ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แนวทางการบริหารผลการปฏิบัติราชการของบุคลากร
กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
2
แนวทาง PMS ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
หนังสือกรมควบคุมโรค ที่ สธ /ว3357 ลงวันที่ 26 ธันวาคม 2559 1. การบริหารผลการปฏิบัติราชการของบุคลากรกรมควบคุมโรคให้ถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีประเมินผลของบุคลากรกรมควบคุมโรค 2. ข้าราชการและพนักงานราชการทุกคน ดำเนินการบริหารผลการปฏิบัติราชการผ่านระบบออนไลน์ (PMS Online) ตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด 3. สนับสนุนการดำเนินงานตามแผนพัฒนาปรับปรุงระบบบริหารผลการปฏิบัติงานกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ .ศ.2560
3
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล
การปฏิบัติราชการของบุคลากรกรมควบคุมโรค
4
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการของบุคลากรกรมควบคุมโรค
ข้าราชการ พนักงานราชการ ฉบับปัจจุบัน หลักเกณฑ์และวิธีประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนสามัญ พ.ศ.2559 หลักเกณฑ์และวิธีประเมินผลการปฏิบัติราชการของพนักงานราชการทั่วไป พ.ศ.2559 ลงวันที่ 26 ธันวาคม 2559 เพื่อใช้ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 รอบที่ 1 เป็นต้นไป จนกว่าจะมีประกาศฉบับใหม่ Download เอกสารได้ที่เว็บไซด์ กองการเจ้าหน้าที่ หัวข้อ “PMS กรมควบคุมโรค”
5
1 ตุลาคม – 31 มีนาคม ของปีถัดไป 1 เมษายน – 30 กันยายน ของปีเดียวกัน
รอบการประเมิน แบ่งออกเป็น 2 รอบการประเมิน รอบที่ 1 1 ตุลาคม – 31 มีนาคม ของปีถัดไป รอบที่ 2 1 เมษายน – 30 กันยายน ของปีเดียวกัน
6
ต้นรอบการประเมิน ผู้ประเมินและผู้รับการประเมิน ต้องกำหนดข้อตกลงร่วมกัน เกี่ยวกับการมอบหมายงานและการประเมินผลการปฏิบัติราชการ กำหนดตัวชี้วัดหรือหลักฐานบ่งชี้ความสำเร็จของงานอย่างเป็นรูปธรรม และความเหมาะสมกับลักษณะงาน ให้พิจารณา ถ่ายทอดตัวชี้วัดจากบนลงล่างเป็นหลักก่อน กรณีที่ไม่อาจดำเนินการได้หรือไม่เพียงพอ อาจเลือกวิธีการกำหนดตัวชี้วัดด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธี
7
ผู้ประเมิน อธิบดี รองอธิบดี ผู้อำนวยการ รองอธิบดี
ผู้ทรงคุณวุฒิ หัวหน้าหน่วยงานที่ขึ้นตรงฯ ผู้อำนวยการที่อยู่ในความรับผิดชอบ ข้าราชการและพนักงานราชการที่อยู่ในบังคับบัญชา ข้าราชการจากหน่วยงานอื่นภายในกรมเดียวกันที่มาปฏิบัติราชการอยู่ด้วย * อาจจัดทำหนังสือมอบหมายผู้บังคับบัญชาอื่นๆ ให้ประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของข้าราชการและพนักงานราชการที่อยู่ในบังคับบัญชา
8
องค์ประกอบการประเมิน
องค์ประกอบและสัดส่วนน้ำหนักคะแนน ผลสัมฤทธิ์ของงาน 80 คะแนน องค์ประกอบการประเมิน สมรรถนะ 20 คะแนน * ข้าราชการทดลองราชการ ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน 50 คะแนน และสมรรถนะ 50 คะแนน ** พนักงานราชการ ไม่มีทดลองราชการ
9
ผลสัมฤทธิ์ของงาน ผลสัมฤทธิ์ของาน 80 % งานตามยุทธศาสตร์/คำรับรอง
งานตามภารกิจ งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย สัดส่วนน้ำหนักคะแนนให้อยู่ในดุลพินิจ ของหน่วยงาน หรือผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน * น้ำหนักคะแนนตัวชี้วัดทุกตัวรวมกัน = 100
10
สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ
สมรรถนะ 20% 1. การยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) = 10 คะแนน 2. บริการที่ดี (Service Mind) = 10 คะแนน 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Mastery / Expertise) = 10 คะแนน 4. การมุงผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) = 10 คะแนน 5. การมีน้ำใจ ใจเปิดกวาง เป็นที่เป็นนอง (Relationship) = 10 คะแนน 6. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) = 10 คะแนน สมรรถนะหลัก (Core Competency) เลือกสมรรถนะที่ใช้ในการประเมินฯ จำนวน 2 สมรรถนะ (ตัวละ 20 คะแนน) จากทั้งหมด 3 สมรรถนะ ดังนี้ 1. หลักระบาดวิทยา 2. การวิจัยและพัฒนา 3.การติดตามและประเมินผล สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ กรมควบคุมโรค (Functional Competency)
11
ระดับสมรรถนะ ตำแหน่งประเภทวิชาการ
12
ระดับสมรรถนะ(ต่อ) ตำแหน่งประเภททั่วไป
13
ระดับสมรรถนะ(ต่อ) พนักงานราชการ
14
ระหว่างรอบการประเมิน
“ผู้ประเมิน ให้คำปรึกษา แนะนำผู้รับการประเมิน เพื่อการปรับปรุง แก้ไข พัฒนา เพื่อนำไปสู่ผลสัมฤทธิ์ของงาน และพฤติกรรมหรือสมรรถนะในการปฏิบัติราชการตามเป้าหมาย”
15
สิ้นรอบการประเมิน ให้ผู้ประเมิน ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการประเมิน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และข้อตกลงที่ได้ประกาศไว้ การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ต้องมีความชัดเจนมีหลักฐาน และให้เป็นไปตามแบบประเมินผลการปฏิบัติราชการที่กรมควบคุมโรคกำหนด วิธีประเมินให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารงานบุคคลหน่วยงาน แต่ ต้องเป็นวิธีเดียวกันทั้งหน่วยงาน โดยอย่างน้อยให้ผู้รับการประเมินประเมินตนเองก่อน แล้วจึงสรุปผลการประเมินร่วมกับผู้ประเมิน
16
“ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานตามข้อตกลง ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ที่จัดทำไว้
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน “ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานตามข้อตกลง ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ที่จัดทำไว้ ตั้งแต่ต้นรอบการประเมิน เปรียบเทียบกับผลงานที่ผู้รับการประเมินทำได้จริง” ข้อตกลง ที่ทำไว้ ผลงาน ที่ทำได้จริง คะแนนผลการประเมิน
17
Functional Competency
การประเมินสมรรถนะ “ประเมินสมรรถนะตามที่กรมควบคุมโรคกำหนด โดยให้ประเมินตั้งแต่ระดับที่ 1 จนถึงระดับที่คาดหวังตามมาตรวัดสมรรถนะและพฤติกรรมบ่งชี้ที่กรมควบคุมโรคกำหนด” Core Competency (6 ตัว ตัวละ 10 คะแนน) Functional Competency (2 ตัว ตัวละ 20 คะแนน)
18
ระดับผลการประเมิน ข้าราชการ พนักงานราชการ ดีเด่น ( คะเเนน) ดีมาก ( คะเเนน) ดี ( คะเเนน) พอใช้ ( คะเเนน) ต้องปรับปรุง (น้อยกว่า 60 คะเเนน) ดีเด่น ( คะเเนน) ดีมาก ( คะเเนน) ดี ( คะเเนน) พอใช้ ( คะเเนน) ต้องปรับปรุง (น้อยกว่า 65 คะเเนน) หมายเหตุ : ต้องประกาศผู้ได้ดีเด่น ดีมาก ให้ทราบทั่วกัน
19
การแจ้งผลการประเมิน ให้ผู้ประเมิน แจ้งผลการประเมินให้ผู้รับการประเมินทราบเป็นรายบุคคล โดยผู้รับการประเมินลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมิน กรณีที่ผู้รับการประเมินไม่ยินยอมลงลายมือชื่อรับทราบผลการประเมิน ให้ข้าราชการพลเรือนสามัญอย่างน้อยหนึ่งคนในหน่วยงานลงลายมือชื่อเป็นพยานว่าได้มีการแจ้งผลการประเมินดังกล่าวแล้ว”
20
การจัดเก็บผลการประเมิน
ให้ผู้ประเมิน เก็บสำเนาแบบสรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการไว้ อย่างน้อย 2 รอบการประเมิน ต้นฉบับให้เก็บไว้ที่หน่วยงานการเจ้าหน้าที่จัดเก็บ
21
นำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์
การนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ การเลื่อนเงินเดือน การพัฒนาบุคลากร นำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ เพิ่มพูนประสิทธิภาพการ ปฏิบัติราชการ ประกอบการตัดสินใจ งาน HR ต่างๆ การให้ออกจากราชการ** * ข้าราชการ ผลการประเมินอยู่ในระดับต้องปรับปรุง 2 รอบการประเมินติดต่อกัน * พนักงานราชการ คะแนนเฉลี่ยของผลการประเมิน 2 ครั้งติดต่อกันต่ำกว่าระดับดี ให้ทำความเห็นสั่งเลิกจ้าง
22
การบริหารผลการปฏิบัติราชการของบุคลากร
กรมควบคุมโรคผ่านระบบออนไลน์ (PMS Online)
23
PMS Online คืออะไร
24
วัตถุประสงค์ของการนำ PMS Online มาใช้
อำนวยความสะดวกให้บุคลากร สามารถดำเนินการได้ทุกที่ ทุกเวลา จัดเก็บข้อมูลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อให้ง่ายต่อการสืบค้น ผลักดันให้การบริหารผลการปฏิบัติราชการของบุคลากรมีมาตรฐาน เป็นธรรม โปร่งใสและตรวจสอบได้ เป็นฐานข้อมูล นำไปใช้ประโยชน์ในพัฒนาปรับปรุงระบบให้มีประสิทธิภาพ และใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในด้านต่างๆ
25
ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
จำนวนการใช้งาน PMS Online ของบุคลากรกรม “มีแนวโน้มลดลง” ขาดการกำกับ ติดตาม PMS ไม่ได้เป็นตัวชี้วัด ตามคำรับรอง ขาดการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม
26
การกำกับ ติดตาม และกระตุ้นให้บุคลากรทุกคน
ดำเนินการบริหารผลการปฏิบัติราชการผ่านระบบออนไลน์ ครั้งที่ 1 สรุปผลการวางแผนการปฏิบัติราชการผ่านระบบออนไลน์ - รอบที่ 1 : 31 มกราคม 2560 - รอบที่ 2 : 30 เมษายน 2560 ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 1. กำกับ ติดตาม และสรุปผลโดยกลุ่มพัฒนาองค์กรของหน่วยงาน การให้ รางวัล 2. กระตุ้นในระดับนโยบาย โดยให้กองการเจ้าหน้าที่ รายงานผลที่ประชุมผู้บริหารกรม ครั้งที่ 2 สรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการผ่านระบบออนไลน์ - รอบที่ 1 : 31 มีนาคม 2560 - รอบที่ 2 : 30 กันยายน 2560
27
บทบาทหน้าที่ของผู้ดูแลระบบ
28
การให้ รางวัล 1. ต้นรอบ รอบที่ 1 ต.ค. 59 - 31 ม.ค. 60
รอบที่ 2 เม.ย. – พ.ค. 60 การให้ รางวัล 2. ระหว่างรอบ รอบที่ 1 ต.ค มี.ค. 60 รอบที่ 2 เม.ย. –ก.ย. 60 3. สิ้นรอบ รอบที่ 1 มี.ค. 60 รอบที่ 2 ก.ย. 60
30
ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป
ต้นรอบการประเมิน วางแผนการปฏิบัติงาน (Planning) กิจกรรม ผู้รับการประเมิน ผู้ประเมิน ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ผู้ดูแลระบบ 1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอด และร่วมกับผู้รับการประเมินกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล 1.2 ผู้รับการประเมินเลือกผู้ประเมินและเพิ่มแฟ้มการประเมิน 1.3 ผู้รับการประเมิน บันทึกข้อมูลตัวชี้วัดรายบุคคล 1.4 ผู้รับการประเมิน เลือกสมรรถนะที่ใช้ในการประเมิน 1.5 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล (ถ้ามี) ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน การบันทึกข้อมูลของผู้รับการประเมิน 1.6 ผู้ดูแลระบบ ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และสรุปผลการดำเนินงานวางแผนการปฏิบัติงานภาพรวมของหน่วยงาน 1.7 ผู้ดูแลระบบ กำหนดสัดส่วนการประเมินผลการปฏิบัติราชการสำหรับข้าราชการที่อยู่ระหว่างทดลองราชการ
31
ผู้ประเมินถ่ายทอด และร่วมกับผู้รับการประเมินกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอด และร่วมกับผู้รับการประเมินกำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล
32
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล
ผลสัมฤทธิ์ของาน 80 % งานตามยุทธศาสตร์/คำรับรอง งานตามภารกิจ งานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย สัดส่วนน้ำหนักคะแนนให้อยู่ในดุลพินิจของหน่วยงาน หรือผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน * น้ำหนักคะแนนตัวชี้วัดทุกตัวรวมกัน = 100
33
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน
กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ต่อ) หลักเกณฑ์ฯ กรม ให้พิจารณาถ่ายทอดตัวชี้วัดจากบนลงล่าง (Goal Cascading Method) เป็นหลักก่อน 1. ถ่ายทอดเป้าหมายโดยตรง 3.ถ่ายทอดเป้าหมายโดยแบ่งงานบางด้านให้รับผิดชอบ 2. ถ่ายทอดเป้าหมายโดย แบ่งค่าตัวเลข
34
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน
กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ต่อ) 1. ถ่ายทอดเป้าหมายโดยตรง ผู้ประเมินและผู้รับประเมินรับผิดชอบความสำเร็จรวมกัน ไม่สามารถแบ่งแยกงานได้อย่างชัดเจน ผู้ประเมินมอบหมายงานตามตัวชี้วัดให้ผู้รับการประเมินทั้งชิ้น (ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายเป็นตัวเดียวกัน) ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายรวม เป้าหมาย 6 เดือน = 52% ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายรวม 1 2 3 4 5 <50% 50% 52% 54% 56% ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายรวม ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายรวม 1 2 3 4 5 <50% 50% 52% 54% 56% 1 2 3 4 5 <50% 50% 52% 54% 56%
35
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน
กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ต่อ) 2. ถ่ายทอดเป้าหมายโดยแบ่งค่าตัวเลข ผู้ประเมินรับผิดชอบเป้าหมายรวมซึ่งเกิดจากผลผลิตของผู้รับการประเมินหลายคนรวมกัน ค่าเป้าหมายจะถูกแบ่งเฉลี่ยให้ผู้รับกาประเมินรับผิดชอบแตกต่างกัน ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณได้ตามเป้าหมาย เป้าหมาย 6 เดือน = 52% ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณได้ตามเป้าหมาย 1 2 3 4 5 <50% 50% 52% 54% 56% ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณได้ตามเป้าหมาย ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณได้ตามเป้าหมาย 1 2 3 4 5 <25% 25% 26% 27% 28% 1 2 3 4 5 <25% 25% 26% 27% 28%
36
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน
กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ต่อ) 3. ถ่ายทอดเป้าหมายโดยแบ่งงานบางด้านให้รับผิดชอบ ผู้ประเมินแบ่งงานตามเป้าหมายออกเป็นส่วนๆ โดยผู้รับการประเมินแต่ละคนรับผิดชอบเนื้องานที่แตกต่างกัน เป็นตัวชี้วัดที่ผู้รับการประเมินได้รับมอบหมายงานเพียงด้านเดียว ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายรวม เป้าหมาย 6 เดือน = 52% ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายรวม 1 2 3 4 5 <50% 50% 52% 54% 56% ระดับความสำเร็จของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณได้ทันเวลา ระดับความสำเร็จของการจัดโครงการได้ตามเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ... 1 2 3 4 5 ...
37
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน
กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ต่อ) การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer-Focused Method) วิธีนี้เหมาะกับงานที่ต้องทำหน้าที่ให้บริการกับผู้อื่นเป็นสำคัญ ผลสำเร็จของงาน คือสิ่งที่ได้ทำหรือให้บริการกับลูกค้า หรือผู้รับบริการ งานสารบัญ ตัวอย่าง : ผู้รับบริการ ความต้องการของผู้รับบริการ ตัวชี้วัด เจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน รับ-ส่ง หนังสือราชการได้ถูกต้องภายในกำหนดเวลาที่ตกลงกันไว้ ร้อยละของการรับ-ส่ง หนังสือราชการได้ถูกต้องภายในกำหนดเวลาที่ตกลงกันไว้ ผู้ติดต่อราชการ พอใจต่อการให้บริการข้อมูล รวดเร็ว และมีอัธยาศัยที่ดี ระดับความพึงพอใจของผู้มาติดราชการต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่สารบรรณ
38
การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method)
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ต่อ) การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method) วิธีนี้เหมาะสำหรับการกำหนดตัวชี้วัดของงานที่เน้นการปฏิบัติงานให้ได้ตามมาตรฐานของงานเป็นหลัก กระบวนการผลิตบทความของงานวารสาร ตัวอย่าง : Key Process เริ่มต้น กำหนดหัวข้อ ร่างบทความ แก้ไขบทความ วารสาร ตกแต่งศิลป์
39
การพิจารณาประเด็นที่ต้องปรับปรุง/ตัวชี้วัดเพื่อการพัฒนา
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ต่อ) การพิจารณาประเด็นที่ต้องปรับปรุง/ตัวชี้วัดเพื่อการพัฒนา ปีที่ผ่านมาเราประสบกับปัญหาอะไร แล้วปีหน้าจะแก้อย่างไร เราจะนำวิธีการทำงาน หรือเทคโนโลยีอะไรใหม่ๆ มาใช้ เราสามารถลดเวลา และความผิดพลาดในขั้นตอนใดได้บ้าง เราอยากเห็นอะไรดีกว่าปีที่ผ่านมา ฯลฯ ตัวอย่าง : ผลสัมฤทธิ์หลัก ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 เอกสารที่ส่งถูกต้องทันเวลา จำนวนครั้งในการรับ-ส่งเอกสารผิดพลาด และไม่ทันเวลา มากกว่า 20 ครั้ง น้อยกว่าหรือเท่ากับ 20 ครั้ง น้อยกว่าหรือเท่ากับ 15 ครั้ง น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ครั้ง น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 ครั้ง การจัดทำเอกสาร จัดซื้อ จัดจ้าง ถูกต้องครบถ้วน จำนวนเรื่องที่เกิดความผิดพลาดในการจัดทำเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง มากกว่า 20 เรื่อง น้อยกว่าหรือเท่ากับ 20 เรื่อง น้อยกว่าหรือเท่ากับ 15 เรื่อง น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 เรื่อง น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 เรื่อง การเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่ถูกต้อง จำนวนครั้งที่ผิดพลาดในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
41
แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ต่อ) แนวทางการกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 1. งานในความรับผิดชอบคืออะไร งาน/โครงการ/กิจกรรม 2. ผลสัมฤทธิ์ของงานคืออะไร ผลสัมฤทธิ์หลัก (KRAs) 3. จะทราบได้อย่างไรว่างานนั้นเกิดผลสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด (KPIs) เชิงประสิทธิภาพ/ เชิงประสิทธิผล 4. จะทราบได้อย่างไรว่าผลงานงานนั้นบรรลุเป้าหมายที่กำหนดหรือไม่มากน้อยเพียงใด ค่าเป้าหมาย 5 ระดับ 5. ใครคือผู้รับผิดชอบงานนั้น บุคคล/ทีมงาน
42
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน
กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ต่อ) “การกำหนดตัวชี้วัดต้องกำหนดผลสัมฤทธิ์หลักของงานก่อน” KRAs “ผลสัมฤทธิ์หลัก” (Key Result Areas) คือ ผลผลิตหรือผลลัพธ์สำคัญซึ่งเกิดจากการปฏิบัติงานและเป็นสิ่งที่องค์กรต้องการจากผู้ปฏิบัติงาน “ค่าเป้าหมาย” (Targets) KPIs “ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานหลัก” (Key Performance Indicators) TARGET คือ ค่าเป้าหมายเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพที่ทำให้แยกแยะได้ว่าการปฏิบัติงานประสบความสำเร็จตามตัวชี้วัด (KPI) ที่กำหนดไว้หรือไม่มากน้อยเพียงใด ภายในระยะเวลาที่ระบุไว้อย่างชัดเจน คือ หน่วยวัดความสำเร็จของการปฏิบัติงานที่กำหนดขึ้น โดยเป็นหน่วยวัดที่แสดงผลสัมฤทธิ์ของงาน และสามารถแยกแยะความแตกต่างของผลการปฏิบัติงานได้
43
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน
กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ต่อ) ปริมาณ จำนวนผลผลิต คุณภาพ ความครบถ้วน ความถูกต้อง เวลา ระยะเวลาที่กำหนดเพื่อให้บรรลุ ปริมาณหรือคุณภาพ ค่าใช้จ่าย งบประมาณที่ประหยัดได้ หรือผลผลิตที่เพิ่มขึ้นโดยใช้ งบเท่าเดิม
44
TARGET 1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน
กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ต่อ) “ค่าเป้าหมาย” (Targets) TARGET
45
ข้อควรคำนึงในการกำหนดตัวชี้วัด
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ต่อ) ข้อควรคำนึงในการกำหนดตัวชี้วัด เจาะจง (Specific) มีความเจาะจง ว่าต้องการทำอะไร และผลลัพธ์ที่ต้องการคืออะไร วัดได้ (Measurable) ต้องวัดผลที่ขึ้นได้ ไม่เป็นภาระ ตัวชี้วัดไม่มากเกินไป เห็นชอบ (Agreed Upon) ต้องได้รับการเห็นชอบซึ่งกันและกันระหว่าผู้ใต้บังคับบัญชา และผู้บังคับบัญชา เป็นจริงได้ (Realistic) ต้องท้าทาย และสามารถทำสำเร็จได้ ภายใต้กรอบเวลาที่เหมาะสม (Time Bound) มีระยะเวลาในการทำงานที่เหมาะสม ไม่สั้นไม่ยาวเกินไป
46
ข้อมูลนำไปบันทึกใน PMS Online
1.1 ผู้ประเมินถ่ายทอดและร่วมกับผู้รับการประเมิน กำหนดตัวชี้วัดรายบุคคล (ต่อ) ข้อมูลนำไปบันทึกใน PMS Online ตัวชี้วัดผลงาน ตัวชี้วัดอ้างอิง น้ำหนัก ค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 1.ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายรวม ตัวชี้วัดตามคำรับรอง ฯ 100 <50% 50% 52% 54% 56% ......
47
ผู้รับการประเมิน เลือกผู้ประเมินและ
1.2 ผู้รับการประเมิน เลือกผู้ประเมินและ เพิ่มแฟ้มการประเมิน
48
ผู้รับการประเมิน เลือกผู้ประเมินและ
เพิ่มแฟ้มการประเมิน
49
ผู้รับการประเมิน บันทึกข้อมูลตัวชี้วัดรายบุคคล
1.3 ผู้รับการประเมิน บันทึกข้อมูลตัวชี้วัดรายบุคคล
50
1.3 ผู้รับการประเมิน บันทึกข้อมูลตัวชี้วัดรายบุคคล
51
ผู้รับการประเมิน เลือกสมรรถนะที่ใช้ในการประเมิน
1.4 ผู้รับการประเมิน เลือกสมรรถนะที่ใช้ในการประเมิน
52
สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะ
1.4 ผู้รับการประเมินเลือกสมรรถนะ ที่ใช้ในการประเมิน สมรรถนะหลัก (Core Competency) PMS+IDP สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ กรมควบคุมโรค (Functional Competency) IDP สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะ งานที่ปฏิบัติ (Technical Competency)
53
สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะ
1.4 ผู้รับการประเมินเลือกสมรรถนะ ที่ใช้ในการประเมิน (ต่อ) 1. การยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) = 10 คะแนน 2. บริการที่ดี (Service Mind) = 10 คะแนน 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Mastery / Expertise) = 10 คะแนน 4. การมุงผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) = 10 คะแนน 5. การมีน้ำใจ ใจเปิดกวาง เป็นที่เป็นนอง (Relationship) = 10 คะแนน 6. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) = 10 คะแนน สมรรถนะหลัก (Core Competency) เลือกสมรรถนะที่ใช้ในการประเมินฯ จำนวน 2 สมรรถนะ (ตัวละ 20 คะแนน) จากทั้งหมด 3 สมรรถนะ ดังนี้ 1. หลักระบาดวิทยา 2. การวิจัยและพัฒนา 3.การติดตามและประเมินผล สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ กรมควบคุมโรค (Functional Competency) สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะ งานที่ปฏิบัติ (Technical Competency) ประเมินคนละ 7 สมรรถนะ ตามสายงาน/ตำแหน่ง (ไม่คิดคะแนน)
54
1.4 ผู้รับการประเมินเลือกสมรรถนะ
ที่ใช้ในการประเมิน (ต่อ)
55
1.4 ผู้รับการประเมินเลือกสมรรถนะ
ที่ใช้ในการประเมิน (ต่อ)
56
1.4 ผู้รับการประเมินเลือกสมรรถนะ
ที่ใช้ในการประเมิน (ต่อ)
57
1.4 ผู้รับการประเมินเลือกสมรรถนะ
ที่ใช้ในการประเมิน (ต่อ)
58
1.4 ผู้รับการประเมินเลือกสมรรถนะ
ที่ใช้ในการประเมิน (ต่อ)
59
1.4 ผู้รับการประเมินเลือกสมรรถนะ
ที่ใช้ในการประเมิน (ต่อ)
60
1.4 ผู้รับการประเมินเลือกสมรรถนะ
ที่ใช้ในการประเมิน (ต่อ)
61
1.4 ผู้รับการประเมินเลือกสมรรถนะ
ที่ใช้ในการประเมิน (ต่อ)
62
1.4 ผู้รับการประเมินเลือกสมรรถนะ
ที่ใช้ในการประเมิน (ต่อ)
63
1.4 ผู้รับการประเมินเลือกสมรรถนะ
ที่ใช้ในการประเมิน (ต่อ)
64
1.4 ผู้รับการประเมินเลือกสมรรถนะ
ที่ใช้ในการประเมิน (ต่อ)
65
1.5 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล (ถ้ามี) ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน การบันทึกข้อมูลของผู้รับการประเมิน
66
1.5 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล (ถ้ามี)ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน การบันทึกข้อมูลของผู้รับการประเมิน
67
1.6 ผู้ดูแลระบบ ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และสรุปผล
การดำเนินงานวางแผนการปฏิบัติงานภาพรวมของหน่วยงาน
68
1.6 ผู้ดูแลระบบ ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และสรุปผล
การดำเนินงานวางแผนการปฏิบัติงานภาพรวมของหน่วยงาน
69
1.7 กำหนดสัดส่วนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
สำหรับข้าราชการที่อยู่ระหว่างทดลองราชการ
70
1.7 กำหนดสัดส่วนการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
สำหรับข้าราชการที่อยู่ระหว่างทดลองราชการ
72
ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป
ดำเนินการระหว่างรอบการประเมิน ติดตามผลการปฏิบัติงาน กิจกรรม ผู้รับการประเมิน ผู้ประเมิน ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ผู้ดูแลระบบ 2.1 ผู้รับการประเมิน รายงานผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด 2.2 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล ติดตามและพัฒนาผลการปฏิบัติงานของผู้รับการประเมิน
73
ผู้รับการประเมิน รายงานผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด
2.1 ผู้รับการประเมิน รายงานผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด
74
(Tow-Way Communication)
2.1 ผู้รับการประเมินรายงานผลการปฏิบัติงาน ตามตัวชี้วัด ผู้รับการประเมิน ผู้ประเมิน การสื่อสารแบบสองทาง (Tow-Way Communication) รายงานผลการดำเนินการ ขอคำแนะนำ/ปรึกษาจากผู้บังคับบัญชา บันทึกผลสำเร็จของงาน สื่อสารอย่างเปิดเผยถึงความก้าวหน้าและปัญหาที่พบ
75
2.2 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล ติดตามและพัฒนาผลการปฏิบัติงานของผู้รับการประเมิน
76
(Tow-Way Communication)
2.2 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล ติดตามและพัฒนาผลการปฏิบัติงานของผู้รับการประเมิน ผู้รับการประเมิน ผู้ประเมิน การสื่อสารแบบสองทาง (Tow-Way Communication) ติดตามและให้คำปรึกษาเพื่อผลักดันงานให้สำเร็จ บันทึกผลงาน พฤติกรรม แจ้งให้ผู้ปฏิบัติงานทราบถึงเป้าหมายที่เปลี่ยนแปลง (ถ้ามี) ส่งเสริมพฤติกรรมการทำงานที่ก่อให้เกิดประสิทธิผล
77
2.2 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล ติดตามและพัฒนาผลการปฏิบัติงานของผู้รับการประเมิน
79
ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป
ใกล้สิ้นรอบการประเมิน ประเมินผลการปฏิบัติราชการ กิจกรรม ผู้รับการประเมิน ผู้ประเมิน ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ผู้ดูแลระบบ 3.1 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน 3.2 ผู้รับการประเมิน ประเมินตัวเองในส่วนของสมรรถนะ 3.3 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล ประเมินสมรรถนะผู้รับการประเมิน 3.4 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล ให้ความเห็นในการพัฒนาผู้รับการประเมิน 3.5 ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ให้ความเห็นเกี่ยวกับผลการประเมินและแผนพัฒนาพัฒนาผลการปฏิบัติงานรายบุคคลของผู้รับการประเมิน 3.6 ผู้ประเมิน สรุปคะแนนผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการประเมิน 3.7 ผู้ประเมินยืนยันและแจ้งผลการประเมินให้กับผู้รับการประเมิน 3.8 ผู้ประเมินหรือผู้รับการประเมิน พิมพ์แบบสรุปผลการประเมิน เพื่อให้ผู้รับการประเมินลงนามรับทราบผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
80
3.1 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน
81
3.1 ผู้ประเมิน ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน
2 3
82
3.1 ผู้ประเมิน ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน
(ต่อ)
83
ผู้รับการประเมิน ประเมินตัวเองในส่วนของสมรรถนะ
3.2 ผู้รับการประเมิน ประเมินตัวเองในส่วนของสมรรถนะ
84
สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะ
3.2 ผู้รับการประเมิน ประเมินตัวเอง ในส่วนของสมรรถนะ 1. การยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) = 10 คะแนน 2. บริการที่ดี (Service Mind) = 10 คะแนน 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Mastery / Expertise) = 10 คะแนน 4. การมุงผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) = 10 คะแนน 5. การมีน้ำใจ ใจเปิดกวาง เป็นที่เป็นนอง (Relationship) = 10 คะแนน 6. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) = 10 คะแนน สมรรถนะหลัก (Core Competency) เลือกสมรรถนะที่ใช้ในการประเมินฯ จำนวน 2 สมรรถนะ (ตัวละ 20 คะแนน) จากทั้งหมด 3 สมรรถนะ ดังนี้ 1. หลักระบาดวิทยา 2. การวิจัยและพัฒนา 3.การติดตามและประเมินผล สมรรถนะที่จำเป็นตามภารกิจ กรมควบคุมโรค (Functional Competency) สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะ งานที่ปฏิบัติ (Technical Competency) ประเมินคนละ 7 สมรรถนะ ตามสายงาน/ตำแหน่ง (ไม่คิดคะแนน)
85
3.2 ผู้รับการประเมิน ประเมินตัวเอง ในส่วนของสมรรถนะ (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 1 ประเมินสมรรถนะตามมาตรวัดสมรรถนะ และพฤติกรรมบ่งชี้สมรรถนะ ตามที่กรมควบคุมโรคกำหนด
86
3.2 ผู้รับการประเมิน ประเมินตัวเอง ในส่วนของสมรรถนะ (ต่อ)
สมรรถนะหลัก + สมรรถนะตามภารกิจกรมควบคุมโรค ตัวอย่าง ประเมินข้าราชการระดับชำนาญการ คะแนนรวม = 8 สูตรคำนวณ = คะแนนรวม ÷ ระดับที่คาดหวัง = 8 ÷ 2 = 4 นำไปบันทึกใน PMS Online
87
สมรรถนะหลักเฉพาะตามลักษณะงาน
3.2 ผู้รับการประเมิน ประเมินตัวเอง ในส่วนของสมรรถนะ (ต่อ) สมรรถนะหลักเฉพาะตามลักษณะงาน ตัวอย่าง ประเมินข้าราชการระดับชำนาญการ คะแนนรวม = 1.5 สูตรคำนวณ = (คะแนนรวม × คะแนนเต็มใน PMS Online) ÷ ระดับที่คาดหวัง = (1.5 × 5) ÷ 2 = 3.75 นำไปบันทึกใน PMS Online
88
3.2 ผู้รับการประเมิน ประเมินตัวเอง ในส่วนของสมรรถนะ (ต่อ)
ขั้นตอนที่ 2 นำผลการประเมินสมรรถนะตามมาตรวัดสมรรถนะ และพฤติกรรมบ่งชี้สมรรถนะ ตามที่กรมควบคุมโรคกำหนด ไปบันทึกใน PMS Online
89
3.2 ผู้รับการประเมิน ประเมินตัวเอง ในส่วนของสมรรถนะ (ต่อ)
90
3.3 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล ประเมินสมรรถนะผู้รับการประเมิน
91
3.3 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล ประเมินสมรรถนะผู้รับการประเมิน
ขั้นตอนที่ 1 ประเมินสมรรถนะตามมาตรวัดสมรรถนะ และพฤติกรรมบ่งชี้สมรรถนะ ตามที่กรมควบคุมโรคกำหนด
92
3.3 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล
ประเมินสมรรถนะผู้รับการประเมิน (ต่อ) สมรรถนะหลัก + สมรรถนะตามภารกิจกรมควบคุมโรค ตัวอย่าง ประเมินข้าราชการระดับชำนาญการ คะแนนรวม = 8 สูตรคำนวณ = คะแนนรวม ÷ ระดับที่คาดหวัง = 8 ÷ 2 = 4 นำไปบันทึกใน PMS Online
93
สมรรถนะหลักเฉพาะตามลักษณะงาน
3.3 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล ประเมินสมรรถนะผู้รับการประเมิน (ต่อ) สมรรถนะหลักเฉพาะตามลักษณะงาน ตัวอย่าง ประเมินข้าราชการระดับชำนาญการ คะแนนรวม = 1.5 สูตรคำนวณ = (คะแนนรวม × คะแนนเต็มใน PMS Online) ÷ ระดับที่คาดหวัง = (1.5 × 5) ÷ 2 = 3.75 นำไปบันทึกใน PMS Online
94
3.3 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล
ประเมินสมรรถนะผู้รับการประเมิน (ต่อ) ขั้นตอนที่ 2 นำผลการประเมินสมรรถนะตามมาตรวัดสมรรถนะ และพฤติกรรมบ่งชี้สมรรถนะ ตามที่กรมควบคุมโรคกำหนด ไปบันทึกใน PMS Online
95
3.3 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล
ประเมินสมรรถนะผู้รับการประเมิน (ต่อ) 5 กรณีสมรรถนะตัวใด ได้คะแนนไม่เต็มให้ผู้ประเมินระบุพฤติกรรมที่ไม่ผ่านการประเมิน เพื่อให้ผู้รับการประเมินทราบช่องว่างของสมรรถนะ (Gap-) 5 5 5 5 5 5 5 ผู้ประเมิน
96
3.4 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล
ให้ความเห็นในการพัฒนาผู้รับการประเมิน
97
3.4 ผู้ประเมิน และ/หรือผู้ให้ข้อมูล
ให้ความเห็นในการพัฒนาผู้รับการประเมิน
98
เครื่องมือ/วิธีการพัฒนา
การฝึกอบรม On the job Training การเรียนรู้ด้วยตนเอง การพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพ การเป็นพี่เลี้ยง การอ้างอิงจาก Best Practices การให้ทำกิจกรรมกลุ่ม การศึกษาดูงาน การสอนงาน การมอบหมายงาน การให้โอกาสศึกษาต่อ การให้คำปรึกษา/แนะนำ
99
ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป
3.5 ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ให้ความเห็นเกี่ยวกับผลการประเมินและแผนพัฒนาพัฒนาผลการปฏิบัติงานรายบุคคลของผู้รับการประเมิน
100
3.5 ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ให้ความเห็นเกี่ยวกับผลการประเมินและแผนพัฒนาพัฒนาฯ ของผู้รับการประเมิน
101
สรุปคะแนนผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
3.6 ผู้ประเมิน สรุปคะแนนผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้รับการประเมิน
102
3.6 ผู้ประเมินสรุปคะแนน ผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้รับการประเมิน
103
ยืนยันและแจ้งผลการประเมินให้กับผู้รับการประเมิน
3.7 ผู้ประเมิน ยืนยันและแจ้งผลการประเมินให้กับผู้รับการประเมิน
104
3.7 ผู้ประเมินยืนยันและแจ้งผลการประเมิน
ให้กับผู้รับการประเมิน
105
ผู้ประเมิน หรือผู้รับการประเมิน
3.8 ผู้ประเมิน หรือผู้รับการประเมิน พิมพ์แบบสรุปผลการประเมิน เพื่อให้ผู้รับการประเมินลงนามรับทราบผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
106
3.8 ผู้ประเมิน หรือผู้รับการประเมินพิมพ์แบบสรุปผลการประเมิน เพื่อให้ผู้รับการประเมินลงนามรับทราบผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
107
3.8 ผู้ประเมิน หรือผู้รับการประเมินพิมพ์แบบสรุปผลการประเมิน เพื่อให้ผู้รับการประเมินลงนามรับทราบผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ)
108
3.8 ผู้ประเมิน หรือผู้รับการประเมินพิมพ์แบบสรุปผลการประเมิน เพื่อให้ผู้รับการประเมินลงนามรับทราบผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ต่อ)
109
การให้ รางวัล
110
ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป
ดำเนินการสิ้นรอบการประเมิน การให้รางวัล กิจกรรม ผู้รับการประเมิน ผู้ประเมิน ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ผู้ดูแลระบบ 4.1 ผู้ดูแลระบบ สรุปรายงานผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของบุคลากรในหน่วยงาน เพื่อนำไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน 4.2 ผู้ดูแลระบบ สรุปรายงานผลการประเมินสมรรถนะของบุคลากรในหน่วยงาน เพื่อนำไปจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร
111
4.1 ผู้ดูแลระบบ สรุปรายงานผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของบุคลากรในหน่วยงาน เพื่อนำไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน
112
ผู้ดูแลระบบ สรุปรายงานผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของบุคลากรในหน่วยงาน เพื่อนำไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน
113
ผู้ดูแลระบบ สรุปรายงานผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการของบุคลากรในหน่วยงาน เพื่อนำไปใช้ประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน (ต่อ) R0901 รายงานผลการประเมิน
114
4.2 ผู้ดูแลระบบ สรุปรายงานผลการประเมินสมรรถนะของบุคลากร
ในหน่วยงาน เพื่อนำไปจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร
115
ผู้ดูแลระบบ สรุปรายงานผลการประเมินสมรรถนะ
ของบุคลากรในหน่วยงาน เพื่อนำไปจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร
116
ผู้ดูแลระบบ สรุปรายงานผลการประเมินสมรรถนะ
ของบุคลากรในหน่วยงาน เพื่อนำไปจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร (ต่อ) R0902 รายงานแผนพัฒนาผลการปฏิบัติงานรายบุคคล
117
แผนพัฒนาปรับปรุงระบบบริหารผลการปฏิบัติงานกรมควบคุมโรคปีงบประมาณ พ. ศ
แผนพัฒนาปรับปรุงระบบบริหารผลการปฏิบัติงานกรมควบคุมโรคปีงบประมาณ พ.ศ.2560
118
ความพึงพอใจต่อระบบ PMS
กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 (n = 2,051) ค่าเฉลี่ย พึงพอใจมาก 4.21 – 5.00 พึงพอใจ 3.41 – 4.20 เฉยๆ 2.61 – 3.40 ไม่พึงพอใจ 1.81 – 2.60 ไม่พึงพอใจมาก 1.00 – 1.80 ความพึงพอใจต่อระบบ PMS ค่าเฉลี่ย ด้านนโยบาย (Policy) 3.87 ด้านขั้นตอน/กระบวนการ (Process) 3.84 ด้านบุคลากร (People) 3.89 ด้านงบประมาณ (Price) 3.75 ภาพรวม 3.85
119
ปัจจัยที่พึงพอใจน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก
ปัจจัยที่บุคลากรพึงพอใจน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก ลำดับ ปัจจัยที่พึงพอใจน้อยที่สุด 10 ลำดับแรก ด้าน ค่าเฉลี่ย 1 ผลการประเมินถูกนำไปใช้ประโยชน์ในการให้ค่าตอบแทนหรือรางวัลอย่างเหมาะสม เป็นธรรม กระบวนการ 3.64 2 ผลการประเมินถูกนำไปใช้ประโยชน์เพื่อโอกาสในการพัฒนาบุคลากรอย่างเหมาะสม เป็นธรรม 3 หน่วยงานมีการสนับสนุนงบประมาณในการสื่อสารทางอ้อม เกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงาน ในหน่วยงาน เช่น คู่มือ วารสาร เสียงตามสาย บอร์ด อินเตอร์เน็ต เป็นต้น งบประมาณ 3.71 4 ระบบ PMS Online ที่กรมนำมาใช้เป็นประโยชน์ต่อบุคลากรและหน่วยงาน 3.74 5 ระหว่างรอบการประเมินผู้บังคับบัญชามีการติดตาม พูดคุยให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาผลการปฏิบัติงานของท่านอย่างต่อเนื่อง 3.75 6 หน่วยงานมีการสนับสนุนงบประมาณในการสื่อสารทางตรง เกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงานในหน่วยงาน เช่น จัดฝึกอบรม หรือจัดประชุม เป็นต้น 3.79 7 ได้รับการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานจากผลการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นจริง ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ 3.81 8 ได้รับการประเมินสมรรถนะจากพฤติกรรมที่แสดงออกจริงตามเกณฑ์การประเมินที่กรมกำหนด 9 หน่วยงานมีระบบติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุงการบริหารผลการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน นโยบาย 3.82 10 กรมมีการสื่อสารนโยบาย หลักเกณฑ์ และแนวทางเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงานให้บุคลากรทุกกระดับถือปฏิบัติเหมือนกันทั้งกรม 3.83 ผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง บุคลากร
120
ความเชื่อมั่นของบุคลากรต่อระบบ PMS กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2559
พึงพอใจมาก 4.21 – 5.00 พึงพอใจ 3.41 – 4.20 เฉยๆ 2.61 – 3.40 ไม่พึงพอใจ 1.81 – 2.60 ไม่พึงพอใจมาก 1.00 – 1.80 ข้อ ความเชื่อมั่น ค่าเฉลี่ย 1 PMS ช่วยให้บุคลากรทุกระดับสามารถปฏิบัติงานสอดคล้องกับทิศทางและเป้าหมายของหน่วยงาน 3.71 2 PMS ช่วยผลักดันให้บุคลากรทุกระดับ ทำงานเพื่อผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของหน่วยงาน 3 PMS ช่วยให้ผู้บังคับบัญชามีข้อมูลผลการปฏิบัติงานเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานและหน่วยงานในอนาคต 3.74 4 PMS ช่วยให้ท่านเห็นภาพเชื่อมโยงของงานที่รับผิดชอบกับผลสำเร็จ/เป้าหมายของหน่วยงาน 3.77 5 PMS ช่วยให้ท่านได้รับการพัฒนาอย่างเหมาะสม 6 PMS ช่วยผู้บังคับบัญชาละท่านแก้ไขปัญหาในการทำงาน เพื่อปรับเปลี่ยนแนวทาง/วิธีการปฏิบัติงาน และการพัฒนาตัวผู้ปฏิบัติงานให้สามารถทำงานมุ่งเป้าสู่ความสำเร็จของหน่วยงาน 3.68 7 PMS ช่วยให้การประเมินผลการปฏิบัติงานมีความชัดเจนและเป็นธรรมมากยิ่งขึ้น 3.61 8 PMS ช่วยให้มีการติดตาม ตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเป็นธรรม 3.64 ภาพรวมความเชื่อมั่น 3.69
121
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของบุคลากรต่อระบบ PMS
b ลำดับ ด้านนโยบาย (Policy) 1. กรมมีการกำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และแนวทางเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจน .094 4 2. กรมมีการสื่อสารนโยบาย หลักเกณฑ์ และแนวทางเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงานให้บุคลากรทุกระดับถือปฏิบัติเหมือนกันทั้งกรม .050 9 3. หน่วยงาน มีระบบติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุงการบริหารผลการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน .046 11 ด้านขั้นตอน/กระบวนการ (Process) 4. ตัวชี้วัดรายบุคคล (KPI) มีความสอดคล้องเชื่อมโยงและตอบสนองต่อเป้าหมายของหน่วยงาน .059 7 5. สมรรถนะ (Competency) ที่ใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน มีความเหมาะสม ชัดเจน และสามารถวัดพฤติกรรมการปฏิบัติงานได้จริง .043 12 6. ระหว่างรอบการประเมินผู้บังคับบัญชามีการติดตาม และให้ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง .065 5 7. ผลการประเมินผลการปฏิบัติงานถูกนำไปใช้ประโยชน์เพื่อโอกาสในการพัฒนาบุคลากรอย่างเหมาะสม เป็นธรรม .122 2 8. ระบบ PMS Online ที่กรมนำมาใช้เป็นประโยชน์ต่อบุคลากรและหน่วยงาน .207 1 ด้านบุคลากร (People) 9. ผู้บริหารหน่วยงาน ส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารผลการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน .106 3 10 ผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมินของ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง .055 8 11. บุคลากรให้ความสำคัญในการดำเนินการเพื่อการบริหารผลการปฏิบัติงาน .049 10 12. บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารผลการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง .041 13 ด้านงบประมาณ (Price) 13. หน่วยงาน มีการสนับสนุนงบประมาณ สื่อสารทางตรง เกี่ยวกับการใช้ระบบ PMS ในหน่วยงาน เช่น จัดฝึกอบรม หรือจัดประชุม เป็นต้น .040 14 14. หน่วยงาน มีการสนับสนุนงบประมาณ สื่อสารทางอ้อม เกี่ยวกับการใช้ระบบ PMS ในหน่วยงาน เช่น คู่มือ วารสาร บอร์ด อินเตอร์เน็ต เป็นต้น .060 6
122
แผนพัฒนาปรับปรุงบริหารผลการปฏิบัติงานกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
แผนพัฒนาปรับปรุงระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 วัตถุประสงค์ ระบบบริหารผลการปฏิบัติงานกรมควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน เป็นธรรม โปร่งใส ตรวจสอบได้ กิจกรรม/ขั้นตอน 1. พัฒนานโยบาย แนวทาง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานให้มีความชัดเจน 2. ปรับปรุงกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงานให้มีมาตรฐาน เป็นธรรม โปร่งใสและตรวจสอบได้ 3. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบบริหารผลการปฏิบัติงานให้บุคลากรทุกระดับ พัฒนานโยบาย ปัจจัยที่บุคลากร พึงพอใจน้อย แผนพัฒนาปรับปรุงบริหารผลการปฏิบัติงานกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ปรับปรุงกระบวนการ ปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความเชื่อมั่นของบุคลากร เสริมสร้างความรู้
123
1. พัฒนานโยบาย แนวทาง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานให้มีความชัดเจน
ลำดับ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ผลสำเร็จแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ ผู้รับผิดชอบ ประเด็นพัฒนาปรับปรุง ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเชื่อมั่น ปัจจัยที่บุคลากรมีความพึงพอใจน้อย 1.1 ประชุมทบทวน จัดทำนโยบาย แนวทาง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 มีนโยบาย แนวทาง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 1. รอบที่ 1 : ธ.ค รอบที่ 2 : เม.ย. 59 1. คณะกรรมการกลั่นกรองฯ กรม 2. กองการเจ้าหน้าที่ - กรมมีการกำหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และแนวทาง PMS ที่ชัดเจน - 1.2 โครงการถ่ายทอดแนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคลกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ ผ่านระบบ VDO Conference หน่วยงานได้รับการถ่ายทอดแนวทาง (ร้อยละ 100) ธ.ค. 59 กองการเจ้าหน้าที่ - กรมมีการสื่อสารนโยบาย หลักเกณฑ์ และแนวทาง PMS ให้บุคลากรทุกระดับถือปฏิบัติเหมือนกันทั้งกรม 1.3 การสื่อสาร ชี้แจง นโยบาย แนวทาง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานผ่านช่องทางที่หลากหลาย เช่น หนังสือแจ้งเวียน เว็บไซด์ ประชุมชี้แจงภายในหน่วยงาน เป็นต้น หน่วยงานมีการสื่อสาร ชี้แจงภายในหน่วยงาน (ร้อยละ 100) 1. รอบที่ 1 : ธ.ค ม.ค รอบที่ 2 : เม.ย. 60 1. กองการเจ้าหน้าที่ 2. ทุกหน่วยงาน 1.4 การสรุปผลการดำเนินงานบริหารผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหารงานบุคคลหรือผู้รับผิดชอบPMSของหน่วยงาน หน่วยงานมีการสรุปผลการดำเนินงาน (ร้อยละ 100) 1. รอบที่ ครั้งที่ 1 ม.ค ครั้งที่ 2 มี.ค รอบที่ ครั้งที่ 1 มิ.ย ครั้งที่ 2 ก.ย.60 1. ทุกหน่วยงาน 2. กองการเจ้าหน้าที่ - หน่วยงานมีระบบติดตาม ตรวจสอบ และปรับปรุงการบริหารผลการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในหน่วยงาน
124
2. ปรับปรุงกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงานให้มีมาตรฐาน เป็นธรรม โปร่งใสและตรวจสอบได้
125
3. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบบริหารผลการปฏิบัติงานให้บุคลากรทุกระดับ
127
กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร
โทร : หรือ 3049
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.