวดล้อมในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพในชุมชน โดยการสนับสนุนวิชาการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สสอ. สสจ. สคร. ฯลฯ ข้อที่ 7 การเดินสำรวจสถานที่ทำงานเพื่อค้นหาสิ่งคุกคามสุขภาพ และประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ข้อที่ 11. รายงานสถานการณ์การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในกลุ่มเกษตรกร/แรงงานในชุมชน ทั้งด้านการเฝ้าระวังสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ให้หน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น สสอ. สสจ. เครือข่าย ฯลฯ ข้อที่ 17 การเฝ้าระวังโรคจากการทำงานตามสภาพปัญหาของพื้นที่

33 การประเมินความเสี่ยงบุคลากรโรงพยาบาล
ผลการดำเนินงานปี 59

34 แนวทางการดำเนินงานการประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 60
เน้นการพัฒนายกระดับ เป้าหมายปี 60 ร้อยละ 25 ระดับโรงพยาบาล หน่วยงานที่ดำเนินการ รพ นอกสังกัด รพช. รพ. เอกชน ระดับ 1-4 -สคร. และทีมประเมินระดับจังหวัด รพช. ระดับ 5 และระดับ 5 ต่อเนื่อง (reaccredit) -สคร. แจ้งสำนักโรค ฯ พร้อมหลักฐานเพื่อขอรับรองผล รพ. นอกสังกัดปลัดกระทรวงสาธารณสุข หรือนอกสังกัดกระทรวง สธ ระดับ 5 และระดับ 5 ต่อเนื่อง (reaccredit) -สคร. แจ้งสำนักโรค ฯ -สำนักฯ ออกสอบทวนร่วมกับทีมประเมินระดับจังหวัด -สคร.รวบรวมหลักฐานเพื่อขอรับรองผล

35 แนวทางการดำเนินงานมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย รพ เอกชน
รพช. และ รพ นอกสังกัด เป้าหมาย หน่วยงานที่ดำเนินการ -รพ เอกชน (ประเมินความเสี่ยงบุคลากร หรือมาตรฐาน การจัดบริการ อช) -สำนักฯ จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน -สคร. สสจ. ประชาสัมพันธ์ และเก็บรวบรวมรายชื่อโรงพยาบาลพร้อมผลการประเมินตนเองส่งให้กับสำนักฯ -สคร สสจ และทีมสำนักฯ ลงพื้นที่ประเมิน และรับรอง รพ. ที่มีความพร้อม

36 การจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมพื้นที่เขต ศก
การจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมพื้นที่เขต ศก. พิเศษ เป้าหมาย ปี 60 - การจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม * รพศ/รพทในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษสามารถจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ได้ ๑๐๐ % * รพช ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษสามารถจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ได้ จังหวัดละ ๑ แห่ง * รพ.สต ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษสามารถจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ได้ จังหวัดละ ๑ แห่ง

37 เป้าหมายปี 60 รพศ/รพท (100%) จังหวัด รพช. (จังหวัดละ 1 แห่ง) หนองคาย
รพช. (จังหวัดละ 1 แห่ง) หนองคาย สระไคร (ระดับ 3) พหลพลพยุหเสนา กาญจนบุรี - อรัญประเทศ สระแก้ว วัฒนานคร (ระดับ 4 เกินระยะเวลา) นราธิวาส, สุไหงโกลก นราธิวาส ตากใบ + env สงขลา สะเดา (ระดับ 5) เชียงราย รพช.สมเด็จพระยุพราชเชียงของ+env มุกดาหาร หว้านใหญ่ (ระดับ 5) ตาก แม่ระมาด หรือพบพระ ( ระดับ 5 ทั้ง 2 แห่ง) นครพนม ท่าอุเทน (ระดับ 1) ตราด คลองใหญ่ (ระดับ 5) รพ.สต เลือกจากผลการดำเนินงาน คลินิกสุขภาพแรงงานในชุมชน (คลินิกสุขภาพเกษตรกร)

38 กิจกรรมการดำเนินงาน ปี 60
3.การรับรองผลการประเมินตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย และการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ระดับ 5 และ 5 ต่อเนื่อง (สนับสนุนโล่ และใบประกาศเกียรติคุณ) 4. การจัดทำรายงานวิเคราะห์สถานการณ์ตามแบบ RAH06 รายงานระบบ online

39 การพัฒนาคลินิกโรคจากการทำงาน

40 จำนวนโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคลินิกโรคจากการทำงาน
ปัจจุบัน รพศ/ทั่วไป = 91 แห่ง รพช.= 8 แห่ง สถาบันราชประชา+บำราศ=2 แห่ง จำนวนโรงพยาบาล (แห่ง)

41 ข้อมูลจังหวัดทียังไม่ได้เข้าร่วม โครงการพัฒนาคลินิกโรคจากการทำงาน
จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดหนองบัวลำภู จังหวัดพิษณุโลก

42 โรงพยาบาลใหม่ที่เข้าร่วมโครงการปี 2559
1 โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว จ. น่าน 2โรงพยาบาลสิรินธร ขอนแก่น 3 โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา 4 สถาบันบำราศนราดูร

43 รพ. แม่ข่ายและศูนย์เชี่ยวชาญโรคจากการทำงาน
ลำดับ โรงพยาบาล ความเชี่ยวชาญ ๑. ลำปาง* ศูนย์เชี่ยวชาญด้านการจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ๒. อุตรดิตถ์* ศูนย์เชี่ยวชาญด้านโรคปอดจากการทำงาน ๓. สมุทรสาคร* ศูนย์เชี่ยวชาญโรคประสาทหูเสื่อมจากการทำงาน ๔. เจ้าพระยายมราช* จ.สุพรรณบุรี ๕. ราชบุรี ศูนย์เชี่ยวชาญโรคกระดูกและกล้ามเนื้อจากการทำงาน ๖. สระบุรี ศูนย์เชี่ยวชาญโรคระบบทางเดินหายใจ ๗. มหาราชนครราชสีมา* ๘. อุดรธานี* ๙. สรรพสิทธิประสงค์* จ. อุบลราชธานี ศูนย์เชี่ยวชาญด้านพิษวิทยา * รพ. แม่ข่ายคลินิกโรคจากการทำงาน

44 รพ. แม่ข่ายและศูนย์เชี่ยวชาญโรคจากการทำงาน
๑๐. ขอนแก่น* ศูนย์เชี่ยวชาญโรคประสาทหูเสื่อมจากการทำงาน และด้านพิษวิทยา ๑๑. ระยอง* ศูนย์เชี่ยวชาญด้านพิษวิทยาและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินระดับนานาชาติ ๑๒. ชลบุรี ศูนย์เชี่ยวชาญโรคปอดจากการทำงาน ๑๓. หาดใหญ่* จ. สงขลา ศูนย์เชี่ยวชาญโรคกระดูกและกล้ามเนื้อจากการทำงาน ๑๔. สุราษฎร์ธานี* ๑๕ พิจิตร* ศูนย์เชี่ยวชาญด้านพิษวิทยา ๑๖ พระนครศรีอยุธยา* ศูนย์เชี่ยวชาญด้านโรคผิวหนังจากการทำงาน ๑๗ นครพิงค์ จ.เชียงใหม่ ศูนย์เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมสิ่งแวดล้อม * รพ. แม่ข่ายคลินิกโรคจากการทำงาน

45 ตัวชี้วัดหลักที่สำคัญในการดำเนินงานพัฒนาคลินิกโรคจากการทำงานของโรงพยาบาล ประกอบด้วย
มีการจัดตั้งคลินิกโรคจากการทำงานและประชาสัมพันธ์การให้บริการ แก่กลุ่มเป้าหมาย มีการสร้างเครือข่ายการดำเนินงานคลินิกโรคจากการทำงานทั้งภายในและภายนอก มีการดำเนินงานจัดบริการส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังโรคจากการทำงาน ทั้งเชิงรุกและเชิงรับ รวมทั้งการสนับสนุนให้สถานประกอบการในพื้นที่สมัครเข้าร่วมโครงการเพื่อดำเนินงานสถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข โดยร่วมกับสสจ, สคร มีการตรวจ รักษา วินิจฉัยโรคจากการทำงาน มีการวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน

46 บทบาทสำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯในการสนับสนุนการดำเนินงาน
เขียนโครงการเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนเงินทดแทน และนำเสนอในการประชุมอนุกรรมการส่งเสริมความปลอดภัยฯ ของกองทุนเงินทดแทน ประสานโรงพยาบาลเพื่อเข้าร่วมโครงการ กำหนดแนวทางการดำเนินงานต่าง ๆ เช่น กำหนดตัวชี้วัด กำหนดแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานในรูปแบบต่างๆ เช่น การพัฒนาศูนย์เชี่ยวชาญโรคจากการทำงาน การพัฒนาโรงพยาบาลแม่ข่าย เป็นต้น สนับสนุนวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการอาชีวอนามัย

47 พัฒนาคุณภาพการจัดบริการ ตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย โดยบูรณาการกับโครงการงบประมาณปกติ
นิเทศติดตามผลการดำเนินงาน ให้ข้อเสนอแนะ พัฒนาโปรแกรมรายงานผลการดำเนินงาน สรุปรายงานในภาพรวมประเทศ จัดประชุมต่างๆ ทีเกี่ยวข้อง

48 บทบาทของ สคร. 1. ดำเนินงานร่วมกับสำนักฯ สสจ เพื่อให้โรงพยาบาลในพื้นที่มีการประเมินคุณภาพการจัดบริการอาชีวอนามัยตามมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย 2. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ และสนับสนุนวิชาการด้านการป้องกันควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมแก่โรงพยาบาลในพื้นที่ 3.ร่วมนิเทศติดตามการดำเนินงานโครงการคลินิกโรคจากการทำงาน รายโรงพยาบาล และรายภาค 4.ร่วมเป็นคณะทำงานคลินิกโรคจากการทำงานระดับจังหวัด/คณะทำงานพัฒนาระบบบริการอาชีวเวชศาสตร์ระดับจังหวัดของโรงพยาบาลในพื้นที่ 5. สนับสนุนการตรวจสภาพแวดล้อมการทำงานเพื่อการเฝ้าระวังโรคกลุ่มเสี่ยง 6. สนับสนุนการจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุกและเชิงรับแบบบูรณาการกับสำนักงานสวัสดิการคุ้มครองแรงงานจังหวัด และสำนักงานประกันสังคม

49 แนวคิดการบูรณาการทำงานระหว่างกระทรวงสาธารณสุขกับ กระทรวงแรงงาน
แนวคิดการบูรณาการทำงานระหว่างกระทรวงสาธารณสุขกับ กระทรวงแรงงาน

50 แผนการนิเทศติดตามผลการดำเนินงานคลินิกโรคจากการทำงาน
ภาค วันที่ สถานที่ กลาง,ใต้, ตะวันออก กย-ตค จ. พระนครศรีอยุธยา, ชลบุรี, กระบี่ ตะวันออกเฉียงเหนือ 8-9 พฤศจิกายน 2559 จ. อุบลราชธานี เหนือ ธันวาคม 2559 จ. เชียงใหม่ ประเด็นก่ารประชุมติดตาม เน้นการบูรณาการงานระหว่างกระทรวงสาธารณสุขกับกระทรวงแรงงาน

51 รูปแบบการบูรณาการทำงาน
ประเด็นความร่วมมือ แนวทางการดำเนินงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การจัดบริการ อาชีวอนามัยเชิงรุก บูรณาการระดับพื้นที่ ในการเข้าสถานประกอบการ เพื่อดำเนินกิจกรรมเช่น การสอบสวนโรค หรืออุบัติเหตุจากการทำงาน การฝึกอบรม การสำรวจสถานประกอบการและการประเมินความเสี่ยงจากการทำงาน การสอบสวนโรคหรืออุบัติเหตุจากการทำงาน การเฝ้าระวังโรค/การบาดเจ็บจากการทำงานกลุ่มเสี่ยงสำคัญ ประชาสัมพันธ์การให้บริการ หน่วยงานหลัก โรงพยาบาล สำนักงานสวัสดิการคุ้มครองแรงงานจังหวัด สำนักงานประกันสังคมจังหวัด หน่วยงานสนับสนุน ศูนย์ความปลอดภัยแรงงานเขต สสจ. สคร.

52 รูปแบบการบูรณาการทำงาน
ประเด็นความร่วมมือ แนวทางการดำเนินงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การจัดบริการ อาชีวอนามัยเชิงรับ - การส่งต่อผู้ป่วยเข้ารับการวินิจฉัยโรคจากการทำงาน ประเมินและบริหารจัดการ RTW - ประสานเอกสารต่างๆ เพื่อการเคลมกองทุนเงินทดแทน หน่วยงานหลัก โรงพยาบาล สำนักงานประกันสังคมจังหวัด หน่วยงานสนับสนุน สำนักงานสวัสดิการคุ้มครองแรงงานจังหวัด ศูนย์ความปลอดภัยแรงงานเขต สสจ. สคร. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร การอบรมหลักสูตรต่างๆ กรมการแพทย์ กรมควบคุมโรค กรมสวัสดิการคุ้มครองแรงงาน

53 รูปแบบการบูรณาการทำงาน
ประเด็นความร่วมมือ แนวทางการดำเนินงาน หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้อง Data sharing บูรณาการระดับประเทศ เพื่อใช้ข้อมูลร่วมกันData center ข้อมูลความเสี่ยงของสถานประกอบการ -ข้อมูลเพื่อนำไปใช้ในการเฝ้าระวัง เช่น ข้อมูลการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงจากการทำงาน ข้อมูลการตรวจสภาพแวดล้อมการทำงาน ข้อมูลผู้ป่วยโรคและการบาดเจ็บจากการทำงาน กรมควบคุมโรค กรมการแพทย์ กรมสวัสดิการคุ้มครองแรงงาน สำนักงานประกันสังคม

54 ข้อมูลที่ต้องการ 1. ข้อมูลชนิด/ประเภทโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม
1. ข้อมูลชนิด/ประเภทโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม 2. ข้อมูลความเสี่ยงของโรงงาน สวัสดิการฯ (สอ.3) 3. ข้อมูลการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง สวัสดิการฯ (จปส.1) 4. ข้อมูลการเจ็บป่วย (กท.) ประกันสังคม 5. ข้อมูลการวินิจฉัยโรค โรงพยาบาล 6. ข้อมูลสารเคมี (สอ.1) สวัสดิการฯ

55 กิจกรรมที่จะดำเนินการในปี 2560 ของสำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ ภายใต้โครงการพัฒนาคลินิกโรคจากการทำงาน
การนิเทศผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลร่วมกับ สคร และ สสจ สำหรับโรงพยาบาลที่ผลการดำเนินงานไม่เป็นไปตามตัวชี้วัดการดำเนินงานและโรงพยาบาลศูนย์เชี่ยวชาญบางแห่งที่กรอบ หรือแผนการดำเนินงานยังไม่ชัดเจน จัดประชุมแนวทางการดำเนินงานบริหารจัดการ return to work สำหรับโรงพยาบาลในเขตพื้นที่ภาคเหนือ วันที่ 14 ธันวาคม 2559 จัดประชุมเพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงานบูรณาการร่วมกัน ระหว่างโรงพยาบาล สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และสำนักงานประกันสังคมจังหวัด สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุก และเชิงรับ

56 สิ่งสนับสนุนสำหรับการดำเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัย
พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ รพช. ด้านการจัดบริการอาชีวอนามัย มาตรฐานและเกณฑ์การจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับ คู่มือการดำเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัยของ รพ.สต แบบฟอร์มต่างๆ ที่ใช้ในการดำเนินงานตามมาตรฐาน อช+สวล แผ่นคำถามคัดกรองโรคจากการทำงานสำหรับหน่วยบริการสาธารณสุขและสถานประกอบการ

57 Thank you การนำองค์กรปี 53 57


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google