งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

NUR 2224 การประเมินภาวะสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "NUR 2224 การประเมินภาวะสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 NUR 2224 การประเมินภาวะสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ
การตรวจร่างกาย (ต่อ) การตรวจศีรษะ ใบหน้า ตา หู คอ จมูก ช่องปากและคอ การตรวจต่อมไทรอยด์ การตรวจต่อน้ำลาย อ. สุกัญญา บุญวรสถิต

2 วัตถุประสงค์ เพื่อบอกถึงการประเมินภาวะสุขภาพ โดยการ ตรวจร่างกาย ได้แก่ การตรวจศีรษะ ใบหน้า ตา หู คอ จมูก ช่องปากและคอ การตรวจต่อม ไทรอยด์ การตรวจต่อมน้ำลาย

3 หลักการตรวจร่างกายเบื้องต้น
การดู (Inspection) การคลำ (Palpation) การเคาะ (Percussion) การฟัง (Auscultation)

4 General appearance เพศ / วัย กลุ่มเชื้อชาติ การแต่งกาย
เพศ / วัย กลุ่มเชื้อชาติ การแต่งกาย ความสูง ความอ้วน ผอม รูปร่าง หน้าตา ผิวพรรณ ความกระฉับกระเฉง อาการอ่อนเปลี้ย / การเดิน ความสะอาด สุขลักษณะ

5 การตรวจศีรษะ

6 การตรวจศีรษะ การซักประวัติ การดู (Inspection)
: Size, Shape, Consistency การคลำ (Palpation) คลำดูที่หนังศีรษะ : นูน /บุ๋ม /ให้ประวัติอุบัติเหตุที่ ศีรษะ

7 สิ่งที่ได้จากการซักประวัติ

8 การตรวจใบหน้า (Face) Inspection : Symmetry ;
Abnormal Finding: Asymmetry , Drooping, Weakness, Paralysis, Bell palsy, Parkinson disease, from Organic disease or Neurologic problem : Facial features; Abnormal Finding: Distorted features, Moon-shaped with red Cheeks Cushing syndrome, Mongoloid, Butterfly rash

9 Bell palsy

10 Cushing syndrome

11 Mongoloid

12 Butterfly rash

13 การตรวจตา(Eyes)

14 การตรวจตา(Eyes)

15 การตรวจตา(Eyes)

16 การตรวจตา(Eyes)

17 เครื่องมือตรวจตา Ophthalmoscope

18 Visual acuity (VA) 1.ผู้ป่วยยืนระยะห่างจากป้าย 20 ฟุต / 6 เมตร
2.ให้ผู้ป่วยปิดตาทีละข้าง อ่านด้วยตาขวาก่อนเสมอ 3.ให้เริ่มอ่านจากบรรทัดบนสุดลงล่าง 4. ถ้าอ่านไม่ได้ที่ระยะ 20/20 ให้ใช้ Pin hole 5.ถ้าระยะ 20 ฟุต อ่านแถวบนไม่ได้ ให้เลื่อนเข้าที่ระยะ 15, 10, 5 ฟุต (ถ้าผู้ป่วยสวมแว่นให้สวมแว่น และอ่านตัวเลขตามข้อ 3, 4, 5)

19 Snellen chart

20 E chart

21 การตรวจการทำงานของกล้ามเนื้อ
Extra Ocular Muscle (EOM) 1.ตรวจการเคลื่อนไหวของลูกตา โดยให้ผู้ป่วยมองตามนิ้วมือ หรือวัตถุที่ระยะห่างประมาณ 1 ฟุต 2.ให้ผู้ป่วยมองวัตถุตามทิศทางหลัก 6 ทิศทาง : ขวา ซ้าย บน ขวา บนซ้าย ล่างขวา ล่างซ้าย 3.สังเกตการณ์เคลื่อนไหวของลูก เช่น ความสัมพันธ์กันเป็นคู่ ตากระตุก (Nystagmus)

22 Near point of convergence (NPC)
1.ให้ผู้ป่วยมองปลายวัตถุที่ระยะประมาณ 1 ฟุต 2. เลื่อนวัตถุเข้าหาผู้ป่วยช้าๆ สังเกตการณ์กลอกตาทั้ง 2 ข้าง เข้าหากัน (Accommodation) คนปกติประมาณ 6-7 CMS.

23 การตรวจลานสายตา (Visual field confrontation test)
1.ผู้ตรวจนั่งตรงข้ามกับผู้ป่วยที่ระยะ 2 ฟุต 2.ผู้ป่วยจ้องนิ่งที่ใดที่หนึ่งหรือที่หน้าผู้ตรวจ 3.ผู้ตรวจให้นิ้วขยับจากด้านข้างเข้าตรงกลาง 4.สังเกตระยะที่ผู้ป่วยเริ่มเห็นนิ้ว ว่าอยู่ในระยะใกล้เคียง กับที่ผู้ตรวจเห็นหรือไม่ (ลานสายตาผู้ตรวจต้องปกติ)

24 1.ใช้ไฟฉายส่องไปที่สันจมูก
Corneal light reflex 1.ใช้ไฟฉายส่องไปที่สันจมูก 2.สังเกตดูแสงไฟที่ตกบนกระจกดำว่ามีตาเข หรือไม่ (Esotropia, Exotropia)

25 Esotropia, Exotropia

26 อวัยวะภายนอกของลูกตา (External segment)
เปลือกตา และขนตา (Lid- Lash) 1. สังเกตความผิดปกติ - ขอบหนังตาตก (Ptosis) - Lid lag - ขอบหนังตาม้วนเข้าใน (Entropion) หรือแบะออก (Ectropion) - สภาพผิวหนังบวมแดง - Sty, Chalazion, Meibomites - ขนตาเก (Trichiasis) 2.คำเปลือกตาหาความผิดปกติ เช่น Chalazion

27

28 Ptosis

29

30 Meibomites

31 ต่อมน้ำตา ท่อน้ำตา และถุงน้ำตา (Lachrymapparatus)
1.คลำหาจุดเจ็บบริเวณต่อมน้ำตา ท่อน้ำตา และถุงน้ำตา 2.กดบริเวณรูเปิดท่อน้ำตา สังเกต Discharge เยื่อบุตาขาว (Conjunctiva)

32 อวัยวะส่วนหน้าของลูกตา
กระจกตาดำ (Cornea)… แก้วตา (Lens)…. รูม่านตา (Pupil) Eye signs….

33 การตรวจหู Rinne’s test AC:BC Whisper test

34 การตรวจจมูก (Nose) สันจมูก โพรงจมูก....
โพรงอากาศ (Piranesi air sinus)….

35 การตรวจปากและช่องคอ (Mouth and Throat)
1. ช่องปาก Oral cavity ….. Angular stomatitis

36 การตรวจปากและช่องคอ (Mouth and Throat) (ต่อ)
2. ต่อมทอลซิล (Paplatine)… 3. ผนังคอด้านหลัง (Post pharyngeal wall)…

37 การตรวจคอ (Neck) สังเกต Neck Vein engorge

38 การตรวจหลอดลม (Trachea)
หลอดลมจะอยู่ตรงกลางคอด้านหน้า วิธีตรวจใช้การ คลํา โดยวางนิ้วชี้ ที่ Suprasternal notch เหนือ Manubrium sterni แล้วค่อยๆเคลื่อนขึ้นเป็น เส้นตรง ถ้าอยู่ศูนย์กลางของหลอดลมแสดงว่าหลอดลมอยู่ใน ตําแหน่งปกติ ถ้าไม่อยู่ตรงกลาง ให้ดูว่าเอียงไปด้าน ไหน หลอดลมที่เอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง อาจมีก้อน มาดันหรือ ปอดแฟบไปข้างหนึ่ง แล้วดึงรั้งเอา หลอดลมเอียงไปข้างนั้นด้วย

39 การตรวจหลอดลม (Trachea)

40 การตรวจต่อไทรอยด์ Thyroid gland
1. ดู 2. คลำ 3. สังเกต

41 การตรวจกล่องเสียง ใช้ Laryngoscope

42 การตรวจต่อมน้ำลาย โดยปกติต่อมน้ำลายหน้ากกหู และต่อมน้ำลายใต้ลิ้นจะมองไม่เห็นและ คลำไม่ได้ ถ้ามีการบวมโตขึ้นจึงจะสังเกตเห็นและสามารถคลำได้ ส่วน ต่อมน้ำลายใต้ขากรรไกรอาจจะคลำได้เป็นรูปไข่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 1.5 เซนติเมตร โดยใช้นิ้วหนึ่งคลำจากในปาก และอีกนิ้วหนึ่ง อยู่ใต้กรามด้านนอก จากนั้นให้สังเกตรูเปิดของท่อน้ำลาย (Wharton's duct)ว่ามีความผิดปกติหรือไม่

43 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt NUR 2224 การประเมินภาวะสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google