ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยIlmari Pentti Tikkanen ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด
กฎหมายเกี่ยวกับ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ โดย นายสุเมธ รอยกุลเจริญ ตุลาการศาลปกครองสูงสุด
2
กฎหมายปกครอง เจ้าหน้าที่ หน่วยงาน รัฐ มีอำนาจเหนือ ประชาชน เพื่อ
จัดทำบริการสาธารณะ
3
การกระทำของฝ่ายปกครอง
การกระทำทั่วไป การกระทำทางปกครอง ปฏิบัติการทางปกครอง การกระทำฝ่ายเดียว การกระทำสองฝ่าย สัญญาทางปกครอง กฎ คำสั่งทางปกครอง สัญญาฝ่ายปกครอง โดยกฎหมาย โดยเนื้อหา
4
ความสัมพันธ์กับกฎหมายอื่น และศาลปกครอง
วิ ปฏิบัติฯ คำสั่งทางปกครอง -ขอข้อมูลข่าวสาร -กระทำละเมิดฯ -อำนาจศาล เงื่อนไขการฟ้องคดี -เนื้อหาแห่งคดี ข้อมูลข่าวสาร คำสั่งทางปกครอง -กระทำละเมิดฯ ศาลปกครอง คดีปกครอง ละเมิดเจ้าหน้าที่ ข้อมูลข่าวสารฯ กระทำละเมิดฯ คำสั่งทางปกครอง -ขอข้อมูลข่าวสาร
5
กฎหมายปกครองมี ๒ ลักษณะ
ความสำคัญ กฎหมายปกครองมี ๒ ลักษณะ จำกัดอำนาจ ให้อำนาจ
6
ข้อพิพาทการกระทำทางปกครอง
กฎหมายปกครอง เจ้าหน้าที่ หน่วยงาน รัฐ กระทำการทางปกครอง นิติกรรมฝ่ายเดียว นิติกรรมสองฝ่าย กฎ คำสั่ง สัญญาทางปกครอง ข้อพิพาทการกระทำทางปกครอง ศาลปกครอง
7
“หลักความชอบด้วยกฎหมาย ของการกระทำทางปกครอง”
การกระทำใดๆ ก็ตามที่มีผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพ ของประชาชนจะกระทำได้ต่อเมื่อ ต้องมีกฎหมายให้อำนาจหรือกำหนดวิธีการไว้ เพียงเท่าที่มีกฎหมายให้อำนาจไว้เท่านั้น
8
“หลัก เอกชนจะทำการอันใดก็ได้ เว้นแต่มีกฎหมายห้ามไว้”
“หลัก เอกชนจะทำการอันใดก็ได้ เว้นแต่มีกฎหมายห้ามไว้” ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 150 การใดมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็นการพ้นวิสัย ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นเป็นโมฆะ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 151 การใดเป็นการแตกต่างกับบทบัญญัติของกฎหมาย ถ้ามิใช่กฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยหรือ ศีลธรรมอันดี การนั้นไม่เป็นโมฆะ
9
นิติกรรมทางปกครองที่เรียกว่า “ คำสั่งทางปกครอง ”
การใช้อำนาจตามกฎหมายของ “เจ้าหน้าที่” ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวร หรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับ จดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออก “กฎ” การอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
10
“สาระสำคัญของคำสั่งทางปกครอง”
เป็นการกระทำโดยเจ้าหน้าที่ เป็นการใช้อำนาจทางปกครองตามกฎหมาย เป็นการกระทำที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล เป็นการกระทำที่มุ่งใช้บังคับแก่กรณีใดหรือบุคคลใดเป็นการเฉพาะ
11
“สาระสำคัญของคำสั่งทางปกครอง”
(๒) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๒ ๑. การดำเนินการเกี่ยวกับการ จัดหาหรือให้สิทธิประโยชน์ ในกรณี ดังนี้ ๑. การสั่งรับหรือไม่รับคำเสนอขาย รับจ้าง แลกเปลี่ยน ให้เช่า ซื้อ เช่า หรือให้สิทธิประโยชน์ ๒. การอนุมัติสั่งซื้อ จ้าง แลกเปลี่ยน เช่า ขาย ให้เช่า หรือให้สิทธิประโยชน์ ๓. การสั่งยกเลิกกระบวนการพิจารณาคำเสนอหรือการดำเนินการอื่นใดในลักษณะเดียวกัน ๔. การสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงาน ๒. การให้หรือไม่ให้ทุนการศึกษา
12
สรุปคำสั่งทางปกครอง มี ๒ ลักษณะ โดยเนื้อหา โดยกฎหมาย
13
คำสั่งทางปกครอง เฉพาะเจาะจง ทั่วไป มี ๒ ลักษณะ ต้องอุทธรณ์ก่อนฟ้อง
มี ๒ ลักษณะ เฉพาะเจาะจง ต้องอุทธรณ์ก่อนฟ้อง ทั่วไป ไม่ต้องอุทธรณ์
14
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
15
เหตุผลในการตรากฎหมาย
เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของตนเอง เมื่อเกิดความเสียหาย นำ ปพพ.มาใช้บังคับ ไม่เหมาะสม บางกรณีอาจกระทำโดยไม่ตั้งใจ หรือผิดพลาดเล็กน้อย หลักลูกหนี้ร่วม ทำให้ต้องรับผิดในการกระทำ ของเจ้าหน้าที่อื่นด้วย เจ้าหน้าที่ไม่กล้าตัดสินใจเพราะเกรงต้องรับผิด บั่นทอนขวัญ กำลังใจ การตัดสินใจมีวิธีการบริหารงานบุคคลและวินัย ควบคุมอยู่ ทำให้มีความรอบคอบ
16
ละเมิดทางแพ่ง ตาม มาตรา ๔๒๐ ปพพ.
จงใจ หรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมาย ให้เขาได้รับความเสียหาย
17
พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิด กับ ป.พ.พ.
ความแตกต่างระหว่าง พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิด กับ ป.พ.พ. หลักเดิม 1. เจ้าหน้าที่ตกเป็นจำเลยเอง 2. เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดเต็มจำนวน 3. ใช้หลักลูกหนี้ร่วม 4. เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดแม้การละเมิดเกิดจากการประมาท เพียงเล็กน้อย
18
พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิด กับ ป.พ.พ.
ความแตกต่างระหว่าง พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิด กับ ป.พ.พ. หลักใหม่ 1. หน่วยงานของรัฐเป็นจำเลย 2. เจ้าหน้าที่อาจไม่ต้องรับผิดเต็มจำนวน 3. ไม่ใช้หลักลูกหนี้ร่วม 4. เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดเฉพาะกรณีกระทำละเมิดโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
19
พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิด กับ ป.พ.พ.
ความแตกต่างระหว่าง พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิด กับ ป.พ.พ. หลักเดิม 1. เจ้าหน้าที่ตกเป็นจำเลยเอง 2. เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดเต็มจำนวน 3. ใช้หลักลูกหนี้ร่วม 4. เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดแม้การละเมิดเกิดจากการประมาทเพียงเล็กน้อย หลักใหม่ 1. หน่วยงานของรัฐเป็นจำเลย 2. เจ้าหน้าที่อาจไม่ต้องรับผิดเต็มจำนวน 3. ไม่ใช้หลักลูกหนี้ร่วม 4. เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดเฉพาะกรณีกระทำ ละเมิดโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง
20
กระทำต่อหน่วยงานของรัฐ
กระทำละเมิด กระทำต่อบุคคลภายนอก กระทำต่อหน่วยงานของรัฐ
21
กระทำละเมิด กระทำต่อบุคคลภายนอก
22
กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
มิใช่ปฏิบัติหน้าที่ ๑. เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดต่อผู้เสียหายเป็นส่วนตัว ๒. ฟ้องเจ้าหน้าที่ได้โดยตรงฟ้องหน่วยงานของรัฐไม่ได้ ๓. ฟ้องภายใน ๑ ปี หรือ ๑๐ ปี ปพพ. ม. ๔๔๘
23
กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
ปฏิบัติหน้าที่ ผู้เสียหาย ยื่นคำขอต่อหน่วยงาน ยื่นฟ้องต่อศาล ม. ๑๑ ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม แล้วแต่กรณี
24
กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
ปฏิบัติหน้าที่ ผู้เสียหาย ยื่นคำขอต่อหน่วยงาน ม. ๑๑
25
ผู้เสียหายยื่นขอค่าเสียหายต่อหน่วยงานของรัฐ
๑. ผู้เสียหายยื่นคำขอต่อหน่วยงานให้พิจารณาชดใช้ค่าเสียหาย ๒. หน่วยงานต้องออกใบรับคำขอไว้ให้เป็นหลักฐาน ๓. พิจารณาโดยไม่ชักช้า (เสร็จใน ๑๘๐ วัน ขอขยายต่อรมต ไม่เกิน ๑๘๐ วัน) ๔. หน่วยงานมี “คำสั่ง” ไม่พอใจมีสิทธิฟ้องศาลปกครอง ภายใน ๙๐ วัน นับแต่ได้รับแจ้งผล (ไม่ต้องอุทธรณ์ก่อน) มาตรา ๑๑ และมาตรา ๑๔
26
กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
ปฏิบัติหน้าที่ ผู้เสียหาย ยื่นฟ้องต่อศาล ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง แล้วแต่กรณี
27
กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
ปฏิบัติหน้าที่ ผู้เสียหาย ๑. ฟ้องหน่วยงานของรัฐให้รับผิดต่อผู้เสียหาย ๒. ฟ้องเจ้าหน้าที่ให้รับผิดต่อผู้เสียหายไม่ได้ ๓. เจ้าหน้าที่ไม่ได้สังกัดหน่วยงานใดกระทรวงการคลังต้องรับผิด ๔. ฟ้องภายใน ๑ ปี หรือ ๑๐ ปี พรบ.จัดตั้งศาลฯ ม.๕๑
28
การฟ้องคดีเรียกค่าเสียหายต่อศาล
ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม ละเมิดที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ละเมิดที่ไม่ได้เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ละเมิดเกิดจาก ๔ กรณี (เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดเป็นส่วนตัว) ๑. การใช้อำนาจตามกฎหมาย ละเมิดที่เป็นการปฏิบัติหน้าที่ แต่มิใช่เกิดจาก (เฉพาะกฎหมายปกครอง) ๑. การใช้อำนาจตามกฎหมาย ๒. กฎ คำสั่งทางปกครอง หรือคำสั่งอื่น ๒. การออกกฎ คำสั่งทางปกครอง คำสั่งอื่น ๓. ละเลยต่อหน้าที่ที่กฎหมายกำหนด ๓. การละเลยต่อหน้าที่ หรือ ๔. ปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า ๔. การปฏิบัติหน้าที่ล่าช้า ๕. ภายใน ๑ ปี หรือ ๑๐ ปี พรบ จัดตั้ง ม.๕๑ ๕. ภายใน ๑ ปี หรือ ๑๐ ปี ปพพ. ม. ๔๔๘
29
เจ้าหน้าที่กระทำละเมิดต่อบุคคลภายนอก
ไม่ใช่ปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ ฟ้องเจ้าหน้าที่ รับผิดส่วนตัว ไม่ใช้อำนาจตามกฎหมาย ใช้อำนาจตามกฎหมาย ใช้อำนาจตาม กฎหมายอื่น ศาลยุติธรรม ฟ้องหน่วยงาน ร้องขอต่อหน่วยงาน ใช้อำนาจตาม กฎหมายปกครอง ศาลยุติธรรม มีคำสั่ง ภายใน ๑๘๐ + ๑๘๐ วัน ๑ ปี หรือ ๑๐ ปี ป.แพ่ง ม.๔๔๘ ฟ้องหน่วยงาน ร้องขอต่อหน่วยงาน ๑ ปี หรือ ๑๐ ปี ป.แพ่ง ม.๔๔๘ พอใจ ไม่พอใจ ศาลปกครอง มีคำสั่ง ภายใน ๑๘๐ + ๑๘๐ วัน ฟ้องศาลปกครอง ๑ ปี หรือ ๑๐ ปี กม.จัดตั้งศาลฯ ม.๕๑ พอใจ ไม่พอใจ ภายใน ๙๐ วัน กม.จัดตั้งศาลฯ ม.๔๙ ฟ้องศาลปกครอง * กฎหมายอื่น = ป.อาญา , ป.วิ.อาญา , ป.แพ่ง , ป.วิ.แพ่ง กรณีหน่วยงานชดใช้ค่าเสียหายแล้ว ไล่เบี้ยเจ้าหน้าที่ได้ ถ้าเจ้าหน้าที่จงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ภายใน ๙๐ วัน กม.จัดตั้งศาลฯ ม. ๔๙
30
หน่วยงานของรัฐเสียหาย
หลักเกณฑ์ วิธีการและขั้นตอน การเรียกค่าสินไหมทดแทน
31
กระทำต่อหน่วยงานของรัฐ
กระทำละเมิด กระทำต่อหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานของรัฐที่ผู้นั้นสังกัด หน่วยงานของรัฐอื่น ปฏิบัติหน้าที่ มิใช่ปฏิบัติหน้าที่ รับผิดเป็นส่วนตัว รับผิด ตามพรบ. ละเมิดของ จนท ๒๕๓๙ ป. แพ่ง
32
จงใจ หรือประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง ว. ๑ ประมาทเลินเล่อธรรมดา
กรณีหน่วยงานของรัฐรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหาย หน่วยงานของรัฐมีสิทธิไล่เบี้ยเอากับเจ้าหน้าที่ ม.๘ เจ้าหน้าที่ จงใจ หรือประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง ว. ๑ ประมาทเลินเล่อธรรมดา เป็นพับกับหน่วยงานของรัฐ เรียกเอากับเจ้าหน้าที่ รับผิดเพียงใด ตามระดับความร้ายแรง ความเป็นธรรมแต่ละกรณี ไม่เต็มจำนวน ก็ได้ ว. ๒ หักส่วนความรับผิด กรณีความบกพร่องของหน่วยงานหรือระบบการดำเนินงานส่วนรวม ว. ๓ ละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคนไม่ใช้หลักลูกหนี้ร่วม ว. ๔
33
เงื่อนไขมิได้จงใจหรือ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
กรณีเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ กรณีเกิดจากการละเมิดต่อบุคคลภายนอก (ม.๙) สิทธิการไล่เบี้ย (ม.๙) หน่วยงานของรัฐ จ่ายค่าสินไหม เจ้าหน้าที่ ชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้ผู้เสียหาย ไล่เบี้ย ไล่เบี้ย ได้ ๒ กรณีเท่านั้น (ม.๘) เงื่อนไขมิได้จงใจหรือ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ปฏิบัติหน้าที่โดย จงใจ อายุความ ๑ ปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐ หรือ จนท. ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เสียหาย ประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง
34
กรณีเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่
กรณีเกิดจากการละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ (ม.๑๐) สิทธิการไล่เบี้ย (ม.๑๐) ปฏิบัติหน้าที่ มิใช่ปฏิบัติหน้าที่ จงใจหรือประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง สิทธิเรียกร้องอายุความ ๒ ปี นับแต่วันที่หน่วยงานรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัว จนท. ผู้พึงใช้ค่าสินไหมทดแทน ม.๑๐ว.๒ ) ถ้า จนท. ประมาทเลินเล่ออย่างธรรมดา หน่วยงาน ของรัฐไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจาก จนท. กล่าวคือ ไม่มีสิทธิฟ้องหรือไล่เบี้ย นั้นเอง เว้นแต่ กระทรวงการคลังเห็นว่า จนท.ต้องรับผิดซึ่งแตกต่างจากความเห็นหน่วยงานให้สิทธิเรียกร้องอายุความ ๑ ปี นับแต่มีคำสั่งตามความเห็น กค.
35
พ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.2539
กรณีเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ กรณีมิได้เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ ( ม.6 ) จงใจ / เจตนา ประมาทเลินเล่ออย่างธรรมดา ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ต้องฟ้องหน่วยงานของรัฐ ระดับของการละเมิด รับผิดเป็นส่วนตัว ฟ้อง จนท. มิได้ - ตาม.ปพพ. กรณีเกิดจากการละเมิดต่อบุคคลภายนอก (ม.9) กรณีเกิดการละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ (ม.10) หน่วยงานของรัฐจะ ต้องชดใช้ค่าเสียหาย สิทธิการไล่เบี้ย (ม.9) สิทธิเรียกร้อง (ม.10) จ่ายค่าสินไหม หน่วยงานของรัฐ เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ มิได้ปฏิบัติหน้าที่ จ่ายค่าสินไหม จ่ายค่าสินไหม ชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้ผู้เสียหาย ไล่เบี้ย ไล่เบี้ย สิทธิเรียกร้อง อายุความ 2 ปี นับแต่วันที่ หน่วยงานรู้ถึงการละเมิด และรู้ตัว จนท.ผู้พึงใช้ค่า สินไหมทดแทน (ม.10ว.2) -จงใจหรือ ประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง เว้นแต่ กระทรวง การคลังเห็นว่า จนท.ต้องรับผิด ซึ่งแตกต่างจาก ความเห็นหน่วยงาน ให้สิทธิเรียกร้อง อายุความ 1 ปี นับแต่มีคำสั่ง ตามความเห็น กค. ได้ 2 กรณีเท่านั้น (ม.8) เงื่อนไขมิได้จงใจหรือ ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ปฏิบัติหน้าที่โดย จงใจ อายุความ 1 ปี นับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐ หรือ จนท.ได้ใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้แก่ผู้เสียหาย ถ้า จนท.ประมาทเลินเล่ออย่างธรรมดา หน่วยงาน ของรัฐไม่มีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจาก จนท.กล่าวคือ ไม่มีสิทธิฟ้องหรือไล่เบี้ย น้นเอง ประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรง
36
การเรียกค่าสินไหมทดแทนกรณีเจ้าหน้าที่
กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐในการปฏิบัติหน้าที่ ออกคำสั่งเรียกให้ชดใช้เงิน ม.12 อายุความภายใน 2 ปี นับแต่รู้ถึงการละเมิด+รู้ตัวผู้กระทำละเมิด
37
การบังคับทางปกครองตามกฎหมาย วิ.ปฏิบัติฯ
คำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ผู้ใดชำระเงิน ถึงกำหนดแล้วไม่ชำระ ให้เจ้าหน้าที่มีหนังสือเตือนให้ชำระภายในเวลาที่กำหนด แต่ต้องไม่น้อยกว่า ๗ วัน ถ้าไม่ปฏิบัติตามคำเตือน เจ้าหน้าที่ใช้มาตรการบังคับทางปกครอง โดย “ยึด อายัดทรัพย์สินของผู้นั้นและขายทอดตลาดเพื่อชำระเงินให้ครบถ้วน” การยึด อายัด และขายทอดตลาดฯ ปฏิบัติตาม ป. วิแพ่ง โดยอนุโลม การบังคับทางปกครองไม่ใช้กับเจ้าหน้าที่ด้วยกัน เว้นแต่จะมีกฎหมาย กำหนดไว้เป็นอย่างอื่น
38
ขั้นตอนการดำเนินการหาผู้รับผิดชอบทางแพ่ง
แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด รวบรวมหลักฐานและให้ผู้เกี่ยวข้องชี้แจง คณะกรรมการเสนอความเห็นไปยังผู้แต่งตั้ง วินิจฉัยว่ามีผู้รับผิดหรือไม่ เท่าใด แต่ยังไม่แจ้งเจ้าหน้าที่ ส่งสำนวนให้กระทรวงการคลังตรวจสอบและพิจารณา ออกคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ตามความเห็นของกระทรวงการคลัง แจ้งคำสั่งให้เจ้าหน้าที่ พร้อมสิทธิฟ้องคดีและอายุความฟ้องคดี
39
เกี่ยวกับการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่
ตัวอย่างคดีปกครอง เกี่ยวกับการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่ คำสั่งเรียกให้ชดใช้เงิน มาตรการบังคับทางปกครอง พ้นจากการเป็นเจ้าหน้าที่ ผู้บังคับบัญชาไม่ใช้ความระมัดระวัง
40
จบบริบูรณ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.