งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี ระหว่างวันที่ 2-3 พฤษภาคม 2560 Cluster วัยเรียน
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี นางสาวอัญชุลี อ่อนศรี สำนักส่งเสริมสุขภาพ

2 ร้อยละของเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน เขต 6 จำแนกรายจังหวัด
1 สถานการณ์/ผลการดำเนินงาน ร้อยละของเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน เขต 6 จำแนกรายจังหวัด ร้อยละ 66 ของเด็กวัยเรียน อายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน ที่มา : ระบบรายงาน HDC รายงาน ณ วันที่ 23 มีนาคม 2560 Cluster วัยเรียน

3 ส่วนสูงเฉลี่ยเด็กอายุ 12 ปี เขต 6 จำแนกตามเพศ
สถานการณ์/ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ส่วนสูงเฉลี่ยเด็กอายุ 12 ปี เขต 6 จำแนกตามเพศ เป้าหมายปี 2564 155 cm. 154 cm. Cluster วัยเรียน ที่มา : ระบบรายงาน HDC รายงาน ณ วันที่ 23 มีนาคม 2560

4 ร้อยละของเด็กอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) เขต 6
ส สถานการณ์/ผลการดำเนินงาน (ต่อ) ร้อยละของเด็กอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) เขต 6 จำแนกรายจังหวัด ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 52 ที่มา : ระบบรายงาน HDC Cluster วัยเรียน

5 2 ประเด็นปัญหาที่สำคัญที่เป็นความเสี่ยงต่อ
การดำเนินงานไม่ประสบความสำเร็จ ภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนการดำเนินงานสูงดีสมส่วน ยังดำเนินการไม่ครอบคลุมทั้งประเด็นการส่งเสริมสูงดีสมส่วน และพื้นที่เป้าหมาย ระบบการคัดกรองส่งต่อเด็กอ้วน และการจัดการแก้ไขปัญหาเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง ไม่ครอบคลุมทุกจังหวัด การรณรงค์สร้างกระแสเด็กสูงดีสมส่วนยังไม่เพียงพอในการขับเคลื่อนให้ไปสู่เป้าหมาย Cluster วัยเรียน

6 3 ข้อเสนอแนะที่สำคัญต่อการพัฒนางาน ข้อเสนอแนะต่อ ศูนย์อนามัย
สร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการพัฒนาแนวทาง/กลไก/มาตรการการขับเคลื่อนเด็กสูงดีสมส่วนแบบบูรณาการ (อาหาร กิจกรรมทางกาย นอนหลับ สุขภาพช่องปากและฟัน) ผลักดันและกระตุ้นการดำเนินงานการคัดกรอง ส่งต่อเด็กอ้วนและการจัดการแก้ไขปัญหาเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน สะท้อนปัญหาเด็กวัยเรียน และจัดทำแผนการแก้ไขปัญหาระดับเขตและพื้นที่ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง รณรงค์สร้างกระแสสูงดีสมส่วน (อาหาร ออกกำลังกาย นอนหลับ) ผ่านช่องทางต่างๆ และรูปแบบที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง เยี่ยมเสริมพลัง ติดตามการดำเนินงานจังหวัดอย่างต่อเนื่อง โดยนิเทศเฉพาะกิจ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยเน้นการใช้ข้อมูลจาก HDC และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสูงดี สมส่วน ประกอบเพื่อการแก้ไขปัญหา Cluster วัยเรียน

7 ข้อเสนอแนะเพื่อประสาน/ดำเนินการต่อ
3 ข้อเสนอแนะที่สำคัญต่อการพัฒนางาน (ต่อ) ข้อเสนอแนะเพื่อประสาน/ดำเนินการต่อ จัดทำแผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนระดับนโยบาย โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มีการกำหนดตัวชี้วัดให้มีความต่อเนื่องแต่ละปีงบประมาณ เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย ทบทวนระบบข้อมูล ในด้านกลุ่มเป้าหมายอยู่ในระบบโรงเรียน ไม่ใช่ตามภูมิลำเนา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน และนำไปใช้วางแผนการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ Cluster วัยเรียน

8 4 นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง
โรงเรียนวัดสวนส้ม จังหวัดสมุทรปราการ “สื่อลดอ้วน” นักเรียน พัฒนาต่อยอดจากนิทานให้เป็นละครและเพลงรณรงค์กินผัก ลดหวาน มัน เค็ม ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ระดับประเทศ โรงเรียนวัดโขดทิมาราม จังหวัดระยอง ครูและนักเรียนมีส่วนร่วม สนับสนุนการจัดกิจกรรมทางกาย โครงการ “โชป้าแอนด์ชายด์ป้า” มีแผนขยายผลไปชุมชน และโรงเรียนในสังกัดนครระยอง Cluster วัยเรียน

9


ดาวน์โหลด ppt นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google