งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การขอรับบำเหน็จบำนาญและบำเหน็จค้ำประกันของข้าราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การขอรับบำเหน็จบำนาญและบำเหน็จค้ำประกันของข้าราชการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การขอรับบำเหน็จบำนาญและบำเหน็จค้ำประกันของข้าราชการ
โดย นางมยุรี ชมพูรัตน์ หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรี

2 ระเบียบต่าง ๆ ในการปฏิบัติราชการ
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2555 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรถราชการ พ.ศ. 2523

3 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2548 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมการจัดงานและการประชุมระหว่างประเทศ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555 ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการเบิกจ่ายค่าเช่าบ้านข้าราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2552 งบกลาง - รักษาพยาบาล - ศึกษาบุตร

4 นายทะเบียนบุคลากรภาครัฐ
หมายความว่า ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการ ซึ่งมีรหัสผู้ใช้งาน และรหัสผ่าน ที่กำหนดโดยกรมบัญชีกลาง เพื่อทำหน้าที่ดูแลประวัติของข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และบุคคลในครอบครัวของข้าราชการและลูกจ้างประจำ

5 นายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญ
หมายความว่า ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการ ซึ่งมีรหัสผู้ใช้งาน และรหัสผ่าน ที่กำหนดให้โดยกรมบัญชีกลาง เพื่อทำหน้าที่ดูแลประวัติของผู้มีสิทธิรับ เบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของผู้มีสิทธิรับเงินดังกล่าว

6 การขอรับบำเหน็จบำนาญ และ บำเหน็จค้ำประกัน
การขอรับบำเหน็จบำนาญ และ บำเหน็จค้ำประกัน

7 บำเหน็จ บำนาญข้าราชการ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
บำเหน็จ บำนาญปกติ บำเหน็จตกทอด บำเหน็จพิเศษ บำนาญพิเศษ

8 การขอรับบำเหน็จบำนาญ
สิทธิประโยชน์ข้าราชการ บำเหน็จ = จ่ายเป็นเงินก้อนครั้งเดียว บำนาญ = จ่ายเป็นรายเดือนจนถึงแก่กรรม บำเหน็จตกทอด = ถึงแก่กรรมขณะรับราชการหรือผู้รับ บำนาญตาย เงินช่วยพิเศษ 3 เท่าของเงินเดือนหรือบำนาญ = เงินช่วยจัดการงานศพ

9 ข้าราชการจะมีสิทธิได้รับบำเหน็จ บำนาญปกติเพราะเหตุ
เหตุทดแทน เหตุทุพพลภาพ เหตุสูงอายุ เหตุรับราชการนาน หรือเหตุมาตรา 48 สำหรับสมาชิก กบข.

10 การคำนวณบำเหน็จ บำนาญปกติ
* กรณีข้าราชการไม่เป็นสมาชิก กบข. บำเหน็จ = เงินเดือนเดือนสุดท้ายxเวลารับราชการ บำนาญ = เงินเดือนเดือนสุดท้ายxเวลาราชการ 50 * กรณีข้าราชการเป็นสมาชิก กบข. บำนาญ = เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายxเวลาราชการ ทั้งนี้ จำนวนเงินบำนาญที่ได้รับต้องไม่เกินร้อยละ 70 ของอัตรา เงินเดือนเฉลี่ยหกสิบเดือนสุดท้าย

11 การพิจารณาเลือกขอรับบำเหน็จ บำนาญปกติ
1.เหตุทดแทน เหตุทุพพลภาพ เวลาราชการตั้งแต่ 10 ปี เหตุสูงอายุ หรือ 2.ลาออกจากราชการเหตุ รับราชการนาน เวลาราชการครบ 25 ปี หรือ 3.เหตุมาตรา 48 สำหรับ สมาชิก กบข.

12 ตารางที่ 1 แสดงสิทธิประโยชน์ของการขอรับบำเหน็จ บำนาญปกติ
กรณีเลือกรับบำเหน็จ กรณีเลือกรับบำนาญ การรับเงิน ได้รับเงินก้อนครั้งเดียว -ได้รับเงินเป็นรายเดือนทุกเดือน ได้ตลอดชีวิต การเบิกค่ารักษาพยาบาล ไม่มีสิทธิได้รับ ผู้รับบำนาญเบิกค่ารักษาพยาบาลได้ตลอดชีวิต คู่สมรสเบิกค่ารักษาพยาบาลได้ตลอดชีวิตจนผู้รับบำนาญถึงแก่กรรม บิดา มารดา เบิกค่ารักษาพยาบาลได้ตลอดชีวิตจนผู้รับบำนาญถึงแก่กรรม บุตรเบิกค่ารักษาพยาบาลได้อายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ ยกเว้น บุตรที่ไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถเบิกได้ตลอดชีวิตจนผู้รับบำนาญถึงแก่กรรม

13 สิทธิประโยชน์ กรณีเลือกรับบำเหน็จ กรณีเลือกรับบำนาญ เงินช่วยพิเศษ
ไม่มีสิทธิได้รับ -บุคคลที่ผู้รับบำนาญแสดงเจตนา หรือทายาทตามกฎหมายได้รับเงินช่วยพิเศษ 3 เท่าของบำนาญเมื่อผู้รับบำนาญถึงแก่กรรมภายใน 1 ปี การเบิกค่าเล่าเรียนบุตร เบิกค่าเล่าเรียนบุตรได้ถึงอายุ 25 ปีบริบูรณ์ บำเหน็จตกทอด ทายาทตามกฎหมาย หรือบุคคลซึ่งผู้รับบำนาญแสดงเจตนาได้รับเงิน 30 เท่าของบำนาญ เมื่อผู้รับบำนาญถึงแก่กรรม (หักด้วยบำเหน็จดำรงชีพที่ขอรับไปแล้ว) การได้รับพระราชทานเพลิงศพ เจ้าภาพหรือทายาทยื่นเรื่องขอพระราชทานเพลิงศพมายังหน่วยงาน

14 การขอรับเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ ขั้นตอน
1.จัดทำแบบ 5300 แบบ สรจ.3 (กรณีขอรับบำเหน็จดำรงชีพ) แบบ สรจ.1 (แบบแจ้งรายการลดหย่อนภาษี) แบบเวลาทวีคูณอัยการศึก (แบบ 5302) และแบบ กบข.รง 008/1/ คำสั่งให้ลาออก ปลดออก หรือประกาศเกษียณอายุราชการ 1.2 คำสั่งเงินเดือนครั้งสุดท้าย 1.3 สำเนา กพ.7 (ตัวจริง) 1.4 บัตรตรวจจ่ายเงินเดือน (ตัวจริง) 1.5 บัญชีรับรองเวลาตอนเป็นทหารที่รับรองโดยเจ้ากรมการเงินกลาโหม (ฉบับตัวจริง) 1.6 เอกสารรับรองการได้เวลาทวีคูณอื่น ๆ ที่มิใช่เวลาทวีคูณตามกฎอัยการศึก เช่น บัญชีรับรองเวลาทวีคูณ กรณีปฏิบัติหน้าที่ปราบปรามคอมมิวนิสต์ กรณีปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งกระทรวงกลาโหม 1.7 สำเนาทะเบียนบ้าน 1.8 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน 1.9 สำเนาสมุดบัญชีธนาคาร (ยกเว้นบัญชีเงินฝากประจำ)  ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบรับรองสำเนาถูกต้องเอกสารทุกฉบับ

15 รหัส เวลาราชการ ตั้งแต่ ถึง 01 14 15 16 17 18 22 23 24 25 26 38 41 51
52 53 54 60 เวลาปกติ 1 2 3 4 เวลาทวีคูณ ปราบปรามคอมมิวนิสต์ “ ปฏิบัติราชการลับ “ ปฏิบัติราชการสงครามเวียดนาม “ ปฏิบัติราชการพิเศษ “ ปฏิบัติราชการตามแผนป้องกันประเทศ “ กฎอัยการศึก พ.ศ (17 ก.ย.00-3 ต.ค.00) “ “ พ.ศ (17 ก.ย.00-9 ม.ค.01) “ “ พ.ศ (21 ต.ค ต.ค.08) “ “ พ.ศ (7 ต.ค.19-5 ม.ค.20) “ “ พ.ศ (23 ก.พ.34-2 พ.ค.34) เวลาทวีคูณอื่น ๆ เวลาระหว่างรับเบี้ยหวัด นับ 1 ใน 4 ตัด ลา พักราชการ ให้ออกจากราชการไว้ก่อน หนีหรือขาดราชการโดยไม่ได้รับเงินเดือน ตัด ลา พักราชการ ให้ออกจากราชการไว้ก่อน โดยได้รับเงินเดือน 1/2 ตัด ลา พักราชการ ให้ออกจากราชการไว้ก่อน โดยได้รับเงินเดือน 1/3 ตัด ลา พักราชการ ให้ออกจากราชการไว้ก่อน โดยได้รับเงินเดือน ¼ ตัด ป่วย ลา หนี ขาด ศึกษาต่อ ระหว่างประกาศกฎอัยการศึก วัน 16 ก.ค. 2517 7 ต.ค. 2519 23 ก.พ. 2534 01 ต.ค. 2555 5 ม.ค. 2520 2 พ.ค. 2534 5 เดือน 8 วัน

16 เงินเดือนเฉลี่ยหกสิบเดือนสุดท้าย
ตั้งแต่ ถึง รวมเวลาเป็น (เดือน) เป็นเงิน 60,660 1 เม.ย. 2555 30 ก.ย. 2555 6 363,960 58,860 1 ต.ค. 2554 31 มี.ค. 2555 353,160 56,610 1 เม.ย. 2554 30 ก.ย. 2554 339,660 50,550 1 ต.ค. 2553 31 มี.ค. 2554 303,300 1 เม.ย. 2553 30 ก.ย. 2553 303,330 50,330 1 ต.ค. 2552 31 มี.ค. 2553 301,800 49,350 1 เม.ย. 2552 30 ก.ย. 2552 296,100 47,450 1 ต.ค. 2551 31 มี.ค. 2552 284,700 1 เม.ย. 2551 30 ก.ย. 2551 1 ต.ค. 2550 31 มี.ค. 2551 รวม 3,115,380 60 เดือน เฉลี่ย = 51,923 บาท เวลาราชการ = 38 ปี 7 เดือน 24 วัน นับให้ ปี = 51,923x35 50 บำนาญ = 36, บาท

17 บำเหน็จดำรงชีพ 200,000.- บาท เมื่ออายุ 65 ปี เบิกได้อีก
บำเหน็จดำรงชีพ 200,000.- บาท เมื่ออายุ 65 ปี เบิกได้อีก 36, x 15 = 545,190 เบิกได้อีก ,000.- บาท แต่ถ้า บำนาญ 20,000 x 15 = 300,000 เบิกเมื่อเกษียณ = 200, บาท อายุ 65 ปี รับ = 100, บาท

18 บำเหน็จตกทอด ข้าราชการประจำตาย @ เงินเดือนสุดท้ายxเวลาราชการ ผู้รับบำนาญตาย @ บำนาญx30

19 บำเหน็จตกทอด บำนาญ เดือนละ 36,346.10 x 30 = 1,090,383
-เบิกเมื่อเกษียณ (บำเหน็จดำรงชีพ) = 200,000 - อายุ 65 ปี = 200,000 เหลือ = 690,383 จ่ายทายาท บุตรให้ได้รับ 2 ส่วน ถ้าผู้ตายมีบุตรตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปให้ได้รับ 3 ส่วน สามีหรือภริยาให้ได้รับ 1 ส่วน บิดามารดา หรือบิดาหรือมารดา ที่มีชีวิตให้ได้รับ 1 ส่วน * กรณีไม่มีทายาทและบุคคลซึ่งผู้ตายได้แสดงเจตนาไว้หรือบุคคลนั้นได้ตายไปก่อนได้สิทธิในบำเหน็จตกทอดนั้น เป็นอันยุติลง

20 ตัวอย่าง บำเหน็จตกทอด 690,383 บาท ตัวอย่างที่ 1 - บุตร 2 ส่วน (2 คน) = บุตร (1) = 172, บุตร (2) = 172, สามีหรือภรรยา 1 ส่วน = 172, บิดา มารดา 1 ส่วน = 172, ตัวอย่างที่ 2 - บุตร 3 ส่วน (3 คนขึ้นไป) = บุตร (1) = 138, บุตร (2) = 138, บุตร (3) = 138, สามีหรือภรรยา 1 ส่วน = 138, บิดา มารดา 1 ส่วน = 138,076.60 345,191.50 414,229.80

21 ตัวอย่างที่ 3 - บุตร 2 ส่วน (1-2 คน) = 460,255
ตัวอย่างที่ 3 - บุตร 2 ส่วน (1-2 คน) = 460, สามีหรือภรรยา 1 ส่วน = 230, ตัวอย่างที่ 4 - บุตร 3 ส่วน (3 คนขึ้นไป) = บุตร (1) = 172, บุตร (2) = 172, บุตร (3) = 172, สามีหรือภรรยา 1 ส่วน = 172,595.75 517,787.25

22 การส่งหลักฐาน หลักฐานของทายาท หนังสือการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม
หนังสือการจดทะเบียนรับรองบุตร สำเนาคำพิพากษาของศาลว่าเป็นบุตร สำเนาคำพิพากษาหรือคำสั่งศาลว่าคู่สมรสคนใดเป็นคู่สมรสที่ชอบด้วยกฏหมาย กรณีที่มีการสมรสซ้อน

23 บำเหน็จค้ำประกัน สิทธิของข้าราชการ บำนาญ (รวม ช.ค.บ.) สิทธิทายาท
บำเหน็จตกทอด บำนาญ (รวม ช.ค.บ.) บำเหน็จดำรงชีพ เหลือให้ทายาท 15 เท่า ให้นำมาใช้ก่อน 15 เท่า

24 การขอใช้สิทธิ ส่วนราชการ กรมบัญชีกลางหรือคลังจังหวัด ผู้รับบำนาญ
ตรวจสอบ ตรวจสอบ ยื่นคำร้อง ส่วนราชการ ผู้เบิกบำนาญ แจ้ง กรมบัญชีกลางหรือคลังจังหวัด ผู้รับบำนาญ ส่งให้ หนังสือรับรองสิทธิ บำเหน็จตกทอดเพื่อใช้เป็นหลักทรัพย์ประกันการกู้เงิน ออกหนังสือ

25 การขอใช้สิทธิ ผู้รับบำนาญ ธนาคาร กรมบัญชีกลาง ทำสัญญาเงินกู้ ติดต่อ
แจ้ง ผู้รับบำนาญ ธนาคาร กรมบัญชีกลาง ทำสัญญาเงินกู้

26 การชำระหนี้ตามสัญญาเงินกู้
ธนาคาร บำนาญ กรมบัญชีกลาง ผู้รับบำนาญ ระบบ จ่ายตรงฯ บำนาญ ส่วนที่เหลือ  ทุก ๆ เดือน จนกว่าจะชำระหนี้ครบถ้วน

27 กรณีสิ้นสุดสมาชิกภาพเนื่องจากเสียชีวิต (กบข.)
ผู้มีสิทธิรับเงิน คือ ผู้มีสิทธิรับมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ได้แก่ ผู้จัดการมรดก คือ ผู้ที่มีสิทธิและหน้าที่ในการจัดการมรดกโดยทั่วไป เพื่อแบ่ง ทรัพย์มรดกของผู้ตายให้กับทายาทลำดับต่าง ๆ โดยผู้จัดการมรดก มี 2 ประเภท คือ 1. ผู้จัดการมรดกที่ศาลได้แต่งตั้งขึ้น โดยการร้องขอของทายาทผู้เสียชีวิต 2. ผู้จัดการมรดกโดยพินัยกรรม คือ ผู้ที่สมาชิกได้ทำพินัยกรรม และแต่งตั้ง ให้เป็นผู้จัดการมรดกไว้ก่อนเสียชีวิต ทายาทโดยธรรม คือ ทายาทผู้มีสิทธิรับมรดกตามมาตรา 1629 แห่งประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ได้แก่ 1. คู่สมรส

28 2. ทายาท 6 ลำดับ ได้แก่ - ผู้สืบสันดาน คือ บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งเกิดจากบิดา มารดา ได้สมรสกันตามกฎหมายหรือ บุตรที่บิดารับรองบุตร หรือบุตรบุญธรรม - บิดา มารดา คือ บิดา มารดาที่สมรสกันตามกฎหมาย - พี่น้องร่วมบิดา มารดาเดียวกัน หากไม่มีทายาท ข้อ 1 และ 2 จึงจะมีสิทธิได้รับเงิน - พี่น้องร่วมบิดา หรือ มารดาเดียวกัน หากไม่มีทายาทข้อ 1 ถึง 3 จึงจะมีสิทธิได้รับเงิน -ปู่ ย่า ตา ยาย หากไม่มีทายาทลำดับที่ 1 ถึง 4 จึงจะมีสิทธิ ได้รับเงิน - ลุง ป้า น้า อา หากไม่มีทายาทลำดับ 1 ถึง 5 จึงจะมีสิทธิได้รับเงิน

29 ร่าง พ.ร.บ.กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่............) พ.ศ...............
ข้าราชการที่เป็นสมาชิก กบข.โดยสมัครใจ หากเลือกกลับไปในระบบบำนาญแบบเดิม ให้แสดงความประสงค์ ตั้งแต่วันถัดจากวันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2557 จะได้รับเงินสะสมและดอกผลคืนจาก กบข.ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2557 แต่จะไม่มีสิทธิได้รับเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสมทบ และดอกผลของเงินดังกล่าว

30 กรณียืนยันเป็นสมาชิก กบข. กรณี “ลาออก” การเป็นสมาชิก กบข.
ตารางเปรียบเทียบเงินที่จะได้รับกรณียืนยันการเป็นสมาชิก กบข.และกรณีลาออกจากการเป็นสมาชิก กบข. กรณียืนยันเป็นสมาชิก กบข. 1.เงินที่ท่านจะได้รับจาก กบข. รวม 823, บาท ประกอบด้วย 1.1 เงินประเดิม , บาท 1.2 เงินสะสม , บาท 1.3 เงินสมทบ , บาท 1.4 เงินชดเชย , บาท 1.5 เงินสะสมส่วนเพิ่ม (ถ้ามี) บาท กรณี “ลาออก” การเป็นสมาชิก กบข. รวม 221, บาท ประกอบด้วย 1.1 เงินสะสม , บาท 1.2 เงินสะสมส่วนเพิ่ม (ถ้ามี) บาท

31 กรณี ไม่เป็นสมาชิก กบข. เงินเดือนxอายุราชการ 50 60,660x39 = 47,314
กรณี ไม่เป็นสมาชิก กบข. เงินเดือนxอายุราชการ 50 60,660x39 = 47, กรณี เป็นสมาชิก กบข. เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายxอายุราชการ แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 70 = 36, ผลต่าง = 10, บำเหน็จตกทอด = 47,314.80x30 = 1,419,444

32 พรบ. 39,630x37 = 29, ต่างเดือนละ กบข. 60 เดือนเฉลี่ยxอายุราชการ ต้องไม่เกินร้อยละ 70 = 25,620 3, ประเดิม สมทบ ชดเชย = 602,786 ÷ 3,706 = 162 เดือน = 13 ปี+60 ปี = 73 ปี 3,706x162 เดือน = 600,372 ต่าง = 2,414 บำเหน็จตกทอด = 29,326x30 = 879, ,000 = 479,780 (ตาย) = 25,620x30 = 768,600 – 384,300 = 384,300 (ตาย) ต่าง = 95,480


ดาวน์โหลด ppt การขอรับบำเหน็จบำนาญและบำเหน็จค้ำประกันของข้าราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google