งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สารสื่อนำกระแสประสาท

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สารสื่อนำกระแสประสาท"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สารสื่อนำกระแสประสาท
สารเคมีในสมอง (BRAIN CHEMICALS) สารสื่อนำกระแสประสาท (NEURO TRANSMITTERS) เนื้อหาเรื่องนี้กลั่นกรองและปรับปรุงโดยน.พ.เอกชัยฯ ซึ่งไม่มีความชำนาญ เฉพาะทางในเรื่องนี้ จึงไม่ควรเชื่อ และเป็นเพียงแนวทางในการศึกษาต่อไปเท่านั้น. เนื้อหาในเรื่องนี้นำมาจากหลายแหล่ง เช่น จาก นพ.วรวุฒิ เจริญศิริ จากเว็บไซต์ต่าง ๆ และภาพจาก นั้น เขาไม่สงวนลิขสิทธิ์ .

2 สารเคมีในสมอง (brain chemicals)

3 เซ็ลล์ประสาทส่งสัญญาณจาก เซ็ลล์หนึ่งไปยังอีกเซ็ลล์หนึ่ง
ที่เชื่อมต่อ ระหว่างเซ็ลล์ /thumbs/synapse.jpg

4 สมอง

5 สมองเป็นอวัยวะสำคัญที่สุด
คนปรกติมีสมองเป็นศูนย์กลางของความรู้สึก นึกคิด จำ การรู้เรื่องต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น รวมทั้งสั่งการให้เกิดการกระทำ ต่าง ๆ. เราจึงควรรู้เรื่องต่างๆของสมองเพื่อดูแลสมองให้ใช้งานได้ดีและนานที่สุด.

6 ความจำด้านภาพและเสียง
เคลื่อนไหว รับรู้ความรู้สึก จำ คิด แปลผลทั่วไป การพูด ศูนย์การ ได้ยิน ศูนย์การเห็น และการเคลื่อน ไหวของตา แปลผลความรู้สึก ความจำด้านภาพและเสียง ก้านสมอง

7 การรับส่งสัญญานของเซ็ลล์ประสาท
ตัวเซ็ลล์ประสาท ที่รับ ที่ส่ง สัญญาณ

8 เซ็ลล์ประสาทมีการเชื่อมโยงกันและกัน

9 เซ็ลล์ประสาท ส่งสัญญาณ รับสัญญาณ นิวเคลียส ปลอกหุ้มเส้นประสาท

10 เซ็ลล์ประสาท ส่งสัญญาณ รับสัญญาณ นิวเคลียส ปลอกหุ้มเส้นประสาท

11 ขยายภาพการเชื่อมโยงระหว่างเซ็ลล์ประสาท
รับ ขยายภาพตรงนี้ ส่ง สารสื่อ ประสาท

12 ของสารสื่อนำประสาทหรือสารเคมีในสมอง
หลักการทำงาน ของสารสื่อนำประสาทหรือสารเคมีในสมอง เซ็ลล์ประสาทปลายทาง เซ็ลล์ประสาท ต้นทาง สารนำประสาท สารสื่อนำประสาทหรือสารเคมีในสมองที่หลั่งออกมาจะออกฤทธิ์กับเซลล์ประสาทปลายทาง โดยจะไปจับกับโปรตีนที่เรียกว่า "ตัวรับ" ซึ่งอยู่บนผิวของเซลล์ประสาทปลายทาง โดยทั่วไปทำให้เกิดกระแสประสาทบนเซลล์ประสาทปลายทางตัวนั้นส่งต่อๆไป การที่สารสื่อนำประสาทที่ถูกหลั่งออกมาสามารถกระตุ้นหรือยับยั้งการทำงานของเซลล์ประสาทปลายทางได้นั้น ร่างกายจะต้องมีระบบควบคุมไม่ให้มันทำงานมากเกินไป ทั้งกลไกการกระตุ้นและการยับยั้งก่อให้เกิดผลทางชีวภาพที่สำคัญยิ่ง ถ้า มีสารสื่อนำประสาทออกมามาก สารสื่อนำประสาทจะยับยั้งการทำงานของเซลล์ประสาทต้นทางผ่านทางตัวรับนี้ ให้หยุดส่งกระแสประสาทได้แล้ว นอกจากนี้ยังต้องมีระบบดูดกลับเพื่อคอยเก็บสารสื่อนำประสาทที่ถูกปล่อยออกมา แล้วกลับเข้าคืนไปเก็บไว้ในปลายประสาทของเซลล์ประสาทต้นทาง ทำให้สารสื่อนำประสาทหยุดการกระตุ้นเซลล์ประสาทปลายทาง เซ็ลล์ประสาท ปลายทาง ระบบควบคุมการทำงาน การที่สารสื่อนำประสาทที่ถูกหลั่งออกมา แล้วสามารถกระตุ้นหรือยับยั้งการทำงานของเซลล์ประสาทปลายทางได้นั้น ร่างกายจะต้อง มีระบบควบคุมไม่ให้เกิดการทำงานมากหรือน้อยเกินไป โดยกลไกต่อไปนี้ โดยมีตัวรับไว้ที่ปลายประสาทของเส้นประสาทที่มาจากเชลล์ประสาทต้นทาง เพื่อคอยตรวจสอบว่ามีสารสื่อนำประสาทออกมามาก พอหรือยัง ถ้ามีสารสื่อนำประสาทออกมามาก สารสื่อนำประสาทจะยับยั้งการทำงานของเชลล์ประสาทต้นทางผ่านทางตัวรับนี้ หยุดส่งกระแสประสาท ระบบดูดกลับเพื่อคอยเก็บสารสื่อนำประสาทที่ถูกปล่อยออกมาแล้ว กลับเข้าคืนไปเก็บไว้ในปลายประสาทของเซลล์ประสาทต้นทาง ทำให้สารสื่อนำประสาทหยุดการกระตุ้นเชลล์ประสาทปลายทาง และยังสามารถเก็บสารสื่อนำประสาทที่ยังดีๆเหล่านี้ไว้ใช้คราวต่อไปได้อีก ระบบเอนซัยม์ย่อยสลายสารสื่อนำประสาท โดยทำหน้าที่เก็บกวาดทำลายสารสื่อนำประสาทที่ยังหลงเหลืออยู่

13 ที่เก็บ สารสื่อประสาท ที่ส่ง สัญญาณฯ ที่รับ สัญญาณฯ
ที่เชื่อมต่อ ที่รับ สัญญาณฯ

14 การทำงานของเซ็ลล์ประสาท
ทำให้สามารถรับและส่งกระแส ประสาท(สัญญาน). ๒. ร่างกายจะมีระบบควบคุมไม่ให้ สารนี้มีมากเกินไป. ๓. มีระบบดูดสารเคมีกลับมาไว้ที่ เซ็ลล์ประสาทส่วนต้น.

15 ๑. อะซิติลโคลีน ๒. นอร์อิปิเนฟริน
สารเคมีในสมอง ๑. อะซิติลโคลีน ๒. นอร์อิปิเนฟริน ๓. โดปามีน ๔. กาบา ๕. กลูตาเมต ๖. ซีโรโทนิน ๗. เอ็นดอร์ฟิน หรือสารสื่อนำประสาท สารเคมีในสมองหรือสารสื่อนำประสาทมีหลายชนิด แตกต่างกันไปตามสูตรโครงสร้างทางเคมี และกลไกการออกฤทธิ์ ที่สำคัญและเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันได้แก่ อะซิติลโคลีน นอร์อิปิเนฟริน โดปามีน กาบา กลูตาเมต ซีโรโทนิน และเอ็นดอร์ฟิน

16 ๑. อะซิติลโคลีน (acetylcholine)
เป็นสารเคมีในสมองชนิดแรกที่ถูกค้นพบที่ ไขสันหลัง ? รอยเชื่อมต่อกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย ? กล้ามเนื้อเรียบของอวัยวะภายใน ? ปมประสาทอัตโนมัติ–พาราซิมพาเทติก ?

17 ที่เก็บ สารสื่อประสาท ที่ส่ง สัญญาณฯ ที่รับ สัญญาณฯ
ที่เชื่อมต่อ ที่รับ สัญญาณฯ

18 หน้าที่ของอะซิติลโคลีน ๑. ความจำ.
๒. กระบวนการเรียนรู้. ๓. ควบคุมพฤติกรรม. ๔. การเคลื่อนไหว.

19 ที่กล้ามเนื้อ การทำงานของกล้าม เนื้อลดลง
บริเวณที่เชื่อม ต่อระหว่างเซ็ลล์ ประสาทกับ เซ็ลล์กล้ามเนื้อ Curriculum/VM8054/Labs/Lab10/lab10.htm

20 ถ้ามีอะเซทิลโคลีนในระดับตํ่า
ที่สมอง สมาธิสั้น ขี้ลืม ความจำไม่ดีโดย เฉพาะความจำระยะสั้น นอนหลับไม่สนิทได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะหลับลึก. โรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ พบว่า ใน สมอง ของผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้มีปริมาณของ อะซิติลโคลีนลดลงถึง 90%.

21 ๒. นอร์อิปิเนฟริน (norepinephrine)
นอร์อิปิเนฟรินเป็นฮอร์โมนและเป็นสารสื่อประสาทที่ผลิตโดยต่อมหมวกไต เกิดขึ้นในขณะเวลาที่เกิดความกลัวและเครียด. นอร์อิปิเนฟริน (norepinephrine) นอร์อิปิเนฟริน ถูกค้นพบในปี ค.ศ โดยนักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลชาวสวีเดน Ulf von Euler ซึ่งผลงานของท่านเกือบทั้งหมดทุ่มเทให้กับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารสื่อนำประสาทชนิดนี้ การกระจายของนอร์อิปิเนฟรินในเนื้อเยื่อประสาทชนิดต่างๆ การสังเคราะห์ สะสม และหลั่งออกมาจากเซลล์ประสาท นับเป็นห้องปฏิบัติการที่มีชื่อเสียงเป็นอย่างยิ่งในยุคสมัยนั้น นอร์อิปิเนฟรินเกี่ยวข้องกับการกระตุ้นระบบประสาทของร่างกาย พบมากในระบบประสาทอัตโนมัติ ซิมพาเธติก เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ เพิ่มความดันโลหิต ต่อมหมวกไตสร้างนอร์อิปิเนฟริน และหลั่งออกมาในกระแสเลือด นอร์อิปิเนฟรินเป็นฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมหมวกไตที่มีคุณสมบัติทางเคมีและทางเภสัชวิทยาเหมือนกับอิปิเนฟริน มีหน้าที่กระตุ้นการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติชนิดซิมพาเธติก เกี่ยวข้องกับการแสดงออกทางร่างกายเวลาที่เกิดความกลัว และความเครียด นอร์อิปิเนฟรินมีความสำคัญในสมองที่เกี่ยวข้องกับความจำ เกี่ยวข้องกับอารมณ์และการตอบสนองต่อความเครียดเป็นหลัก และยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการควบคุมการรู้สึกตัว ความจำ และการเรียนรู้ ประมาณร้อยละ 50 ของสารนอร์อิปิเนฟรินในสมอง จะถูกสร้างขึ้นมาจากสมองส่วนที่เรียกว่า โลคัส ซีรูเรียส (locus ceruleus) ซึ่งเป็นสมองส่วนที่เชื่อมโยงระหว่างสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ และการตอบสนองต่อความเครียด สารเคมีชนิดนี้มีส่วนสำคัญและเกี่ยวข้องโดยตรงกับปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียด นอร์อิปิเนฟรินเกี่ยวข้องกับโรคซึมเศร้า โรคไบโพล่าร์ และโรคแพนิค

22 ต่อมหมวกไต โดปามีน (dopamine) เป็นสารเคมีที่พบตามธรรมชาติในร่างกายซึ่งสังเคราะห์โดยเนื้อเยื่อประสาทและต่อมหมวกไตเป็นส่วนใหญ่ ทำหน้าที้เป็นทั้งสารสื่อประสาทและฮอร์โมน นอกจากนี้ยังเป็นสารตั้งต้นของการสังเคราะห์ นอร์เอพิเนฟริน (norepinephrine หรือ noradrenaline) และ เอพิเนฟริน (epinephrine หรือ adrenaline) ไต

23 นอร์อิปิเนฟริน เป็นฮอร์โมนและสาร เคมีในสมองที่กระตุ้นการทำงานของระบบประสาอัตโนมัติชนิดซิมพาเธติก เป็นผลให้เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ เพิ่มความดันโลหิต / เลือดไปยังกล้าม เนื้อ เพิ่มกลูโคส เพื่อพร้อมที่จะสู้หรือหนีปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น.

24 ตอนเช้า เมื่อตื่นขึ้นมา ตาได้รับแสงสว่าง ก็จะกระตุ้นให้ร่างกายสร้างฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตทำให้ความ ดันโลหิตสูงขึ้น ตื่นตัว พร้อมทำกิจ. ผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูง ความดันมักจะขึ้นสูงในช่วงเช้า จึงควรวัดความดันตอนตื่นนอน เพื่อปรับยา.

25 นอร์อิปิเนฟรินเกี่ยวข้องกับ
การควบคุมความตื่นตัว ความจำ และการเรียนรู้. ถ้าขาดอาจเกิดการความไม่ตื่นตัว ความจำและการเรียนรู้ก็ลดลง อาจเกิดโรคซึม เศร้า. เกี่ยวข้องกับการ ควบคุมการรู้สึกตัว ความจำ และการเรียนรู้ ประมาณร้อยละ 50 ของสารนอร์อิปิเนฟรินในสมอง จะถูกสร้างขึ้นมาจากสมองส่วนที่เรียกว่า โลคัส ซีรูเรียส (locus ceruleus) ซึ่งเป็นสมองส่วนที่เชื่อมโยงระหว่างสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ และการตอบสนองต่อความเครียด สารเคมีชนิดนี้มีส่วนสำคัญและเกี่ยวข้องโดยตรงกับปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียด นอร์อิปิเนฟรินเกี่ยวข้องกับโรคซึมเศร้า โรคไบโพล่าร์ และโรคแพนิค

26 การให้สารตั้งต้นของโดปามีน คือ L- dopa จะสามารถรักษาอาการ
๓. โดปามีน (dopamine) การมีโดปามีน น้อยเกินไป จะ ทำให้เกิดเป็นโรคพาร์กินสัน. การให้สารตั้งต้นของโดปามีน คือ L- dopa จะสามารถรักษาอาการ ของโรคพาร์กินสันได้. โดปามีน (dopamine) นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดน Arvid Carlsson ค้นพบโดปามีนเมื่อช่วงทศวรรษ 1950s และยังพบว่าการให้สารตั้งต้นของโดปามีน คือ L-dopa สามารถรักษาอาการของโรคพาร์กินสันได้ ทำให้ท่านได้รับรางวัลโนเบลในปี ค.ศ.                                                                            โดปามีนมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับนอร์อิปิเนฟริน และอิปิเนฟริน โดปามีนจะมีปฏิกิริยากับตัวรับต่างๆ หลายชนิด ซึ่งทำให้เกิดผลแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง นอกจากนั้นในเซลล์สมองบางตัว โดปามีนจะเปลี่ยนเป็นนอร์อิปิเนฟรินซึ่งเป็นสารเคมีในกลุ่มเดียวกัน โดปามีนเป็นสารออกฤทธิ์ยับยั้ง โดยเป็นสารเคมีในกลุ่มของแคททีคอลลามีน ซึ่งเป็นกลุ่มสารเคมีที่หลั่งออกมาจากเซลล์สมองและมีผลต่อการทำงานของสมองเป็นอย่างมาก เพิ่มการติดต่อสื่อสารของข้อมูลระหว่างเซลล์สมอง และมีบทบาทสำคัญต่อสมองส่วนลิมบิกที่ทำให้รู้สึกมีความสุข สารโดปามีนเกี่ยวข้องกับโรคจิตเภทและโรคจิตชนิดอื่นๆ รวมทั้งยาเสพติด โดยพบว่าโดปามีนเกี่ยวข้องกับกลไกบางอย่างในสมอง สารเสพติดที่กระตุ้นโดปามีน ได้แก่ โคเคน ฝิ่น เฮโรอิน รวมทั้งอัลกอฮอล์ และ นิโคตินในบุหรี่ด้วย โดปามีนมากเกิน เกี่ยวข้องกับโรคจิตเภทที่รุนแรง โดยโดปามีนในกลีบสมองส่วนฟรอนทัลมากเกินไป ซึ่งสมองส่วนนี้ทำหนี้ท่เกี่ยวกับอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด การเรียนรู้ ความจำ ความฉลาด ความคิดอย่างมีเหตุผล ยาที่ใช้รักษาโรคจิตเภทหลายชนิดออกฤทธิ์ต้านสารโดปามีน ถ้าโดปามีนน้อยเกินไป จะทำให้เกิดเป็นโรคพาร์กินสัน เซลล์สมองที่มีโดปามีนมักจะอยู่ที่บริเวณของสมองส่วน basal ganglia ในส่วนที่เรียกว่า substantia nigra ผู้ป่วยโรคพาร์กินสันจะพบว่ามีการตายของเซลล์สมองที่มีโดปามีน จึงทำให้สมองขาดสารโดปามีน

27 สัญญาณประสาทที่ผ่านเข้ามา
สารโดปามีน ช่วงต่อระหว่างเซ็ล ที่รับโดปามีน สัญญาณประสาทที่ผ่านเข้ามา

28 php/2009-01-19-03-15-03/1240--dopamine
เซลล์สมองที่มีโดปามีนมักจะ อยู่ที่บริเวณของสมอง(ส่วน basal ganglia). พบว่าผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน มีการ ตายของเซลล์สมองที่มีโดปามีนทำ ให้สมองขาดสารโดปามีน. php/ /1240--dopamine

29 and Parkinson’s disease
PET scan and Parkinson’s disease ปรกติ พาร์กินสัน

30 ลักษณะของผู้ป่วยพาร์กินสัน

31 อาการเด่นของพาร์กินสันมี 3 ประการ คือ อาการสั่น เกร็งและเคลื่อนไหวช้า.
อาการสั่น มักเกิดขึ้นขณะอยู่เฉยๆ และสั่นมากเวลาอยู่นิ่งๆ แต่ขณะยื่นมือทำอะไร อาการสั่นจะลดลงหรือหายไป มักเกิดขึ้นที่มือข้างใดข้างหนึ่ง. E0.B8.A3.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B9.82.E0.B8.A3.E0.B8.84

32 อาการเพิ่มเติม อาการเกร็ง มักมีอาการเกร็งแข็งแขนขาและลำตัวตึง เคลื่อนไหวช้า งุ่มง่าม ปวดตามกล้ามเนื้อ ทำอะไรช้าลงไปจากเดิมมาก ไม่ว่องไวเหมือนเดิม สังเกตได้ว่าแขนไม่แกว่ง และผู้ป่วยมักบ่นว่าแขนขาไม่มีแรง. >

33 นอกจากนี้ยังพบความผิดปกติของท่าทาง และการทรงตัว เช่น หลังค่อม แขนงอ หกล้มง่าย นั่งตัวเอียง ส่วนอาการอื่นๆ ที่มักพบร่วมด้วย ได้แก่ อาการปวดตามกล้าม เนื้อ ซึมเศร้า นอนไม่หลับ สีหน้าเฉยเมย ไม่แสดงอารมณ์ น้ำลายไหล.

34 ผลของการหลั่งสารโดปามีนออกมา
ตื่นตัวของอารมณ์ กระฉับกระเฉง มีสมาธิมากขึ้น ไวต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ รอบตัว เป็นสารที่เกี่ยวข้องกับการควบ คุมอารมณ์ มีอารมณ์พึงพอใจ ปิติยินดี รักใคร่ชอบพอ  เรียบเรียงความนึกคิด และการทำหน้าที่ของสมองในการควบ คุมการเคลื่อนไหว.

35 อาหาร: ระดับโดปามีนสูงขึ้นจากอา-หารโปรตีนสูง
อาหาร: ระดับโดปามีนสูงขึ้นจากอา-หารโปรตีนสูง.  ร่างกายสร้างสารโดปามีนขึ้นมาจากกรดอะมิโนชนิดที่มีชื่อว่าไทโรซีน จากอาหารประเภทโปรตีนสูง เช่น เนื้อสัตว์ ถั่วเหลือง อาหารทะเล ไข่ และนม จะช่วยให้สมองมีพลัง กระ-ฉับกระเฉงและตื่นตัว.

36 ยารักษาโรคจิตเภทหลายตัวจึงฤทธิ์ต้านสารโดปามีน.
โดปามีนเกี่ยวข้องกับโรคจิตเภทและโรคจิตชนิดอื่นๆ เพราะมีโดปามีนมากเกินไป. ยารักษาโรคจิตเภทหลายตัวจึงฤทธิ์ต้านสารโดปามีน. โดปามีนมากไปจะกระคุ้นให้คิด จนอาจจะไม่สามารถมีสติควบคุมความคิดของตนเองได้ และอาจเป็นโรคจิตเต็มขั้น.

37 เกี่ยวข้องกับโดปามีน
สารเสพติด เกี่ยวข้องกับโดปามีน สารเสพติดที่กระตุ้นประสาทสมอง ให้หลั่งโดปามีนมากขึ้น ได้แก่ โคเคน ฝิ่น เฮโรอิน รวมทั้ง อัลกอฮอล์ และนิโคตินในบุหรี่.

38 เมื่อหยุดยากระตุ้น (ยาบ้า)
จะทำให้โดปามีนลดลงมาก กำลัง จะอ่อนแรงมาก หงุดหงิด กังวลมาก สับสน ซึมเศร้า และสิ้นหวัง. ต้องใช้เวลา ๒ - ๑๐ วันจึงจะหาย.

39 โดปามีนมากเกินเกี่ยวข้องกับ
โรคจิตเภทที่รุนแรง โรคจิตเภทที่รุนแรง จะมีโดปามีนในสมองส่วนหน้ามากเกินไป. ยาที่ใช้รักษาโรคจิตเภทหลายชนิดจะออกฤทธิ์ต้านสารโดปามีน.

40 ๔. กาบา (GABA, gammabutyric acid)
กาบา เป็นสารสื่อประสาทชนิดออกฤทธิ์ยับยั้งกระแส(สัญญาณ)ประ- สาทที่ผ่านบริเวณเชื่อมต่อระหว่าง เซ็ลประสาท จึงให้กระแสประสาท ผ่านได้น้อยลง.

41 สัญญาณประสาท ที่เก็บ GABA GABA note page GABA ปิดทางเข้า (1,2) Nerve impulse causes release of GABA from storage sites on neuron 1 (3) GABA released into the synaptic cleft (4) GABA reacts with receptors on neuron 2; the reaction allows Cl- to enter the neuron (5) This effect inhibits further progress of the nerve impulse (6,7) Benzodiazepines react with GABAA receptor complex (8) This action enhances the inhibitory effects of GABA; the ongoing nerve impulse may be completely blocked ที่รับ GABA สัญญาณผ่านลดลง

42 เมื่อมีกาบาน้อย สมองก็จะคิดปรุงแต่งมากขึ้น เพราะขาดการยับยั้ง. ดังนั้น คนที่มีระดับกาบาในสมองน้อยเกินไป จะมีอาการวิตกกังวล เพราะหยุดหรือควบคุมความคิดของตนเองไม่ได้ดี.

43 กาบ้าเป็นสารยับยั้ง(inhibitor) เพื่อรักษา
สมดุลในสมองที่ได้รับการกระตุ้น ทำ ให้ผ่อนคลายและหลับสบาย. ช่วยกระตุ้นต่อมไร้ท่อ (anterior pituitary) ที่ ผลิตฮอร์โมนที่ช่วยในการเจริญเติบโต (growth hormone) ทำให้สร้างเนื้อเยื่อ กล้าม เนื้อกระชับ ป้องกันการสะสมไขมัน. 

44 ยากล่อมอารมณ์ เช่น แวลเลี่ยม ออกฤทธิ์โดยเพิ่มฤทธิ์ของกาบา ?
ในบางรายมีกาบาน้อยมาก จนอาจทำให้เกิดการชักได้ ? สารที่กระตุ้นโปรตีนตัวรับกาบา ได้แก่ อัลกอฮอล์ และบาร์บิทูเรต ?

45 สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิต -ภัณฑ์อาหารของมหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์ พบว่า ข้าวขาวดอกมะลิ 105
เมื่อนำมาเพาะเป็นข้าวกล้องงอก จะ มีสารกาบามากที่สุด (  มิล- ลิกรัมต่อ 100 กรัม) สูงกว่าข้าวกล้องชนิดอื่นๆ. 

46 คุณประโยชน์ของสารในข้าวกล้องงอก ช่วยยับยั้งการเกิดฝ้า ชะลอความแก่.
คุณประโยชน์ของสารในข้าวกล้องงอก   มีสารต้านอนุมูลอิสระ (กลุ่มฟิโนลิค). ช่วยยับยั้งการเกิดฝ้า ชะลอความแก่. ลดอาการผิดปกติของวัยทอง. ช่วยป้องกันโรคอัลไซเมอร์. ช่วยผ่อนคลาย ทำให้จิตใจสงบ. หลับสบาย ลดความเครียดวิตกกังวล. ลดความดันโลหิต เป็นใยอาหาร วิตามินอี.

47 ข้าวโอ๊ต

48 ขณะที่ข้าวเจริญเติบโต น้ำที่แทรกเข้าไปในเมล็ดข้าวจะกระตุ้นให้เอนไซม์
ภายในเมล็ดข้าวเกิดการทำงาน เมื่อข้าวเริ่มงอกสารอาหารจะถูกย่อยเป็นคาร์โบ ไฮเดรตที่มีโมเลกุลเล็ก ? โปรตีนจะถูกย่อยให้เกิดเป็น กรด -อะมิโนและเปปไทด์ ?

49 ยังพบการสะสมสารสำคัญต่างๆ
เช่น แกมมาออริซานอล โทโคฟีรอล แกมมาอะมิโนบิวทิริกแอซิดหรือที่รู้ จักกันว่า กาบา (GABA).

50 นำข้าวกล้องไปแช่น้ำราว 48-72 ชั่วโมงในหม้อแช่ โดยมีการควบคุมอุณหภูมิ การไหลเวียนน้ำ ความดัน และความเป็นกรดด่างของน้ำเพื่อกระตุ้นให้เมล็ดข้าวงอกและเปลี่ยนกรดกลูตามิกไปเป็นสารกาบาอันเป็นส่วนที่สำคัญที่สุด ต่อมา เมื่อได้ข้าวกล้องงอกในขั้นตอนนี้แล้ว ก็ต้องทำให้ข้าวกล้องงอกหยุดการงอกต่อไป โดยอบแห้งให้มีความชื้นต่ำกว่า 14% ในหม้ออบแห้ง จากนั้นจึงบรรจุลงในถุงสุญญากาศ. ข้าวกล้อง ที่จะงอกได้ดีนั้นจะต้องเป็นข้าวกล้องที่ผ่านการกะเทาะเปลือกมาไม่เกิน 2 สัปดาห์.

51 วิธีทำน้ำข้าวกล้องงอก
นำข้าวกล้องงอกแช่น้ำทิ้งไว้ 3-5 ช.ม. ให้ข้าวกล้องงอกเป็นตุ่มเล็กๆ บริเวณจมูกข้าว แล้วต้มจนเดือดพล่าน จากนั้นก็กรองน้ำข้าวออกมารับประทานได้เลย.

52 การได้บริโภคข้าวกล้องงอกที่มี
สารกาบามากกว่าข้าวกล้องปกติ 15 เท่า จะสามารถป้องกันการทำลายสมอง เนื่องจากสารเบต้าอไมลอยด์เปปไทด์(beta-amyloid peptide)ซึ่งเป็นสาเหตุ ของโรคอัลไซเมอร์.

53 ข้าวกล้องงอกมีกาบา กาบาช่วยลดความดันโลหิต. ลด LDL (Low densitylipoprotein). ลดอาการอัลไซเมอร์. ลดน้ำหนัก. ทำให้ผิวพรรณดี. บำบัดโรคระบบประสาทส่วนกลาง.

54 ประเภทราก เช่น มัน แครอท ปลาทูน่าสด DHA
พริกและ รำข้าวหมัก B1 & E วิเคราะห์อาหารญี่ปุ่น ข้าวกล้องงอก GABA เต้าฮู่ สาหร่ายเขียวเข้ม

55 GABA precursor, monosodium glutamate(MSG).
กลูตาเมทและกาบาเป็นกรดอะมิโน ที่ทำปฎิกิริยาเหมือนกับสารสื่อประสาท และมีความสำคัญในกระบวนการเผา - ผลาญอาหารในร่างกาย เพื่อย่อยสลาย อาหาร และนำมาสร้างเป็นโมเลกุลที่มีพลังงานสูงในเซลล์. GABA precursor, monosodium glutamate(MSG).

56 กลูตาเมทจะกระตุ้นเซลล์สมอง
แต่กาบาจะยับยั้งเซลล์สมอง. กลูตาเมตที่มากเกินไปจะทำลายเซลล์ประสาทและอาจเป็นสาเหตุของโรคระบบประสาทหลายชนิดด้วย.

57 จำนวนของเซลล์สมองที่ใช้
กลูตาเมท และกาบามีมากกว่า จำนวนของเซลล์สมองที่ใช้สาร สื่อประสาทตัวอื่นๆ รวมกัน.

58 ๖. ซีโรโทนิน (serotonin)
ซีโรโทนินเป็นสารแห่งความสุข ช่วยให้คิดในแง่ดี ใจสงบมีอารมณ์ ดี ผ่อนคลาย โกรธ/ก้าวร้าวยากขึ้น หลับง่าย / สบาย ทานอาหารได้.   

59 อาการของการมีซีโรโทนินน้อย ซึมเศร้า กังวล ย้ำคิด กลัว คิด
แง่ไม่ดี หงุดหงิด ไม่อดทน คิดฆ่า ตัวตาย ความเชื่อมั่นลดลง โกรธ ง่าย ก้าวร้าว นอนไม่หลับ หลับตื้น. Lack of

60 อาการของการมีซีโรโทนินมาก
โรคจิต โรคจิตเภท บ้าคลั่ง อารมณ์ผิดปรกติ แปรปรวน ปัญญาอ่อนในเด็ก ออติสติก (self-centered or self-focused mental state with no basis in reality) อัลไซม์เมอร์ เป็นต้น

61 ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า อาจมีความผิด ปกติอย่างชัดเจน คือ ซีโรโทนิน และ
นอร์อิปิเนฟรินลดต่ำลง รวมทั้งอาจมีความผิดปกติของเซลล์รับสื่อเคมี. ยาต้านซึมเศร้าที่ใช้กันนั้นก็ออก ฤทธิ์โดยการไปปรับสมดุลของระบบสารเคมีเหล่านี้

62 ซีโรโทนิน สังเคราะห์มาจากกรด
อะมิโน ? เซลล์สมองจำนวนมากที่ใช้ สารซีโรโทนิน และที่เซลล์สมอง มีตัวรับซีโรโทนินอยู่หลายชนิด.

63 อาหารที่เสริมสร้างซีโลโทนิน
ทริปโตแฟนเป็นสารต้นกำเหนิดของซีโรโทนิน พบมากในไก่งวง นม โยเกริต์ ถั่ว ปลา เนื้อ ชีส. และควรทานไก่ ไข่ กุ้ง ซัลมอน งา เมล็ดทานตะวัน ผักสีเขียว ข้าวซ้อมมือ (brown rice).

64 สร้างซีโรโทนินต้องมีแร่ธาตุ
แคลเซี่ยม มีในอัลมอนด์ บรูเอยีสต์ ผัก ใบเขียว กระดูกปลา งา เต้าฮู้. แม็กนีเซี่ยม มีผักใบเขียว ข้าวสีน้ำตาล กุ้ง ซัลมอนด์. สรุป: เนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่ว ธัญญพืช ผัก เขียว.

65 โอเมก้า ๓ มีในน้ำมันปลาแม็คคาเร็ล ซาดีน ทูนา ซัลมอน
๒. กรดไขมันจำเป็น โอเมก้า ๓ มีในน้ำมันปลาแม็คคาเร็ล ซาดีน ทูนา ซัลมอน น้ำมันวอลนัทและแฟล็กซีด. โอเมก้า ๖ มีในไก่ ไข่ น้ำมัน -เมล็ดองุ่น แฟล็กส์ ทานตะวัน ไก่-งวง น้ำมันพริมโรส.

66 ความเครียดมีผลต่อซีโรโทนิน
ระยะยาว ลดซีโรโทนิน ระยะสั้น เพิ่มซีโรโทนิน. ออกกำลังกาย. ปฏิบัติธรรม(meditation)ในชีวิตประจำวัน. ทำงานที่ไม่เครียด.

67 งดสารกระตุ้นทุกชนิด. คาเฟอีน น้ำตาล ช็อกโคแล๊ต แอลกอฮอล์ บุหรี่ ยาลดน้ำหนัก.

68 ๗. เอนดอร์ฟิน (endorphin)
เป็นสารเคมีที่ช่วยทำให้รู้สึก ผ่อนคลาย หายเจ็บปวด โครง- สร้างทางเคมีคล้ายกับฝิ่น มอร์- ฟีน เฮโรอีน เป็น มอร์ฟีนที่ร่าง กายสร้างขึ้นโดยธรรมชาติ.

69 เอนดอร์ฟิน ออกฤทธิ์เหมือนมอร์
ฟีนที่ใช้ในทางการแพทย์. คนที่ได้รับความเจ็บปวดมากๆ เมื่อฉีดมอร์ฟีน...จะทำให้ความเจ็บ ปวดลดลง และช่วยทำให้เกิดการ ผ่อนคลาย

70 เอนดอร์ฟิน ช่วยเพิ่มความรู้สึก
พึงพอใจ เคลิบเคลิ้ม และอา- รมณ์ที่เป็นสุข.

71 เอนดอร์ฟิน ยับยั้งและบรรเทา
ความเจ็บปวด โดยจับกับโปร –ตีนตัวรับของเซลล์สมองที่ควบ คุมเกี่ยวกับความเจ็บปวด.

72 เอนดอร์ฟิน ผลิตที่ต่อมปิตูอิตารี่
เอนดอร์ฟิน ผลิตที่ต่อมปิตูอิตารี่ และไฮโปทัลมัส. จะหลั่งออกมาในช่วงออกกำลัง กายอย่างรุนแรง ตื่นเต้น เจ็บปวด ตอนจบของเพศสัมพันธ์ และตอน ทำสมาธิ.

73 wiki/Exercise_physiology
ออกกำลังแรง และต่อเนื่องจะ ทำให้สมองหลั่ง เอ็นดอร์ฟิน ไปลดอาการเจ็บ ปวด จิตใจสบาย ผ่อนคลาย wiki/Exercise_physiology

74 ต่อมใต้สมอง-ปิตูอิตารี่

75 ตัวอย่างออกกำลังกาย..... ชกมวย วิ่ง ว่ายน้ำ พายเรือ ทางไกล ขี่จักรยาน ยกน้ำหนัก เต้นแอร์โรบิค ฟุตบอล บาสเกต.

76 การฝังเข็ม เอ็นดอร์ฟินหลั่งมากขึ้นในน้ำไข-สันหลัง ความเจ็บปวดที่ไม่มากนักและ การกระตุ้นทางร่างกาย ๓๐ นาทีขึ้นไป จะทำให้ มีการหลั่งเอ็นดอร์ฟิน. Mechanism of action Runner's high [edit] Acupuncture In 1999, clinical researchers reported that inserting acupuncture needles into specific body points triggers the production of endorphins.[16][17] In another study, higher levels of endorphins were found in cerebrospinal fluid after patients underwent acupuncture.[18]. Endorphins may be released during low levels of pain and physical stimulation when it lasts over 30 minutes. Questions remain as to whether the prolonged low level of pain stimulation as in Capsaicin, acupuncture and running or physical activity alone are the threshold that activates endorphin release.

77 สารเคมีในสมอง/สารสื่อนำประสาท
๑. อะซิติลโคลีน เชื่อมต่อสัญญานประสาททุกระบบ/กล้ามเนื้อ. ๒. นอร์อิปิเนฟริน กระตุ้นความดัน ชีพจร และความตื่นตัว. ๓. โดปามีน ขาดเป็นพากินสัน. มากเกินไปเกิดอาการทางจิต(โรคจิต). ๔. กาบา ยับยั้งเซลล์สมอง ผ่อนคลาย ลดกังวล กระตุ้นการเจริญเติบโต. ๕. กลูตาเมต กระตุ้นเซลล์ประสาท. ๖. ซีโรโทนิน เปลี่ยนเป็นเมลลาโทนินทำให้หลับง่าย ตื่นตัว อยาก รับประทานอาหาร. ๗. เอ็นดอร์ฟิน ยับยั้งและบรรเทาความเจ็บปวด จิตใจผ่อนคลาย. Triangular-shaped glands located on top of the kidneys. They produce hormones such as cortisol, epinephrine (adrenalin), and norepinephrine, as well small amounts of estrogens and androgens.

78 การดูแลสารเคมีในสมอง ดูแลสมองให้สมบูรณ์ เพื่อเซ็ลล์ประ-
การจะดูแลสารเคมีในสมองต้อง ดูแลสมองให้สมบูรณ์ เพื่อเซ็ลล์ประ- สาทจะได้สร้างสารเคมีในสมองได้ดี. จึงต้องอาศัยอาหารที่จะเป็นประ- โยชน์ต่อสมองและร่างกาย และต้อง ออกกำลัง พักผ่อน อารมณ์ดี ไม่อ้วน จนนอนกรนเพราะจะทำให้สมองขาดอากาศ.


ดาวน์โหลด ppt สารสื่อนำกระแสประสาท

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google