ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยColleen Carroll ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชียงใหม่
2
เป้าหมายผลลัพธ์ ประชาชน / สถานการณ์ปัจจุบัน
กลุ่มมารดาและเด็ก เป้าหมายผลลัพธ์ ประชาชน / สถานการณ์ปัจจุบัน กราฟแสดงอัตรามารดาตาย ปี (≤ 20 ต่อแสนการเกิดมีชีพ) กราฟแสดงอัตราทารกตายปริกำเนิด ปี (≤ 9 ต่อพันการเกิดมีชีพ) กราฟแสดงอัตราภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ครั้งที่ 1 และ 2 ปี (<ร้อยละ 18) กราฟแสดงอัตราเด็กทารกแรกเกิดน้ำหนัก <2,500 g. ปี (<ร้อยละ 7)
3
เป้าหมายผลลัพธ์งาน 3 ปี ย้อนหลัง ปี 2558-2560
ประเด็น เป้าหมาย ผลลัพธ์ (ร้อยละ) ปี 58 ปี 59 ปี 60 Early ANC ≥ ร้อยละ 60 45.62 71.97 78.20 ฝากครรภ์คุณภาพครบ 5 ครั้ง 47.45 61.25 69.59 การคัดกรองความเสี่ยงและพบความเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ ≥ ร้อยละ 25 40.91 36.40 48.43 LR คุณภาพใน รพ. รพ. 24 แห่ง 12 แห่ง 15 แห่ง 20 แห่ง การดูแลหญิงหลังคลอดคุณภาพ (เยี่ยมหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์) ร้อยละ 65 32.07 66.03 72.78
4
Task 12 เดือน 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน
1. คณะทำงาน MCH Board ระดับอำเภอได้รับทราบนโยบายและแนวทางการดำเนินงานแม่และเด็ก ปี 2560 2. มีข้อมูลการวิเคราะห์สภาพปัญหาและจัดทำแผนการแก้ปัญหา ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ 1. นำเสนอแผนการดำเนินงานระดับอำเภอ 2. ปรับปรุงแนวทางการคัดกรองความเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์และการส่งต่อให้สอดคล้องกับปัญหา 3. ประชุม COP สูติแพทย์ เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 4. จัดทำแนวทางการดำเนินงาน ปี 2560 5. รพ.ทุกแห่งใช้ถุงตวงเลือดในหญิงคลอดทุกราย 6. ประเมินโรงพยาบาลมาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก 1. จัดตั้งคณะกรรมการจัดการความเสี่ยงและแก้ไขปัญหามารดาตาย และจัดทำแผนระดับอำเภอ 2. ซ้อมแผนภาวะวิกฤตห้องคลอดใน 25 อำเภอ 3. Conference case มารดาตายทุกcase 4. ประชุมวางแผนแก้ไขปัญหาในพื้นที่สูง และพื้นที่แนวชายแดน 5. พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการแก้ไขปัญหาพร้อมจัดทำแผนการดำเนินงาน ใน 9 อำเภอ 1. จัดทำแนวทางการดูแลหญิงหลังคลอดที่มีความเสี่ยง 2. จัดระบบการส่งต่อหญิงหลังคลอดที่มีความเสี่ยงระดับสถานบริการระดับอำเภอและตำบล 3. ประชุมเชิงปฏิบัติการการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด (เดือนสิงหาคม) 4. ประเมินตำบลพัฒนาการเด็กดีเริ่มที่นมแม่
5
ประเด็นปัญหาในเชิง Area ที่ยังพบ ประเด็นปัญหาในเชิงกลยุทธ์ /กระบวนการ
ตัวชี้วัด อัตรามารดาตาย ประเด็นปัญหาในเชิง Area ที่ยังพบ มารดาตาย รพ.แม่แตง 1 ราย ฆ่าตัวตาย รพ.เวียงแหง 1 ราย PPH รพ.ฝาง 1 ราย PIH รพ.ไชยปราการ 1 ราย PIH รพ.สะเมิง 1 ราย PIH รพ.นครพิงค์ 1 ราย PIH รพ.มหาราชนครเชียงใหม่ 1 ราย PPH การมุ่งเน้นแก้ปัญหาในพื้นที่มารดาตายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง ประเด็นปัญหาในเชิงกลยุทธ์ /กระบวนการ NO ANC ในพื้นที่ชายแดนและพื้นที่เข้าถึงยาก ทักษะของบุคลากรสาธารณสุขในการแก้ไขปัญหาภาวะวิกฤตในห้องคลอด การวินิจฉัยและการให้การรักษาที่ล่าช้า โดยเฉพาะ PIH ระบบการส่งต่อเพื่อดูแลหญิงตั้งครรภ์หลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยงระหว่างสถานบริการ ยังไม่มีประสิทธิภาพ
6
การวางแผนจัดการปัญหา Area การวางแผนจัดการปัญหาเชิงกลยุทธ์/กระบวนการ
ตัวชี้วัด อัตรามารดาตาย การวางแผนจัดการปัญหา Area การวางแผนจัดการปัญหาเชิงกลยุทธ์/กระบวนการ 1. การส่งต่อหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่มีความเสี่ยง 1.1 จัดทำแนวทางการดูแลหญิงหลังคลอดที่มีความเสี่ยง เช่น PPH , PIH และโรคทางอายุรกรรม 1.2 จัดระบบการส่งต่อหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่มีความเสี่ยง 1.3 จัดระบบ Fast track งานอนามัยแม่และเด็กใน รพ.แม่ข่าย 2. การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสาธารณสุขด้านสูติกรรม 2.1 จัดทำ standing order การตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง เช่น PPH , PIH 2.2 กำหนดให้รพ.ทุกแห่งซ้อมแผนภาวะวิกฤตในห้องคลอดอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2.3 การคัดกรองความเสี่ยงภาวะจิตใจและสังคมเพื่อเฝ้าระวังการฆ่าตัวตาย 3. พัฒนาโรงพยาบาลชุมชน ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก 3.1 มอบหมายให้รพ.แม่ข่ายเป็นพี่เลี้ยงในการพัฒนาให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 4. การกำกับติดตามการดำเนินงาน MCH ระดับอำเภอ 4.1 MCH ระดับโซนนิเทศติดตาม MCH ระดับอำเภอในเครือข่าย 4.2 MCH ระดับจังหวัดเยี่ยมเสริมพลัง และกำกับติดตามใน 25 อำเภอ 4.3 การประชุมวิเคราะห์สภาพปัญหาการดำเนินงานทุก 3 เดือน และติดตามการดำเนินงานในระดับ รพ.สต. 4.4 การคืนข้อมูลผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารระดับอำเภอทุก 2 เดือน
7
กลุ่มเด็กปฐมวัย เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข (Health ) กลไกการขับเคลื่อน
Head เก่ง กลุ่มเด็กปฐมวัย พัฒนาการเด็กปฐมวัย ตลอดช่วงชีวิต เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข (Health ) 1.ส่งเสริมการเกิดอย่างมีคุณภาพ (LBW≤ ร้อยละ7) 2.ส่งเสริมการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ (เด็ก0-5ปีสูงดีสมส่วนร้อยละ63) 3.ส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัยเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ85 HAND ใฝ่เรียนรู้มีทักษะ Heart ดีมีวินัย กลไกการขับเคลื่อน ระดับชาติ 1.คณะกรรมการพัฒนาการเด็กปฐมวัยแห่งชาติ 2.คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาการเด็กและเยาวชนแห่งชาติ ระดับจังหวัด คณะอนุกรรมการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัด ระดับอำเภอ 1.คณะอนุกรรมการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยระดับอำเภอ 2.คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต(DHB)
8
เป้าหมายผลลัพธ์ ประชาชน / สถานการณ์ปัจจุบัน
ตัวชี้วัด พัฒนาการสมวัย เป้าหมายผลลัพธ์ ประชาชน / สถานการณ์ปัจจุบัน เป้าหมายผลลัพธ์ งาน ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ( ประเมินครั้งที่ 1 ) ร้อยละ70 88.65 เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 ด. ได้รับการคัดกรองและพบสงสัยล่าช้า ร้อยละ 30 11.35 ครั้งที่ 2 ( รวมหลังกระตุ้น) > ร้อยละ85 94.27 เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 51 44.33 * ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี เด็กชาย 113 ซม. ซม. เด็กหญิง 112 ซม. 108 ซม. ประเด็น เป้าหมาย ผลลัพธ์ (9 เดือน) เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ได้รับการคัดกรอง ร้อยละ 80 76.86 เด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือน ที่พบสงสัยล่าช้า ได้รับการประเมินซ้ำภายใน 30 วัน ร้อยละ 90 67.20 ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 30 58.90
9
วิเคราะห์ปัญหา และจัดทำแผนการแก้ไขปัญหา
Task 12 เดือน 3 เดือน วิเคราะห์ปัญหา และจัดทำแผนการแก้ไขปัญหา การบันทึกข้อมูลในฐานข้อมูล 43 แฟ้มครบถ้วน ถูกต้อง การคัดกรองที่ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ การดำเนินงานโรงเรียนพ่อแม่ในห้องหลังคลอด 6 เดือน 1.จนท. รพ/รพสต.ได้รับ ความรู้และฝึกทักษะใน การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้ม และส่งข้อมูลใน HDC ทุกแห่ง 2. จนท.ได้รับการอบรม ความรู้และแนวทาง ปฏิบัติการดำเนินงาน โรงเรียนพ่อแม่ 3. มีการณรงค์คัดกรอง พัฒนาการเด็ก รอบที่ 1 เดือนมกราคม 2560 4. ภาคีเครือข่าย ( ศพด./ รร/อสมช ) ได้รับการ พัฒนาทักษะการคัดกรอง และเฝ้าระวังพัฒนาการ 9 เดือน 1. รพ. มีการดำเนินงานโรงเรียนพ่อแม่หลังคลอด ร้อยละ 50 2. รพ/รพสต. ได้รับการสุ่มติดตามการดำเนินงานพัฒนาการเด็กและบันทึกข้อมูล 43 แฟ้มโดยทีมนิเทศจังหวัด 3.มีการบูรณาการกับหน่วยงานอื่น พมจ. เหล่ากาชาด อปท. รพ.รัฐนอกสังกัด 4. สนับสนุนไวนิลการคัดกรองพัฒนาการ 4 ช่วงวัยให้สถานบริการทุกแห่งเพื่อเพิ่มคุณภาพการคัดกรอง 12 เดือน 1.จัดทำคู่มือการลงบันทึกข้อมูลพัฒนาการเด็ก 2. มีการณรงค์คัดกรองพัฒนาการเด็ก รอบที่ 2 เดือนกรกฎาคม 2560 3. วิเคราะห์ปัญหาจากการนิเทศติดตาม เพื่อวางแผนแก้ไขปัญหาต่อไป
10
ประเด็นปัญหาในเชิง Area ที่ยังพบ ประเด็นปัญหาในเชิงกลยุทธ์ /กระบวนการ
1. การตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กพบสมวัยสูง สันทราย แม่แจ่ม สะเมิง แม่ออน สารภี 2. การติดตามกระตุ้นพัฒนาการภายใน 30 วัน ผลงานยังต่ำ 1. แม่ออน พร้าว 37.12 2. อมก๋อย ไชยปราการ 3. ดอยเต่า ประเด็นปัญหาในเชิงกลยุทธ์ /กระบวนการ 1. เด็กที่คัดกรองพัฒนาการ พบว่าสงสัยล่าช้า มีการกระตุ้นเด็กให้ผ่านการประเมินในวันเดียวกัน และลงข้อมูลผลการตรวจเป็นสมวัยในครั้งแรกของการประเมิน 2. เด็กที่ไม่ให้ความร่วมมือในการประเมิน จะสอบถามข้อมูลจากผู้ปกครอง 3.การบูรณาการการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ได้แก่ พม. มหาดไทย(อปท.) กระทรวงศึกษาธิการ อสม.หน่วยงานอื่นๆ - ติดตามตัวเด็กไม่พบ - ย้ายตามบิดามารดา - ยากจนไม่มีค่ารถเดินทาง
11
การวางแผนจัดการปัญหา Area การวางแผนจัดการปัญหาเชิงกลยุทธ์/กระบวนการ
1. การบันทึกข้อมูลในฐาน 43 แฟ้ม จัดทำคู่มือการบันทึกข้อมูล พร้อมทั้งกำกับติดตามทุกเดือน 2. การพัฒนาศักยภาพของคณะทำงาน CPM ระดับอำเภอ กำหนดบทบาทและภารกิจของคณะทำงานที่ชัดเจน 3. ส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคัดกรองและกระตุ้นพัฒนาการเด็ก 1.ชี้แจงแนวทางดำเนินงาน และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย 2.จัดทำขั้นตอนการตรวจคัดกรองและการส่งต่อเด็กที่พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าในพื้นที่ห่างไกล 4. การกำกับติดตามการดำเนินงานของ CPM ระดับอำเภอ กำกับติดตามโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข / คืนข้อมูลผลการดำเนินงานเป็นรายเดือน มีการติดตามการดำเนินงานผ่านระบบ VDO Conference ทุกเดือน กำกับติดตามในการประชุม คพสจ. ทุก 2 เดือน การเยี่ยมเสริมพลังในระดับอำเภอ ปีละ 2 ครั้ง ตัวชี้วัด พัฒนาการสมวัย
12
สถานการณ์ 3 ปีงบประมาณ ปีฯ2557-2559 และ2560 (ตค. 59 - 15มิย
สถานการณ์ 3 ปีงบประมาณ ปีฯ และ2560 (ตค มิย.60) เด็กวัยเรียนอายุ ปี สูงดีสมส่วน เป้าหมาย >66% และภาวะเริ่มอ้วน+อ้วน เป้าหมาย<10% สถานการณ์ ปีงบประมาณ 2560 (ตค มิย.60) ส่วนสูงเฉลี่ย เด็กวัยเรียนอายุ 12 ปี : เป้าหมาย ชาย >154 ซม. และหญิง > 155 ซม. เป้าหมายผลลัพธ์ ปี 2560 แหล่งข้อมูล รง. HDC ณ 15 มิย ยกเว้นผลงาน ภาวะเริ่มอ้วน+อ้วน ปี ข้อมูลจากรง.วัยเรียน ณ 30 กย. 2559 ประเด็น เป้าหมาย ผลลัพธ์ 1.การคัดกรองภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน - ผอม (พบ 2,955 ราย) - เริ่มอ้วน ,อ้วน (พบ 9,009 ราย) - เตี้ย (พบ 7,055 ราย) 2. ส่งต่อ และจัดการแก้ไขปัญหา - เด็กเริ่มอ้วน+อ้วน ส่งต่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยง obesity signs - นร.กลุ่ม obesity (โรคอ้วน) รักษาโดยแพทย์ กุมารแพทย์ และSP-สาขาโรคไม่ติดต่อ - นร.ผอม, เตี้ย, เริ่มอ้วน อ้วนกลุ่มเสี่ยง รับการส่งเสริมโภชนาการ ออกกำลังกาย โดย รพ./รพ.สต.และโรงเรียน >66 % < 5 % <10 % < 10 % ทุกราย 60.67% 3.95% 12.03% 9.42% 100%(9,009คน) 100%(248 คน) 19,019คน
13
ผลงานการบันทึกข้อมูลน้อย
ผลงาน ปี 2560 แผนภูมิ ภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน > ร้อยละ 66 จังหวัดเชียงใหม่ ผลงานการบันทึกข้อมูลน้อย แผนภูมิ ภาวะโภชนาการเด็กอายุ 6-14 ปี จังหวัดเชียงใหม่ เกณฑ์: เริ่มอ้วนและอ้วน < 10 %
14
การวางแผนจัดการปัญหา Area การวางแผนจัดการปัญหาเชิงกลยุทธ์/กระบวนการ
ประเด็นปัญหาในเชิงกลยุทธ์ /กระบวนการ ปัญหา นร.สูงดีสมส่วนอยู่ในเกณฑ์ต่ำกว่าเป้าหมาย กสธ. นักเรียนมีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วนเพิ่มขึ้น 1.สูงดีสมส่วน ร้อยละ ผลงานต่ำกว่าเกณฑ์ 66 % จำนวน 21อำเภอ 2. ภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ผลงานร้อยละ ไม่ผ่านเกณฑ์ < 10% อำเภอที่ผ่านเกณฑ์ 6 อำเภอ และ 19 อำเภอไม่ผ่านเกณฑ์ ด้านระบบข้อมูล 1.ปัญหาประสิทธิภาพ(ถูกต้อง ครบถ้วน ตรงเวลา)การบันทึกข้อมูลภาวะโภชนาการและไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย 2.ทักษะจนท.สาธารณสุข และบุคลากรครู ในเรื่องคุณภาพการชั่ง นน. วัดสส. 3.ร้านค้าใน/หน้า และรอบๆโรงเรียน มีอาหารที่ไม่เหมาะกับสุขภาพ การวางแผนจัดการปัญหา Area การวางแผนจัดการปัญหาเชิงกลยุทธ์/กระบวนการ 1.การกำกับติดตาม PM ระดับอำเภอไปยัง รพ.สต. ในเรื่องทักษะ คุณภาพการคัดกรอง และประสิทธิภาพการบันทึกข้อมูลภาวะโภชนาการ (ถูกต้อง ครบถ้วน ตรงเวลา) 2. บูรณาการระบบการจัดการเด็กเริ่มอ้วน อ้วน โดยภาคีเครือข่าย 3.พัฒนาคลินิก DPAC กลยุทธ์/กระบวนการจังหวัด/อำเภอ 1. จัดทำฐานข้อมูลโรงเรียน นร. รายคน แยกสัญชาติไทย-ต่างด้าว แสดงข้อมูลให้พื้นที่ติดตามชั่งนน./วัด สส. 2.ประสานความร่วมมือแก้ไขปัญหา, การจัดกิจกรรมเสริมสุขภาพทางกาย และโภชนาการในนักเรียน - ปรับปรุง(review) คณะทำงานความร่วมมือระดับจังหวัด/อำเภอ คัดแยกข้อมูลเป้าหมาย แก้ไขปัญหา - บูรณาการทุกฝ่าย องค์กร หน่วยงาน ร่วมกันจัดการระหว่างโรงเรียน ครู ผู้ปกครอง นร. และชุมชน - ตรวจเยี่ยมการแก้ไขปัญหาที่ต่อเนื่อง 3. พัฒนาบริการคลินิก DPAC รองรับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง และสร้างเสริมด้านโภชนาการ และการเคลื่อนไหวร่างกาย - ในรายที่เป็นโรคอ้วน(Obesity ส่งกลับระบบ PCC (คืนข้อมูล) และติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง ทั้งที่โรงเรียน และครอบครัว
15
กลุ่มวัยรุ่น สถานการณ์ปัจจุบัน
แผนภูมิ : อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี จังหวัดเชียงใหม่ แผนภูมิ : อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ 15-19ปี จังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ ร้อยละ เกณฑ์ : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19ปี ไม่เกิน 42 ต่อพันประชากร เกณฑ์ : อัตราการการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ 15-19ปี ไม่เกินร้อยละ 10
16
เป้าหมายผลลัพธ์ ประชาชน / สถานการณ์ปัจจุบัน
ตัวชี้วัด วัยรุ่น เป้าหมายผลลัพธ์ ประชาชน / สถานการณ์ปัจจุบัน เป้าหมายผลลัพธ์ งาน ตัวชี้วัด ในหญิงอายุ 15-19ปี เป้าหมาย ผลงาน (ร้อยละ) อัตราคลอดมีชีพ อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำ ไม่เกิน 42 ต่อพัน ไม่เกินร้อยละ 10 14.01 (562 ราย) 18.20 (154คน) -ในระบบ รร. 67 คน (ร้อยละ 43.5) -นอกระบบ รร.87 คน (ร้อยละ56.5) ประเด็น เป้าหมาย ผลลัพธ์ 1. อัตราการคุมกำเนิด Modern Method 2.การจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและ เยาวชน YFHS 3.การดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ RHD 100 % 20.57% 79.1% (19 รพ.) 52% (13 อำเภอ) Task 12 เดือน 3 6 9 12 1.สถานบริการได้รับทราบนโยบายและแนวทางการดำเนินงานวัยรุ่น ปี 2560 2. มีข้อมูลรายงานวัยรุ่นอายุ15-19 ปี ที่ส่งรายงานเป็นเอกสาร โดยจำแนก เชื้อชาติ เป็นชาติพันธุ์ หรือคนไทยพื้นราบ เป็นกลุ่มในระบบโรงเรียน หรือนอกระบบฯ 3.ประชุม วิเคราะห์ วางแผน /โครงการ /ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน แจ้งกำหนดระยะเวลา ติดตามผลงาน 1.มีสภาพปัญหาที่ทำให้การบันทึกข้อมูลวัยรุ่นในฐานข้อมูล 43แฟ้ม ปัญหาการรวบรวมข้อมูล ที่ไม่มีครอบคลุม เนื่องจากเจ้าหน้าที่ไม่ได้ตรวจสอบการลงข้อมูลภายหลังการบันทึกฯ 2.ภาคีเครือข่ายชุมชนร่วมจัดทำแนวทางการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 3.จัดส่งแผนการดำเนินงานตามแนวทางการดำเนินงาน ฯ 4.มี Teen manager และแต่งตั้งคณะทำงานระดับอำเภอ 1.สถานบริการสาธารณสุขได้รับการติดตามรายงาน ในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม /HDC ทุกเดือน 2.รพท/รพช./สสอ.ได้รับการติดตามการดำเนินงานคลินิกวัยรุ่น และการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ โดยทีมคณะทำงาน TM ระดับอำเภอ /ระดับจังหวัด 3. ติดตามการดำเนินงานตามตัวชี้วัด โดยทีมนิเทศระดับจังหวัด 4. ติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานอำเภอ/โครงการระดับอำเภอ 1.ส่งสรุปผลการดำเนินงานตามแผนงาน/แนวทางการดำเนินงานวัยรุ่น 2.ส่งสรุปรายงานวัยรุ่น ที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 3.อัตราการคุมกำเนิด ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย เพิ่มมากขึ้น 4.กลุ่มเยาวชนเข้าถึงระบบบริการและมีการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในชุมชน 5.คณะอนุกรรมการระดับจังหวัด และคณะทำงานระดับอำเภอ ได้ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน
17
ประเด็นปัญหาในเชิง Area ที่ยังพบ ประเด็นปัญหาในเชิงกลยุทธ์ /กระบวนการ
ตัวชี้วัด วัยรุ่น ประเด็นปัญหาในเชิง Area ที่ยังพบ ประเด็นปัญหาในเชิงกลยุทธ์ /กระบวนการ 1. อัตราคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี ในบางอำเภอค่อนข้างสูง - อำเภอแม่วาง อัตราคลอด 38.32 - อำเภออมก๋อย อัตราคลอด 28.09 จากข้อมูลพบว่า พื้นที่เหล่านี้ มีชนเผ่าและชาติพันธุ์และมีความพร้อมในการมีบุตร 2. อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี เกินตัวชี้วัด อำเภอแม่ออน อัตราตั้งครรภ์ซ้ำ ร้อยละ 50 วิเคราะห์ข้อมูลพบว่าเป็นคนไทยพื้นราบ ที่อยู่ในระบบโรงเรียน อำเภอเวียงแหง อัตราตั้งครรภ์ซ้ำ ร้อยละ 44.44 วิเคราะห์ข้อมูลพบว่า เป็นคนชาติพันธุ์ ไม่ได้อยู่ในระบบโรงเรียน กระบวนการในระบบบริการสาธารณสุขในพื้นที่ 1.จัดทำแผนร่วมกันระหว่าง แผนกให้บริการในสถานบริการ ได้แก่ ANC / ห้องคลอด หลังคลอด / รพสต. / อสม. /อปท. เพื่อดำเนินการตามแนวทางการดำเนินงานวัยรุ่น ระดับอำเภอ 2.เชื่อมโยงระบบให้คำปรึกษา ในทุกแผนกบริการในสถานบริการฯ 3.เชื่อมโยงระบบส่งต่อ ระบบติดตามในชุมชน 4.กำหนดมาตรการคุมกำเนิดให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย มีการลงรายงานครบถ้วน กระบวนการในชุมชน /โรงเรียน /ภาคีที่เกี่ยวข้อง 1.จัดทำแผนบริการวัยรุ่นเชิงรุกร่วมกับโรงเรียน เชื่อมโยงกับระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนในโรงเรียน 2.จัดทำแผนเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง ร่วมกันกับภาคีที่เกี่ยวข้องในชุมชน 3.จัดกระบวนการเข้าถึงกลุ่มหมายชาติพันธุ์ โดยการทำความเข้าใจกับผู้นำชุมชน หรือ ผู้มีอิทธิพลทางความเชื่อวัฒนธรรมชนเผ่า เพื่อชี้ให้เห็นถึงผลกระทบของการมีบุตร เมื่ออายุยังน้อยเกินไป และความเสี่ยงที่มีผลต่อ แม่/ลูก/เศรษฐกิจ กรณีการที่มีบุตร ในเวลาที่ถี่เกินไป
18
การวางแผนจัดการปัญหา Area การวางแผนจัดการปัญหาเชิงกลยุทธ์/กระบวนการ
ตัวชี้วัด วัยรุ่น การวางแผนจัดการปัญหา Area การวางแผนจัดการปัญหาเชิงกลยุทธ์/กระบวนการ จัดระบบกำกับ ติดตาม และการตรวจเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ 1. อำเภอที่มีอัตราการตั้งครรภ์ซ้ำเกินตัวชี้วัด 2. อำเภอที่มีอัตราคลอดค่อนข้างสูง 3. อำเภอที่มีการคุมกำเนิดไม่ถึงเป้าหมาย ระบบการติดตามในระดับจังหวัด : วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ สรุปรายงาน ในระบบรายงาน ให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน : คัดกรองกลุ่มเสี่ยง ร่วมกับภาคีเครือข่ายในชุมชน : พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ ในการให้คำปรึกษาเพศศึกษารอบด้าน : พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตร คลินิกวัยรุ่นให้มีคุณภาพ : จัดบริการเชิงรุก ที่เหมาะสมให้กับกลุ่มวัยรุ่นเป้าหมาย ระบบการติดตามงานในระดับอำเภอ : รพ.ร่วมกับสสอ. มีมาตรฐานการป้องกันและแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์ ในวัยรุ่น โดยดำเนินงานร่วมกัน และประชุมสรุปผลการทำงาน : มีระบบติดตามผลการรายงานข้อมูล อัตราคลอด อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำ อัตราการคุมกำเนิด ในระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม และตรวจสอบกับข้อมูลรายงานระบบ HDC ที่ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน
19
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ KPI = ค่า BMI ปกติ ร้อยละ ๕๔
ปัญหา/อุปสรรค ๑. นโยบายผู้บริหารและการสนับสนุน งบประมาณ อุปกรณ์ สถานที่ ๒. บุคลากรมีจำกัด ๓. ประชาชนยังไม่มีความตระหนัก 4.ความร่วมมือเครือข่ายยังน้อย/ไม่ตระหนัก
20
ผลการดำเนินงาน DPAC ปี 2560 ฝาง ฮอด ไชยปราการ เวียงแหง
รพ.ระดับดีเยี่ยม ไม่มี รพ.ที่ยังไม่มีรายงาน นครพิงค์ แม่อาย สันทราย แม่แตง สะเมิง วัดจันทร์ สันป่าตอง หางดง ดอยสะเก็ด สารภี สันกำแพง แม่ออน จอมทอง ดอยหล่อ อมก๋อย เทพรัตน์ฯ ดอยเต่า รพ.ระดับดีมาก แม่วาง เชียงดาว รพ.ระดับดี พร้าว รพ.ระดับปรับปรุง ฝาง ฮอด ไชยปราการ เวียงแหง
21
มาตรการระดับจังหวัด ประชุมชี้แจงนโยบายและจัดทำแผนแนวทางการดำเนินงานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ฟื้นฟูความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การถอดบทเรียน การนำเสนอกระบวนการ/นวัตกรรม ต้นแบบการดำเนินการDPAC การนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานตาม TASK มาตรการในพื้นที่ มีแนวทางการดำเนินงานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างเป็นรูปธรรม มี SOP ในการปฏิบัติงาน และTASK กำกับการดำเนินงานทุกไตรมาส มีเครือข่ายการทำงานแบบบูรณาการทั้งภายในและภายนอก ใน รพ.มีการบูรณาการ ร่วมกันระหว่าง NCD Clinic คลินิกบริการผู้สูงอายุ และDPAC ในรพ.สต.มีการดำเนินงานในชุมชน เน้นชมรมด้านสุขภาพต่างๆ และโรงเรียน
22
ผู้สูงอายุเป็นหลักชัยของสังคม กลุ่มผู้สูงอายุ
Social มีส่วนร่วมในสังคม Strong สุขภาพแข็งแรง Security มั่นคงปลอดภัย 1.ส่งเสริมพัฒนาชมรมผู้สูงอายุคุณภาพผ่านกลไกองค์กรชุมชนและศาสนา 2.ส่งเสริมพื้นที่ต้นแบบบูรณาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ (ศพอส.) 1.ส่งเสริมสนับสนุนการประกันรายได้ผู้สูงอายุ(60-69ปี) 2.ส่งเสริมพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุAged Friendly Cities 3.ส่งเสริมสนับสนุนผู้สูงอายุเข้าถึงระบบบริการทางสังคม กลไกการขับเคลื่อน ระดับชาติ คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ระดับจังหวัด คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจังหวัด ระดับอำเภอ คณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุอำเภอ ระดับตำบล คณะอนุกรรมการสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุแห่งชาติ(ประชารัฐ) คณะอนุกรรมการดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิงระยะยาว LTC
23
Strong สุขภาพแข็งแรง 1.ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ - Healthy Aging เพิ่มขึ้น (Smart walk/Smart eat/Smart sleep /Smart brain) ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย 2.พัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุ - จัดตั้งคลินิก/หน่วยบริการผู้สูงอายุคุณภาพในรพ.120 เตียง ร้อยละ รพช.ร้อยละ30 - รพ.สต.มีการบริการสุขภาพผู้สูงอายุในระดับปฐมภูมิ ร้อยละ 50 3.พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว - ตำบลมีระบบ LTC ในชุมชนมีคุณภาพผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 50
24
ตำบลLTCผ่านเกณฑ์คุณภาพ เป้าหมายผลลัพธ์ ประชาชน / สถานการณ์ปัจจุบัน
ประเด็น เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลลัพธ์ 1.มีระบบการประเมินคัดกรองปัญหาสุขภาพและมีข้อมูลผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือระยะยาว (ร้อยละ 80) 2. มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 3. - care manager ตำบลเป้าหมายได้รับการอบรม - มี care Giver ผู้สูงอายุพึ่งพิงในตำบลเป้าหมาย 4. มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ(Home Health Care)จากสถานบริการสู่ชุมชน โดยบุคลากรสาธารณสุขและทีมสหวิชาชีพ 5. มีบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพระดับตำบลผ่านเกณฑ์ 6. มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ ติดบ้านติดเตียงโดยท้องถิ่นและชุมชนมีส่วนร่วมและมีแผนการดูแลรายบุคคล (Care plan) 7. มีคณะกรรมการบริหารจัดการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน หรือคณะกรรมการกองทุนตำบล 50 100 59.18 96.93 91.83 77.55 ตัวชี้วัด เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลงาน ร้อยละตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ 50 59.18 ผลงาน (Task ) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.พื้นที่เป้าหมาย ปี 2560 อบรม care manager จำนวน 65 คน + พื้นที่ปี 2559 อบรมทดแทนเจ้าหน้าที่ที่ย้าย 1 คน 2.จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานให้กับตำบลเป้าหมาย,อปท พื้นที่เป้าหมาย ปี 2560อบรม Care Giver จำนวน 530 คน (60 แห่ง) จัดทำ care plan - ตำบลเป้าหมายปี จำนวน 982 ฉบับ - ตำบลเป้าหมายปี จำนวน ฉบับ จัดประชุมติดตามการดำเนินงาน 25 อำเภอ 1.พื้นที่เป้าหมาย ปี 2559 1.1 เสนอ Care Plan ต่อคณะอนุกรรมการ 30 แห่ง 1.2 มีการเบิกจ่ายงบประมาณในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง แห่ง 2. พื้นที่เป้าหมาย ปี 2560 2.1 เสนอ Care Plan ต่อคณะอนุกรรมการ 4 แห่ง 2.2 มีการเบิกจ่ายงบประมาณในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 4 แห่ง 3. จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับ Zone เรื่องการทำ Care Plan,การเบิกจ่ายงบประมาณ,การจัดตั้งศูนย์ พื้นที่เป้าหมาย ปี 2559 แผนการดำเนินงาน 1. จัดประชุมร่วมกับ สปสช. แลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับพื้นที่ที่ยังไม่ได้ดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณและไปศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ดำเนินงานสำเร็จ(ก.ค.60) 2. ลงเยี่ยมพื้นที่ที่ยังมีปัญหา (ก.ค.-ส.ค.60) 3.ร่วมจัดทำ Care Plan โดย Care Managerของโรงพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล,ทีมสหสาขาวิชาชีพ,ทีมหมอครอบครัว (ก.ค.60)
25
ตัวชี้วัดตำบลLTCผ่านเกณฑ์คุณภาพ
ประเด็นปัญหาในเชิง Area ที่ยังพบ ประเด็นปัญหาในเชิงกลยุทธ์ /กระบวนการ 1. จัดทำ Care Plan ไม่ครบตามจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ร่วมจัดทำ Care Plan โดย Care Manager โรงพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล, ทีมสหสาขาวิชาชีพ,ทีมหมอครอบครัวได้ 2. การเบิกจ่ายงบประมาณจากงบประมาณกองทุน - อำเภอสันทราย, สะเมิง, ดอยเต่า, เวียงแหง, ไชยปราการ จัดประชุมร่วมกับ สปสช. แลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับพื้นที่ ที่ยังไม่ได้ดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณและไปศึกษาดู งานในพื้นที่ที่ดำเนินงานสำเร็จ ลงเยี่ยมพื้นที่ที่ยังมีปัญหา 3. ชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) - ปี 2559 ตำบลนำร่อง 30 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 26 แห่ง ร้อยละ 86.66 - ปี 2560 ตำบลนำร่อง 66 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 32 แห่ง ร้อยละ 48.48 หาข้อตกลงร่วมกันระหว่างสาขาสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทยและท้องถิ่นในการดำเนินการเพื่อให้เกิดความยั่งยืนของชมรม 4. บริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพระดับตำบล ไมผ่านเกณฑ์ในเรื่องการบันทึกข้อมูล - อำเภอจอมทอง,ดอยเต่า,พร้าว,แม่วาง,แม่อาย,เวียงแหง กำกับติดตามการลงข้อมูลในเวปไซท์ฟันเทียมฯ และ การลงข้อมูล HDC
26
4 แห่ง( รพ.นครพิงค์อยู่ระหว่างปรับปรุงห้อง)
ตัวชี้วัดHealthy Ageing เป้าหมายผลลัพธ์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน (ร้อยละ) ร้อยละของ Healthy Ageing เพิ่มขึ้น ประชากรผู้สูงอายุ ปี 2558 ร้อยละ ปี 2559 ร้อยละ17.33 ปี 2560 ร้อยละ19.92 กลุ่ม Independent ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ประเด็น เป้าหมาย ผลลัพธ์ การคัดกรอง ADL ร้อยละ 80 ร้อยละ 81.88 ชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์คุณภาพ ( ตำบลโครงการพึ่งพิงฯ 98ชมรม) ร้อยละ 50 ร้อยละ (60 ชมรม) รพ.มีการดำเนินงานคลินิกผู้สูงอายุ 24 แห่ง 17 แห่ง * รพ. 120 เตียงขึ้นไป ( ระดับ A/M1/M2 ) 5 แห่ง 4 แห่ง( รพ.นครพิงค์อยู่ระหว่างปรับปรุงห้อง) * รพ. ระดับ F1-F3 19 แห่ง 13 แห่ง
27
ประเด็นปัญหาในเชิง Area ที่ยังพบ ประเด็นปัญหาในเชิงกลยุทธ์ /กระบวนการ
ตัวชี้วัด Healthy Ageing ประเด็นปัญหาในเชิง Area ที่ยังพบ ประเด็นปัญหาในเชิงกลยุทธ์ /กระบวนการ 1. การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุและการบันทึกข้อมูลใน HDC จนท.ขาดความเข้าใจกระบวนการค้นหา/คัดกรอง/บันทึกข้อมูลในโปรแกรม HDC - แบบรายงานคัดกรองบูรณาการ 10 เรื่อง มีรายละเอียดมาก ใช้เวลานาน อสม. ขาดทักษะในการคัดกรอง 2. ชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์การประเมินน้อย - มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนในการแต่งตั้งชมรมผู้สูงอายุ ( สภาผู้สูงอายุ และ อปท.) จึงไม่ได้รับการสนับสนุนจาก อปท. - การรวมกลุ่มผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมมีน้อย ( ตำบล/หมู่บ้าน มีความแตกต่างของบริบท มี สภาพภูมิประเทศ การปกครองวัฒนธรรม และการเข้าถึงชุมชนที่ เป็นบ้านจัดสรรเป็นไปได้ยากโดยเฉพาะในเขตเมืองและรอบเมือง 3. คลินิกผู้สูงอายุยังไม่ครบทุกโรงพยาบาล ขาดการบูรณาการดำเนินงานร่วมกันระหว่างแผนกต่างๆ และทีมสหวิชาชีพ ในโรงพยาบาล
28
การวางแผนจัดการปัญหา Area การวางแผนจัดการปัญหาเชิงกลยุทธ์/กระบวนการ
ตัวชี้วัด Healthy Ageing การวางแผนจัดการปัญหา Area การวางแผนจัดการปัญหาเชิงกลยุทธ์/กระบวนการ 1. พัฒนาระบบการคัดกรอง ระบบข้อมูลและรายงาน 1. จัดทำแบบฟอร์มการคัดกรองให้ง่ายและสะดวกในการใช้งาน และสอดคล้องกับฐานข้อมูลใน HDC 2. พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่ รพสต./ อสม. ในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 3. พัฒนาทักษะผู้บันทึกข้อมูลใน HDC 2. จัดให้มีคลินิกผู้สูงอายุในสถานบริการสาธารณสุข 1. จัดทำโครงสร้างคณะกรรมการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุระดับจังหวัดและระดับอำเภอ ประกอบด้วยทีมสหวิชาชีพ และ SP สาขาที่เกี่ยวข้อง 2. มีการบูรณาการและประสานการดำเนินงานผู้สูงอายุในคลินิกต่างๆ ของโรงพยาบาล เช่น คลินิก NCD คลินิก PDAC และคลินิกโรคเรื้อรังอื่นๆ 3. มีการให้บริการสุขภาพผู้สูงอายุในระดับ PCC และ ปฐมภูมิ เชื่อมโยง ประสานและส่งต่อโรงพยาบาล
29
การวางแผนจัดการปัญหา Area การวางแผนจัดการปัญหาเชิงกลยุทธ์/กระบวนการ
ตัวชี้วัด Healthy Ageing การวางแผนจัดการปัญหา Area การวางแผนจัดการปัญหาเชิงกลยุทธ์/กระบวนการ 3. การประสานภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานผู้สูงอายุ 1. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานและเลขานุการร่วม 4 หน่วยงาน ( ท้องถิ่นจังหวัด พม. สธ. ศธ.) และอนุกรรมการฯระดับอำเภอ โดยมี นอภ.เป็นประธาน เชื่อมโยงกับ DHS 2. บูรณาการร่วมกันระหว่าง 4 หน่วยงานหลัก โดยประสานกับ อปท. และ พม.ในการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุและศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เพื่อให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ
30
งานคนพิการ ตัวชี้วัด : คนพิการเข้าถึงบริการสุขภาพ ร้อยละ 80
สถานการณ์ปัจจุบัน คนพิการจังหวัดเชียงใหม่เข้าถึงบริการสุขภาพ จำนวนคนพิการทั้งหมด 46,833 คน เข้าถึงบริการสุขภาพ 34,791 คน คิดเป็นร้อยละ 74.29 การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพของผู้พิการจังหวัดเชียงใหม่ ร้อยละ
31
GAP:งานคนพิการ ฐานข้อมูลงานคนพิการในโปรแกรม 43 แฟ้ม (Host-xp , Host-os,Jhcis) ได้ Upload ข้อมูลคน พิการจากฐานข้อมูลของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ส่งผลให้ จำนวนคนพิการเพิ่มขึ้นจากเดิม 27,988 คน เป็น 46,833 คน คิดเป็นร้อยละ 2.70 ของประชากร จังหวัดเชียงใหม่ (1,735,762 คน) หน่วยบริการยังไม่มีส่วนร่วมกับท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย/ขาดเป้าหมายร่วม/ต่าง หน่วยงานต่างทำ/บางงานซ้ำซ้อน/ไม่บูรณาการงาน อสม./เครือข่ายคนพิการบางพื้นที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงาน ขาดการจัดการความรู้จากบทเรียนและประสบการณ์ทำงานในพื้นที่ ฐานข้อมูลคนพิการใน 43 แฟ้มยังไม่ตอบสนองตามความต้องการของหน่วยบริการ/ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลยังไม่เข้าใจการบันทึกข้อมูลงานคนพิการ ฐานข้อมูล CMBIS ข้อมูลงานคนพิการอยู่ระหว่างการปรับปรุง
32
มาตรการระดับจังหวัด พัฒนาระบบบริการสุขภาพคนพิการ เพื่อให้คนพิการทุกประเภทสามารถเข้าถึงได้ ส่งเสริมให้คนพิการ ครอบครัว บุคลากรทางการแพทย์ เข้าใจสิทธิประโยชน์และการเข้าถึงการดูแลสุขภาพ พัฒนาสภาพนวัตกรรม เทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารคนพิการในหน่วยบริการสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่ เช่น จัดทำคู่มือการดูแลสุขภาพคนพิการสำหรับประชาชน พัฒนางานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรมด้านสุขภาพคนพิการ ส่งเสริมให้หน่วยบริการสุขภาพดำเนินงานด้านการดูแลสุขภาพคนพิการและป้องกันความพิการกับุชุมชนอย่างมีส่วนร่วม
33
มาตรการระดับพื้นที่ พัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานคนพิการให้มีความรู้ทักษะ ความสามารถในด้านการดูแลสุขภาพคนพิการและป้องกันความพิการ การบูรณาการแผนปฏิบัติการด้านคนพิการร่วมกับแผนการจัดระบบบริการสุขภาพ เพื่อดูแลสุขภาพคนพิการ โดยการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน จัดให้มีบริการด้านสุขภาพสำหรับคนพิการในหน่วยบริการสุขภาพทุกระดับ เพื่อให้คนพิการสามารถเข้าถึง พัฒนาระบบบริการสุขภาพ เพื่อให้คนพิการทุกประเภทสามารถเข้าถึงได้ (ค้นหารายใหม่ ดูแลรักษา ส่งต่อ ลงทะเบียน เยี่ยมติดตาม) การส่งเสริมให้คนพิการ ครอบครัว ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจสิทธิ ประโยชน์และเข้าถึงการดูแลสุขภาพ การพัฒนาสภาพแวดล้อม เทคโนโลยี สิ่งอำนวยความสะดวก นวัตกรรม และข้อมูลข่าวสารในหน่วยบริการ เช่น จัดทำและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ/ป้องกันความพิการในแต่ละประเภท ให้คนพิการทุกประเภทสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ หน่วยบริการดำเนินงานสุขภาพคนพิการและป้องกันความพิการกับุชุมชนอย่างมีส่วนร่วม
35
มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก
36
ผลการดำเนินงานตาม Essential Task 9 เดือน
สุขภาพจิต อัตราการฆ่าตัวตายไม่เกิน 6.3 ต่อประชากรแสนคนหรือลดลงร้อยละ 5จากปีที่ผ่านมา สถานการณ์ ปี 2560 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ ปี 2560 จำนวน 112 คนอัตรา ต่อประชากรแสนคน สาเหตุของการฆ่าตัวตาย 3 อันดับแรกคือใน กลุ่มสุรา ยาเสพติด ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และขัดแย้งกับคนใกล้ชิด Essential Task ผลการดำเนินงานตาม Essential Task 9 เดือน 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากรของสถานบริการแต่ละระดับในการรวมรวมและบันทึกข้อมูลการเข้าถึงบริการโรคจิต ในฐานข้อมูล 43 แฟ้ม มีการทบทวนและวิเคราะห์ข้อมูลการเข้าถึงบริการร่วมกับงาน IT สสจ. ปัญหาการใช้รหัสในการKey ข้อมูลจากระบบ 43 แฟ้ม การคำนวณการเข้าถึงบริการจากประชากรประจำปีและชี้แจงให้กับผู้รับผิดชอบงานเพื่อทราบพัฒนาการให้มีหัวข้องานสุขภาพจิตในระบบCMBIZ 2. การคัดกรองภาวะซึมเศร้าในกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/กลุ่มติดสุรา ยาเสพติด/ ผู้ป่วยจิตเวช )ได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ทุก3เดือนและบันทึกในแฟ้มฐานข้อมูล 43 แฟ้ม มีแบบรายงานและได้รับข้อมูลรายงานการการคัดกรองภาวะซึมเศร้าในกลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย (กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/กลุ่มติดสุรา ยาเสพติด / ผู้ป่วยจิตเวช ) เป็นข้อมูลจากการเก็บแบบรายงานการคัดกรองและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ในกลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่มโรคNCD ร้อยละ72 จิตเวช ร้อยละ 87 สุราร้อยละ97 3. ผู้ที่เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ 1. มีแนวทางการป้องกันการแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตาย การเยี่ยมบ้าน และการส่งต่อ 2.กลุ่มเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายได้รับการเยี่ยมบ้าน ข้อมูลการเยี่ยมบ้าน NCD ร้อยละ 18 จิตเวช และสุรา ยาเสพติด ร้อยละ 23 ผู้ที่พยายามฆ่าตัวตาย ร้อยละ 73 4. เตรียมความพร้อมทีมวิกฤตสุขภาพจิต 1. มีการเตรียมความพร้อมของทีมMCATT และเข้าร่วมซ้อมแผนร่วมกับทีม ICSเหตุการณ์ซ้อมแผนแผ่นดินไหวที่อำเภอจอมทอง เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2560 2. ทีมMCATTปฏิบัติหน้าที่ร่วมกับทีมICSทุกอำเภอ เมื่อเกิดภัยพิบัติต่างๆ
37
ผลการดำเนินการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย มิถุนายน 2559
ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต การคาดประมาณจากการคำนวณผู้ป่วยโรคซึมเศร้า เท่ากับอัตราความชุกภาคเหนือ = 2.3 * จำนวนประชากรประจำปี2558 อายุ 15 ปีขึ้นไป /100 ประชากรประจำปี 2558 อายุ15 ปีขึ้นไป = 1,324,540 คน การเข้าถึงบริการสะสมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 เป้ามาย = 30,464 คน - เข้าถึงบริการสะสม 15,724 คน - ร้อยละ 51.61 ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเข้าถึงบริการสุขภาพจิต การคาดประมาณจากการคำนวณผู้ป่วยโรคจิต เท่ากับอัตราความชุกภาคเหนือ = 0.8 หาร * จำนวนประชากรประจำปี2558 อายุ 15 ปีขึ้นไป /100 ประชากรประจำปี 2558 อายุ15 ปีขึ้นไป = 1,324,540 คน การเข้าถึงบริการสะสมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 65 เป้าหมาย = 10,596 คน -เข้าถึงบริการสะสม 8,107 คน - ร้อยละ 77 ร้อยละของผู้ป่วยโรคสุราเข้าถึงบริการสุขภาพจิต การคาดประมาณจากการคำนวณผู้ป่วยโรคซึมเศร้า เท่ากับอัตราความชุกภาคเหนือ = * จำนวนประชากรประจำปี2558 อายุ 15 ปีขึ้นไป /100 ประชากรประจำปี 2558 อายุ15 ปีขึ้นไป = 1,324,540 คน การเข้าถึงบริการสะสมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 เป้ามาย = 144,375 คน - เข้าถึงบริการสะสม 20,364 คน - ร้อยละ 14.10 การคัดกรองและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ในกลุ่มเสี่ยง 3 กลุ่มโรค NCD 170,456 จิตเวช 17,565 สุรา 12,935 คัดกรอง NCD 122,979 ร้อยละ 72 คัดกรอง จิตเวช 15,290 ร้อยละ 87 คัดกรอง สุรา 12, ร้อยละ 97 ปัญหาที่พบ โอกาสพัฒนา 1. การคัดกรองในคลินิกบางหน่วยบริการยังไม่ครบทุกคลินิก - เน้นการคัดกรองโรคซึมเศร้าในทุกคลินิกและทุกครั้งในผู้ที่มารับบริการในสถานพยาบาลทั้ง รพ.สต.และ รพ ให้มากขึ้น - วิเคราะห์หาแนวทางร่วมกันในการแก้ไขปัญหา/ติดตามระบบรายงาน และส่งข้อมูลกลับให้จังหวัด ทุก 3 เดือน 2.การเยี่ยมบ้านยังไม่ครอบคลุมกลุ่มเสี่ยง - ประสานให้มีการเยี่ยมบ้านงานสุขภาพจิตกับงานเยี่ยมบ้าน งาน COC ให้มีคัดกรองโรคซึมเศร้าให้มีความความครอบคลุมในกลุ่มที่ผู้ป่วยที่ออกเยี่ยมบ้าน ให้มากขึ้น - วิเคราะห์หาแนวทางร่วมกันในการแก้ไขปัญหา ติดตามระบบรายงาน และส่งข้อมูลกลับให้จังหวัด ทุก 3 เดือน 3.ระบบข้อมูล พัฒนาระบบการดึงข้อมูลการเข้าถึงบริการ การคัดกรอง การเยี่ยมบ้านร่วมกับงานกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่เน้นย้ำการลงข้อมูลรายงาน 506s เพื่อใช้เป็นระบบในการติดตามผู้ที่พยายามทำร้ายตนเอง 4.ระบบการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวช เตรียมจัดระบบการส่งต่อภายในเครือข่ายบริการในโซนบริการที่มีจิตแพทย์ ได้แก่โซน 1 ฝาง โซน 3 สันป่าตอง โซน 4 จอมทองและโซน5 นครพิงค์ 5.การบูรณาการงานสุขภาพจิต เข้ากับระบบDHS ให้งานสุขภาพจิตมีการดำเนินงานเชื่อมกับระบบ DHS ผ่านการดำเนินงานในชุมชนของ อสม.สุขภาพจิต และบุคลากรในสสอ.และ รพ.สต
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.