ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
มุมป๋วย เพื่ออุษาคเนย์ และอาเซียน
Puey's corner for South-East Asia and ASEAN โดย นายคชาธร ขาว เรือง
2
พ.ศ. 2556 หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ศ หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดตั้งมุมป๋วย เพื่ออุษาคเนย์และอาเซียน (Puey's corner for South-East Asia and ASEAN) นิทรรศการประวัติของศาสตราจารย์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เจ้าของบทความชิ้นสำคัญ "จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน” กล่าวถึงสิทธิและสวัสดิการที่ประชาชน ทุกคน ควรได้รับอย่างเสมอภาค ตั้งแต่เกิด จนกระทั่งเสียชีวิต รวบรวมและจัดแบ่งทรัพยากรสารสนเทศ ทางด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กว่า 1,467 รายการ ภายใต้รูปแบบภูมิภาค ศึกษา
3
วัตถุประสงค์ สนับสนุนการศึกษาวิจัยและ พัฒนา องค์ความรู้ด้านเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ 2. อำนวยความสะดวกในการใช้ ทรัพยากร สารสนเทศด้านเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้
4
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
วางแผนการดำเนินงาน เกิดจากการระดมสมองของ ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน คือ ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตร ศิริ (ผู้ก่อตั้งโครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) นางศรีจันทร์ จันทร์ชีวะ (ผู้อำนวยการหอสมุด) นางกาญจนาภรณ์ จิตต์สง่า (หัวหน้าหอสมุด ปรีดี พนมยงค์) “…เกิดแนวคิดรวบรวมหนังสือด้าน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาจัดเก็บไว้ที่มุมป๋วยฯ เพื่ออำนวย ความสะดวกแก่ผู้สนใจ ในรูปแบบภูมิภาคศึกษา...”
5
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
สำรวจและคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ พิจารณาจากหัวเรื่อง (Subject Heading) ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ - กลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขง - กัมพูชา - บรูไน - ประชาคมอาเซียน - พม่า - ฟิลิปปินส์ - มาเลเซีย - ลาว - เวียดนาม - สิงคโปร์ - อินโดนีเซีย - เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
6
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
1. สำรวจและคัดเลือกทรัพยากรฯ กำหนด Collection code เป็น Puey Ungphakorn Collection Shelving location เป็น Puey Ungphakorn Corner
7
ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน
หน้าจอ OPAC แสดงข้อมูลว่าหนังสือถูกจัดเรียงไว้ที่มุมป๋วย เพื่ออุษาคเนย์และอาเซียน
8
2. จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศ
ติดแถบสัญลักษณ์สำหรับ มุมป๋วย เพื่ออุษาคเนย์และ อาเซียน เป็นแถบสีส้ม เพื่อความสะดวกในคัดแยก หนังสือกลับมาจัดเรียงเข้า ในมุมป๋วยฯ
9
2. จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศ
กำหนดและติดแถบ สัญลักษณ์ เพื่อแบ่ง ทรัพยากรออกตาม หัวเรื่อง (Subject Heading)
10
3. จัดเรียงบนชั้นหนังสือโดยแยกตามกลุ่มหัวเรื่อง (Subject Heading)
หลังติดแถบสัญลักษณ์แล้ว ทรัพยากร สารสนเทศจะเรียงแยกตาม กลุ่ม หัวเรื่อง (Subject Heading) ที่กำหนดไว้ และภายใต้หัวเรื่อง จะถูกจัดเรียง ตามเลขเรียกหนังสือ (Call Number) ตามวิธีการจัดเรียงของ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification)
11
4. สำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บริการ
สำรวจความ คิดเห็นของผู้ใช้บริการ เพื่อ นำความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะ ไปสู่การปรับปรุงและ พัฒนาการจัดเรียง ทรัพยากรสารสนเทศใน มุมป๋วยฯ ให้ตรงตามความ ต้องการของผู้ใช้บริการมาก ขึ้น
12
ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
94 175 58 394 192 253 17 46 78 20 140
13
หนังสือยังมีเนื้อหาที่ล้าสมัยอยากให้สับเปลี่ยนหนังสือใหม่ ๆ เข้ามาเพิ่มในมุมนี้มากขึ้น”
เสียงสะท้อนจากผู้ใช้บริการ
14
เสียงสะท้อนจากผู้ใช้บริการ หาหนังสือที่ตนต้องการได้ยาก เนื่องจากป้ายบอกหัวเรื่องที่แบ่งตามภูมิภาคศึกษาแสดงไว้ไม่ชัดเจน ทำให้ไม่ทราบว่าประเทศที่ตนต้องการอยู่ส่วนไหนของมุมป๋วยฯ
15
ผู้ใช้บริการส่วนหนึ่งที่ค้นข้อมูลจากฐานข้อมูลบรรณานุกรมของหอสมุดฯ ที่ไม่ได้มุ่งเป้ามาที่มุมป๋วยฯ ตั้งแต่แรก เกิดความสับสนในการค้นหาหนังสือ เนื่องจากคิดว่าหนังสือที่ตนต้องการ ถูกจัดเรียงอยู่ร่วมกับหนังสือทั่วไป
16
การนำไปใช้ประโยชน์ : ประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการ
การนำไปใช้ประโยชน์ : ประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการ ผู้ใช้บริการเกิดความสะดวกและ ประหยัดเวลา ในการค้นหาหนังสือที่จัดเรียงใน รูปแบบ ภูมิภาคศึกษา (Area Studies) หากต้องการศึกษาเกี่ยวกับเขตพื้นที่ ใด ก็สามารถค้นหาที่กลุ่มประเทศนั้นใน มุมป๋วยฯ ได้ทันที
17
การนำไปใช้ประโยชน์ : ประโยชน์ต่อหอสมุดฯ
สร้างความสะดวกการจัดเรียง หนังสือ ให้กับผู้ปฏิบัติงาน เนื่องจาก มีแถบสีพิเศษ เพื่อแยกหนังสือใน มุมป๋วยฯ ออกจากชั้น หนังสือปกติ เพื่อนำมาจัดเรียงไว้ในมุมป๋วยฯ ได้ทันที โดยไม่ต้องค้นข้อมูลผ่าน ฐานข้อมูล บรรณานุกรม KOHA ก่อน... เป็นแนวทางพัฒนา วิธีจัดเรียงและการ ให้บริการทรัพยากร สารสนเทศลักษณะพิเศษ อื่น ๆ ภายในหอสมุด เป็นแนวทางจัดหา ทรัพยากรฯ ด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพิ่มเติม ในหัวเรื่องที่ยังมีปริมาณ หนังสือน้อย
18
THANK YOU คชาธร ขาวเรือง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.