งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผกาวัลย์ แดหวา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผกาวัลย์ แดหวา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผกาวัลย์ แดหวา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
วัณโรคน่ากลัว ??? ผกาวัลย์ แดหวา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช

2 วัณโรคคืออะไร

3 วัณโรคคืออะไร วัณโรค เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ชื่อ มัยโคแบคทีเรียม ทูเบอร์คูโลซิสหรือ ทีบี(Mycobacterium Tuberculosis) ที่มีขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น เป็นได้กับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย แต่ที่พบบ่อยและเป็นปัญหามากในปัจจุบัน คือ วัณโรคปอด

4 วัณโรคเกิดขึ้นได้ที่อวัยวะใดบ้าง
วัณโรคเกิดได้ทุกอวัยวะ - ปอด 80 % - ต่อมน้ำเหลือง - กระดูกและข้อ - เยื่อหุ้มสมอง - ช่องท้อง - กล่องเสียง อวัยวะสืบพันธ์,ทางเดินปัสสาวะ

5 ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์
วัณโรค มิได้ ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์

6 การแพร่กระจายเชื้อ ญาติ ผู้ป่วย ???

7

8 อาการที่ควรสงสัยเป็นวัณโรค
อาการที่พบบ่อยที่สุด คือ ไอติดต่อเกิน 2 สัปดาห์ มักมีเสมหะร่วมด้วย อาการอื่นๆที่อาจมีร่วมด้วย น้ำหนักลด อ่อนเพลีย ไข้ต่ำๆตอนบ่ายหรือค่ำเหงื่อออกตอนกลางคืน เจ็บหน้าอก หายใจเหนื่อยหอบ เบื่ออาหาร ไอเป็นเลือดหรือเสมหะมีเลือดปน 8

9 การแพร่กระจายของเชื้อวัณโรค
แหล่งแพร่เชื้อวัณโรค ผู้ป่วยวัณโรคพบเชื้อวัณโรคในเสมหะ ผู้ป่วยวัณโรคเสมหะแพร่เชื้อ (+) สามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่น ราย/ปีผู้ป่วย เสมหะลบสามารถแพร่เชื้อ ประมาณ 1-2 คน/ปี

10 1. ตรวจเสมหะ 2. เอกซเรย์ปอด การวินิจฉัยวัณโรค
ÄThe tuberculin Mantoux PPD skin test shows if a person has been infected. Ä A chest X-ray is given if the Mantoux skin test shows that a person has been infected. The X-ray shows if any damage has been done to the lungs

11 ปฏิบัติตัวอย่างไรจะปลอดภัยจากวัณโรค
- ควรตรวจเช็คร่างกาย โดยการเอ็กซเรย์ปอดอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง - นำเด็กแรกเกิดไปรับการฉีดวัคซีน บีซีจี ที่โรงพยาบาลทุกแห่งหรือสถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้าน - หากมีอาการสงสัยป่วยเป็นวัณโรค ควรรีบไปตรวจร่างกายที่โรงพยาบาลของรัฐทุกแห่งหรือสถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้าน - รักษาสุขภาพให้แข็งแรงโดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และกินอาหารที่มีประโยชน์ - หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอดส์ ซึ่งจะทำให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายเสื่อมลง มีโอกาสป่วยเป็นวัณโรคได้ง่ายขึ้น

12 ละออง ละอองขนาดใหญ่ ละอองฝอย > 5 μm > 30 μm > 100 μm ≤ 5 μm

13 ละอองขนาดใหญ่และละอองฝอย
เส้นผ่าศูนย์กลาง (µm) เวลาที่ละอองจะตกที่พื้นที่ห่างออกไป 1 เมตร 1 7.9 ชั่วโมง 5 21 นาที 10 5.7 นาที 50 13 วินาที 100 5.9 วินาที

14 การแพร่เชื้อ ผู้ป่วยวัณโรคในระยะแพร่เชื้อ 1 คนสามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้10-15 คนถ้าไม่ได้รับการรักษาภายใน1-1½ปี จะมีอัตราตายสูงถึง30-50 % ภายใน 5 ปี

15 แหล่งแพร่เชื้อคือ ผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่เชื้อ ซึ่งได้แก่ -ผู้ป่วยก่อนได้รับการรักษา -ผู้ป่วยที่ยังรักษาไม่หาย (ผู้ป่วยหลังได้รับการรักษา 2 อาทิตย์จะไม่แพร่กระจายเชื้อ)

16 22 ประเทศ ที่มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรคสูงที่สุดในโลก

17

18

19

20 เราจะยุติปัญหาวัณโรคได้อย่างไร

21 จังหวัดจะควบคุมวัณโรคอย่างไร ให้ได้ผล

22 รักษาอย่างมีคุณภาพ ครบถ้วนและต่อเนื่อง Treat & Retain

23 การกำกับการกินยา (DOT)

24 →หยิบยาให้เขา →ดูเขากลืนกิน →เสร็จแล้วบันทึก
หลักการสำคัญของ DOT →หยิบยาให้เขา →ดูเขากลืนกิน →เสร็จแล้วบันทึก

25 เชื้อดื้อยาเกิดจากอะไร
-เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ~ทั้งด้านการดูแลรักษาผู้ป่วยทางคลินิก และด้านแผนงานการรักษาวัณโรค ทำให้เกิดการรักษาวัณโรคที่ไม่เหมาะสม หรือไม่เพียงพอ ก่อให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยา

26 สาเหตุของการรักษาที่ไม่เหมาะสม
เกิดจากปัจจัยใดบ้าง?

27 ปัจจัยด้านผู้ให้บริการ
ผู้ให้การรักษาขาดความรู้ และทักษะในการรักษาวัณโรค เช่น การใช้สูตรยาที่ไม่เหมาะสม ให้ยาในขนาดที่ต่ำเกินไปหรือระยะเวลาไม่นานพอ การเติมยาทีละขนาน การบริหารจัดการที่ขาดประสิทธิภาพ ระบบการดูแลกำกับการกินยา DOT ยังไม่เข้มแข็ง

28 -ผู้ป่วยมีโรคร่วมที่ทำให้การดูดซึมยาไม่ดี (mal-absorption)
ข. ปัจจัยด้านผู้ป่วย -การกินยาไม่สม่ำเสมอหรือขาดยา เนื่องจากเกิดอาการข้างเคียง หรือปัญหาด้านสังคม -ผู้ป่วยมีโรคร่วมที่ทำให้การดูดซึมยาไม่ดี (mal-absorption)

29 ค. ปัจจัยด้านยา -ยาต้านวัณโรค ยาเสื่อมคุณภาพเนื่องจากตัวยาด้อยคุณภาพ หรือระบบขนส่งหรือระบบจัดเก็บที่ไม่มีประสิทธิภาพ

30 MDR-TB : MultiDrug Resistant TB วัณโรคดื้อยาหลายขนาน (H+R)
TB : วัณโรคธรรมดา รักษาด้วย H+R+Z+E รักษาไม่ดี MDR-TB : MultiDrug Resistant TB วัณโรคดื้อยาหลายขนาน (H+R) รักษาไม่ดี XDR-TB: Extensively Drug Resistant TB วัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรง (H+R+A/C/K+Q) XXDR-TB: Extremely Drug Resistant TB วัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก (โคตรดื้อ) TDR-TB: Total Drug Resistant TB วัณโรคดื้อยาทุกตัว (All 1st & 2nd Drugs) The term XDR (also referred to as extreme drug resistance) TB was used for the first time in November 2005 [10, 11] and provisionally defined as TB cases in persons harboring Mtb strains resistant in vitro to at least INH and RMP (MDR definition) among first-line drugs, and to at least three or more of the six main classes of second-line drugs (aminoglycosides, polypeptides, fluoroquinolones, thioamides, cycloserine, and p-aminosalicyclic acid). Subsequent reports suggested different definitions for XDR TB [12]. In October 2006 the WHO, also in consideration of the difficulty to test some SLD [8] and the fact that some forms of drug resistance are less treatable than others, revised the definition. XDR TB was defined as resistance to at least INH and RMP in addition to resistant to any fluoroquinolone, and to at least one of the three injectable second-line drugs (amikacin, capreomycin, or kanamycin) [12].

31 การรับมือกับปัญหาวัณโรคในขณะนี้คงต้อง
ยาวัณโรคเดิม แต่ต้องมีมาตรการที่เข้มข้นมากขึ้น โดยวิธี DOT (Directly Observed Treatment)

32 DOT (แบบมีพี่เลี้ยง) DOT (Directly Observed Treatment)
วิธีการรักษาด้วยระบบยาระยะสั้นโดยการสังเกตโดยตรง (แบบมีพี่เลี้ยง)

33

34 เปรียบเทียบการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่กับผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา
ผู้ป่วยรักษาครั้งแรก (ไม่มีปัญหาเชื้อดื้อยา) ผู้ป่วยMDR-TB สูตรการรักษา 2HRZE/4HR ≥6Km₅LfxEtoPASCs/≥14 LfxEto PAS Cs ค่ายารักษา/ราย ~2,000-3,000 > 200,000 ระยะเวลารักษา 6 เดือน 20-24 เดือน โอกาสรักษาหาย >95% 60-70%

35 โรคที่รักษาได้หายขาด
โรคที่รักษาไม่ได้


ดาวน์โหลด ppt ผกาวัลย์ แดหวา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google