ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
(เครื่องมือทางการบริหาร)
ต้นทุนผันแปร (เครื่องมือทางการบริหาร)
2
โดยทั่วไปต้นทุนผันแปรคือ ต้นทุนชนิดที่ผู้บริหารใช้มากที่สุดในการตัดสินใจ เพราะจะเป็นต้นทุนที่เกิดขึ้นทันที่ที่มีกิจกรรมการดำเนินงานเกิดขึ้น ส่วนต้นทุนคงที่เป็นต้นทุนที่มีลักษณะเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอไม่มีการเปลี่ยนแปลงไม่ว่ากิจกรรมดำเนินงานเปลี่ยนแปลงอย่างไรต้นทุนคงที่ไม่มีผลต่อการตัดสินใจ ดังนั้นผู้บริหารจึงใช้ต้นทุนคงที่เป็นสิ่งสำคัญในการตัดสินใจ
3
แนวคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์
วิธีต้นทุนเต็ม องค์ประกอบต้นทุน วิธีต้นทุนผันแปร วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิตชนิดผันแปร ค่าใช้จ่ายการผลิตชนิดคงที่
5
ชนิดของต้นทุน ชนิดของต้นทุน บาท
1. ต้นทุนผันแปร(Variable cost) คือต้นทุนที่ราคา ต่อหน่วยเท่ากันทุกหน่วย แต่ต้นทุนโดยรวม เพิ่มขึ้นเมื่อเริ่มผลิต (ไม่ผลิตไม่มีต้นทุน) กิจกรรม บาท 5,000 2. ต้นทุนคงที่ (Fixed cost) คือต้นทุนที่ถึงแม้จะไม่มี การผลิตก็จะมีต้นทุนเกิดขึ้น และถึงแม้มีการผลิต เป็นจำนวนมากต้นทุนก็คงเดิม กิจกรรม บาท 5,000 3. ต้นทุนผสม (Mixed Cost) คือต้นทุนที่มีส่วน ระหว่างต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร นั่นต้นทุน กิจกรรม
6
การแสดงข้อมูลที่แตกต่างกันระหว่าง
Absorption Costing VS Variable Costing
8
มุ่งเน้นแสดงข้อมูลแยกให้เห็นสัดส่วนระหว่าง
วิธีต้นทุนเต็ม (Full or Absorption Costing) มุ่งเน้นแสดงข้อมูลแยกให้เห็นสัดส่วนระหว่าง ต้นทุนขายผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการดำเนินงานเพื่อส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้า และ ค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการดำเนินงานของส่วนงานสนับสนุนและส่วนงานบริหารต่างๆ ความสามารถในการทำกำไรในการดำเนินงาน
10
แยกส่วนระหว่างต้นทุนและค่าใช้จ่าย
11
ขาย ต้นทุน คชจ กำไร ขาย ขาย&บริหาร
12
วิธีต้นทุนผันแปรหรือวิธีกำไรส่วนเกิน
( Variable Costing or Contribution Approach) มุ่งเน้น แสดงผลการดำเนินงานที่ไม่มีปัจจัยต้นทุนงวดเวลาที่ทำให้งบกำไรขาดทุนแสดงข้อมูลผิดจากผลการบริหารงาน 2. แสดงภาวะความรับผิดชอบหลักของผู้บริหารต่อ ภาระค่าใช้จ่ายประจำงวด 3. ความสามารถในการสร้างกำไรส่วนเกิน และกำไรจากการดำเนินงาน
14
ต้นทุน ผันแปร
15
ต้นทุน คงที่
17
ต้นทุนผันแปร
18
ต้นทุนคงที่
20
ภาระค่าใช้จ่ายประจำ
21
ขาย ต้นทุนผันแปร ต้นทุนคงที่ กำไรสุทธิ
22
กรณีศึกษาแนวคิดต้นทุน บริษัท บ้านสวนองุ่น จำกัด
23
ค่าใช้จ่ายการผลิตถูกยกไปงวดหน้า
ในรูปส่วนหนึ่งของต้นทุนผลิตภัณฑ์
24
การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วย
วิธีต้นทุนเต็ม องค์ประกอบต้นทุน วิธีต้นทุนผันแปร วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายการผลิตชนิดผันแปร ค่าใช้จ่ายการผลิตชนิดคงที่
26
การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนเต็ม
29
90,000 ขวดๆ ละ 500 บาท
30
10,000 ขวดๆ ละ บาท
31
100,000 ขวดๆ ละ บาท
32
+
33
20,000 ขวดๆ ละ บาท
34
-
35
-
37
90,000 ขวดๆ ละ 0.50 บาท
39
120,000 ขวดๆ ละ 500 บาท
40
10,000 ขวดๆ ละ บาท
41
100,000 ขวดๆ ละ บาท
42
+
43
-0- ขวดๆ ละ บาท
44
-
47
120,000 ขวดๆ ละ 0.50 บาท
49
100,000 ขวดๆ ละ 500 บาท
50
10,000 ขวดๆ ละ บาท
51
100,000 ขวดๆ ละ บาท
52
+
53
-0- ขวดๆ ละ บาท
54
-
57
120,000 ขวดๆ ละ 0.50 บาท
60
การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนผันแปร
61
100,000 ขวด 500 บาท/ขวด 120,000 ขวด 500 บาท/ขวด 100,000 ขวด 500 บาท/ขวด
62
10,000ขวดๆ ละ บาท
63
100,000ขวดๆ ละ บาท
64
+
65
20,000ขวดๆ ละ บาท
66
-
67
100,000ขวดๆ ละ 0.50 บาท
68
+
69
-
92
ปีแรกกำไรวิธีต้นทุนเต็มสูงกว่าวิธีต้นทุนผันแปร
เพราะวิธีต้นทุนเต็มมีสินค้าคงเหลือปลายงวดยกไปงวดหน้า
93
งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนผันแปร
94
การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนเต็ม
95
งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม
96
งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม
ต้นงวด ,000 ขวด ผลิตเพิ่ม ,000 ขวด รวม ,000 ขวด คชจ.การผลิตคงที่ขวดละ บาท รวมต้นทุนคงที่ 991,375.- บาท
97
งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม
สินค้าคงเหลือปลายงวด จำนวน ,000.-ขวด ขวดละ บาท ต้นทุนคงที่ยกไปงวดหน้า 180,250 บาท ต้นทุนคงที่ทั้งหมด ,375 บาท สินค้าปลายงวดต้นทุนคงที่ยกไป 180,250 บาท ต้นทุนคงที่ถูกหักทั้งหมดในงบ ,125 บาท
98
งบต้นทุนเต็ม คชจ.การผลิตคงที่หักออก 811,125 บาท
งบต้นทุนผันแปร คชจ.การผลิตคงที่หักออก ,250 บาท งบต้นทุนเต็มกำไร มากกว่า ,125 บาท
99
ปีที่สอง กำไรวิธีต้นทุนเต็มน้อยกว่าวิธีต้นทุนผันแปร
เพราะวิธีต้นทุนเต็มมีสินค้าคงเหลือยกมาต้นงวด
100
งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนผันแปร
101
การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนเต็ม
102
งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม
103
งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม
ต้นงวด ,000 ขวด ผลิตเพิ่ม ,000 ขวด รวม ,000 ขวด คชจ.การผลิตคงที่ขวดละ บาท รวมต้นทุนคงที่ ,081,500.- บาท
104
งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม
ไม่มีสินค้าคงเหลือปลายงวด ต้นทุนคงที่ทั้งหมด ,081,500 บาท สินค้าปลายงวดยกไป บาท ต้นทุนคงที่ถูกหักทั้งหมดในงบ 1,081,500 บาท
105
งบต้นทุนเต็ม คชจ.การผลิตคงที่หักออก 1,081,500 บาท
งบต้นทุนผันแปร คชจ.การผลิตคงที่หักออก ,250 บาท งบต้นทุนเต็มกำไร มากกว่า ,250 บาท
106
ปีที่สอง กำไรวิธีต้นทุนเต็ม เท่ากับ วิธีต้นทุนผันแปร
เพราะไม่มีสินค้าคงเหลือยกไปปลายงวด
107
งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนผันแปร
108
การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนเต็ม
109
งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม
110
งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม
ต้นงวด ขวด ผลิตเพิ่ม ,000 ขวด รวม ,000 ขวด คชจ.การผลิตคงที่ขวดละ บาท รวมต้นทุนคงที่ ,250.- บาท
111
งบกำไรขาดทุนวิธีต้นทุนเต็ม
ไม่มีสินค้าคงเหลือปลายงวด ต้นทุนคงที่ทั้งหมด ,250 บาท สินค้าปลายงวดยกไป บาท ต้นทุนคงที่ถูกหักทั้งหมดในงบ 901,250 บาท
112
งบต้นทุนเต็ม คชจ.การผลิตคงที่หักออก 901,250 บาท
งบต้นทุนผันแปร คชจ.การผลิตคงที่หักออก ,250 บาท กำไร ต้นทุนเต็ม เท่ากับ ต้นทุนผันแปร บาท
114
การจัดทำงบกำไรขาดทุนจำแนกตามส่วนงาน
ด้วยต้นทุนผันแปร
127
ต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธีต้นทุนวัตถุดิบ
131
การตั้งราคาขายกับวิธีการต้นทุนผลิตภัณฑ์
132
สรุปแนวคิดต้นทุนผันแปร
1. ต้นทุนผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วยต้นทุนผันแปรเท่านั้นคือ Product Cost = DM + DL + VC-OH 2. ต้องการให้งบกำไรขาดทุนแสดงผลการดำเนินงานแต่ละงวดโดย ไม่มีปัจจัยต้นทุนงวดเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง(Period Cost) 3. งบกำไรขาดทุนแสดงภาระค่าใช้จ่ายประจำที่ผู้บริหารต้อง รับผิดชอบในแต่ละงวด 4. งบกำไรขาดทุนแสดงความสามารถในการสร้างกำไรส่วนเกินของบริษัท และความสามารถในการสร้างกำไรจากการดำเนินงาน
133
5. งบกำไรขาดทุนวิธีกำไรส่วนเกินทำให้การจัดทำรายงานจำแนกตามส่วนงาน ทำได้โดยง่าย นอกจากนี้ยังช่วยในการวิเคราะห์ความสามารถในการสร้างกำไรส่วนเกิน และกำไรแต่ละส่วนงานเปรียบเทียบกันโดยง่าย 6. งบกำไรขาดทุนวิธีกำไรส่วนเกินช่วยในการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนได้สะดวกและมีความแม่นยำในการวิเคราะห์ 7. งบกำไรขาดทุนให้ข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ชนิดต่างๆ สามารถวิเคราะห์และตัดสินใจได้โดยง่ายกว่าวิธีอื่นๆ
134
The End
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.