งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวางแผนและการจัดการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวางแผนและการจัดการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวางแผนและการจัดการ
Planning and Organization การวางแผนและการจัดการ อาจารย์วนศักดิ์ ผดุงเศรษฐกิจ สาขาวิชาศิลปะการละคร มรภ.สวนสุนันทา

2 THE PRODUCTION BOOK สมุดงาน บล็อกกิ้ง - การเคลื่อนไหวของนักแสดงบนเวที
คิว - การเข้าออกของนักแสดง คิวนักแสดง คิวไฟ ม่านบนเวที - เอาไว้เปิดเมื่อเริ่มการแสดงและปิดเมื่อจบการแสดง

3 สมุดงาน คือ การรวบรวมข้อมูลเอาไว้ ตั้งแต่การบริหารจัดการ ตารางงาน
เป็นสิ่งสำคัญมากในการทำโปรดักชั่น โดยในขั้นแรกจะแบ่งเป็นสามขั้นตอน ขั้นแรก คือ ต้องมีเรฟเฟอเร้นท์ มาเป็นตัวอย่างในกระบวนการ การทำโปรดักชั่น สอง สมุดควรจะมีระบบหรือข้อมูลที่ทุกคนคุ้นเคยกับการปฏิบัติบนเวที สาม ในส่วนสุดท้ายของโปรดักชั่น สมุดโปรดักชั่นนี้จะกลายเป็นสมุดบันทึกงานอย่างเป็นทางการของโชว์ แต่ในจุดนี้คุณสามารถรวบรวมกระบวนการจนจบในสมุดได้เลย แต่จะไม่เสร็จสมบูรณ์หากยังไม่สิ้นสุดโชว์ มีข้อมูลและข้อผิดพลาดให้อัพเดทเรื่อยๆ การทำสมุดโปรดักชั่น ต้องทำอย่างแข็งแรง ทนต่อการใช้งานจะได้ไม่ฉีกขาดง่ายเพราะต้องเปิดใช้งานบ่อย ควรทำสำรองไว้อีกเล่ม เพราะจะง่ายต่อการใช้งาน เพราะทุกๆฝ่ายต้องมาเปิดอ่าน และทำให้ง่ายต่อการแยกชิ้นส่วน

4 สคริปที่แก้เสร็จสมบูรณ์พร้อมใช้งาน
The Prompt Script สคริปที่แก้เสร็จสมบูรณ์พร้อมใช้งาน Plots and Schedules แปลนงานและตารางงาน ในส่วนนี้จะรวมทั้งพลอตและตารางการพัฒนาจากข้อมูลที่ได้รวบรวม ส่วนนี้คุณสามารถเพิ่มเติมข้อมูลได้ โดยประกอบไปด้วย เป็นหนังสือที่รวบรวมปัจจัยต่างๆของการทำโปรดักชั่น เช่น บล็อกกิ้งเวที การให้คิวนักแสดง เป็นต้น •ข้อกำหนดการออกแบบเบื้องต้นทั้งหมด •คู่มือการออกเสียง •ซีน เบรกดาวน์ •ทางเข้าและทางออก •ข้อเท็จจริงและตัวเลข •แผ่นติดต่องาน •แผนผังของพื้น •หัวข้อต่างๆ •สเก็ตซ์เสื้อผ้า •เสื้อผ้าในแต่ละฉาก •ไฟในแต่ละฉาก •ตารางของดนตรีประกอบ •ซาวด์ในแต่ละฉาก •เอกสารเช็คความเรียบร้อย •ปฏิทิน •ตารางการซ้อมและการแสดง •วันที่ •วันกำหนด

5 ตารางฝึกซ้อม REHEARSAL SCHEDULES
ประกอบไปด้วยสี่ส่วนด้วยกัน ในขั้นตอนแรก ผู้กำกับหาวิธีที่ดีที่สุดในการฝึกซ้อม โดยพัฒนาตารางการฝึกซ้อมที่ผู้กำกับจะต้องมอบหมายให้กับคนในโปรดักชั่น ส่วนประกอบที่สอง ที่จะทำให้งานสำเร็จในซีนเบรกดาวน์ ส่วนประกอบที่สามคือ การยอมรับการทำงานของคนที่เราว่าจ้าง ไม่ว่าจะเป็นบริษัทต่างๆ นัแสดง ผู้กำกับเวที ส่วนประกอบสุดท้าย คือตารางการซ้อม การซ้อมเทคนิคต่างๆและวันที่แสดงจริง นี่คือข้อมูลทั่วๆไปที่จัดทำโดยผู้จัดการโปรดักชั่น ยกตัวอย่างจากตารางการทำงานลูกคุณหลวง

6 Weekly schedule ตารางงานสัปดาห์
การทำตารางงานสัปดาห์ก็เหมือนการทำตารางงานทั่วๆไปโดยเริ่มต้นจากตารางที่ว่างเปล่า เมื่อได้ตารางเปล่ามาแล้วก็หาวันในการที่จะฝึกซ้อม วันอ่านบทร่วมกันครั้งแรก ซึ่งรวมไปถึงวันที่หาบล็อคกิ้ง เพราะต้องหาก่อนที่นักแสดงจะทำความเข้าใจกับบท โดยการหาวันใส่ในตารางเราสามารถไปถามจากผู้กำกับที่มีประสบการณ์หรือผู้กำกับเวทีให้ตัดสินใจหาวันที่เป็นไปได้ สำหรับการทำโปรดักชั่น

7 Daily schedules ตารางแต่ละวัน
ตารางงานแต่ละวัน จะมีรายละเอียดที่ยิบย่อยออกไปอีก โดยจะเปลี่ยนแปลงการทำงานชั่วโมงต่อชั่วโมง เช่น ซ้อม 8.00 พัก ซ้อมต่อ หรือเป็นตารางที่โชว์ในวันแสดงจริง ที่จะมีตารางการแสดงที่มีไว้กำหนดเวลาการทำงานให้ตรงเวลา

8 ลูกคุณหลวง

9 NEW PLAYS การเริ่มใหม่
เมื่อเราได้รับบทละครมาแล้ว เราก็สามารถเปลี่ยนแปลงบทละครได้ตลอดเวลา และการทำงานทั้งหมดจะง่ายขึ้น ถ้ามีคอมพิวเตอร์และซอฟแวร์ที่เหมาะสม สามสิ่งที่ทำให้เกิดโรดักชั่นขึ้นคือ การปรับปรุงบท การกระจายบท การจัดการบท การปรับปรุงบทคือ บทที่มีดั้งเดิมอยู่แล้ว เราสามารถเปลี่ยนแปลงมันได้ตลอดเวลาจนกว่าจะได้อย่างที่ต้องการ สเตจเมเนจเป็นสิ่งที่สำคัญน้อยที่สุด และเป็นฝ่ายที่มีความรับผิดชอบในการปรับปรุงแก้ไขตามระยะเวลาที่กำหนดเอาไว้ แม้ว่าบทจะแก้ไขมามากน้อยมากแค่ไหน ก็ต้องกระจายให้สมาชิกโปรดักชั่นรู้ทั้งหมด เช่น นักแสดง หรือฝ่ายต่างๆ โดยเฉพาะอย่ามองข้ามฝ่ายดีไซน์ แม้ว่าจะเป็นการปรับปรุงแก้ไขเล็กๆน้อยๆ แต่ในฝ่ายต่างๆก็ควรจะมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขไปด้วย จะต้องใช้เวลาภายใน 24 ชั่วโมงเท่านั้นในการกระจายงาน

10 การเก็บบันทึกอันเที่ยงตรงของพัฒนาการของบท เป็นสิ่งสำคัญที่จะรักษาที่รวมทุกๆเวอร์ชั่นของบท ของการแก้ไข จะเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างสูง เมื่อผู้กำกับและคนเขียนบทคิดว่าการเปลี่ยนล่าสุดที่เพิ่งทำไปไม่เวิร์ค และจะกับไปใช้บทเดิม ผู้ที่คุ้นเคยกับโปรแกรมเวิร์ด ในการแก้ไขบท ยังคงทราบของโปรแกรมเหล่านี้ในการเปลี่ยนบท ส่วนโปรแกรมที่ซับซ้อนและทรงพลังขึ้น และมีประโยชน์ ในการสร้างการจัดการกับบท ใช้เพียงคำสั่งเดียว เปลี่ยนชื่อตัวละคร ในทุกส่วนของบท บททั้งหมดสามารถจัดเรียงได้ในหลายรูปแบบ การเปลี่ยนต่างๆ อาจจะขีดไฮไลท์การเปลี่ยนแปลงแก้ไข โปรแกรมนี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยอัตโนมัติ สามารถตั้งค่าเพื่อนจัดเก็บแฟ้มในหลลายๆแบบได้ เพื่อใช้อ้างอิงในอนาคต

11 Production Meetings การประชุมโปรรวม
การประชุมโปรรวม เป็นการประชุมแต่ละฝ่ายที่อยู่ในโปรดักชั่นทั้งหมด โดยการประชุม ควรจะประกอบไปด้วย ผู้กำกับ นักแสดง ผู้กำกับเวที ฝ่ายออกแบบ ผู้อำนวยการผลิต ฝ่ายเทคนิค และ หัวหน้าฝ่ายต่างๆที่มีส่วนร่วมในโปรดักชั่น เป็นต้น ในส่วนของผู้ที่รับผิดชอบอุปกรณ์ประกอบฉาก จะเข้าแค่อาทิตย์ละครั้งเพื่อบอกความคืบหน้าของงาน โดยในเวลาการประชุม ทุกคนต้องมีความเคารพซึ่งกันและกัน และในการประชุมแต่ละครั้งต้องมีคนที่คอยจดความคืบหน้าของการประชุมเพื่อเอาไว้ใช้ในการทำโปรดักชั่นต่อไป

12 THE REHEARSAL SPACE พื้นที่ในการซ้อม
สเตจเมเนเจอร์เป็นคนจัดหาพื้นที่ในการซ้อม หาพื้นที่ให้ใกล้เคียงกับพื้นที่การแสดงจริงให้มากที่สุด ต้องพร้อมสำหรับการที่นักแสดงที่จะมาฝึกซ้อม พื้นในการซ้อมต้องพร้อมในการเต้นและการแสดง เช่น พื้นคอนกรีต พื้นหินอ่อน หรือพื้นที่ที่มีความปลอดภัยในการใช้งาน

13 Spiking Rehearsal Furniture Rehearsal Props and Costumes
การมาร์คบล็อกกิ้งบนเวที Rehearsal Furniture เฟอร์นิเจอร์ในการซ้อม เตรียมเฟอร์นิเจอร์ในการซ้อมให้ใกล้เคียงกับเฟอร์นิเจอร์ที่ใช้ในการแสดงจริงที่สุด หาเฟอร์นิเจอร์ที่เป็นรูปแบบง่ายๆไม่มีรายละเอียดเยอะ ในกรณีที่ไม่มีงบประมาณหรือหาไม่ได้ ก็อาจจะหาอย่างอื่นมาแทนก็ได้ เริ่มจากการใช้เทปกาวมาร์คในพื้นที่ห้องซ้อม โดยสเกลให้ใกล้เคียงกับพื้นที่บนเวทีจริง มาร์คทางเข้าออก และเซนเตอร์บนเวที Rehearsal Props and Costumes พร๊อบและคอสตูมในการฝึกซ้อม อุปกรณ์ในการซ้อมและชุดในการซ้อม เป็นไปได้ก็ควรหาของจริงมาใช้ในการซ้อม

14 Supplies and Equipment ซัพพลายและอุปกรณ์ต่างๆ
จัดเตรียมอุปกรณ์และการซ่อมแซมอุปกรณ์ให้พร้อมตลอดเวลา อย่างแรกคือ กล่องปฐมพยาบาล เป็นสิ่งสำคัญอย่างแรกที่ต้องมี เช่น ยาสามัญ อุปกรณ์ออฟฟิศ อุปกรณ์อำนวยความสะดวก เครื่องมือต่างๆ


ดาวน์โหลด ppt การวางแผนและการจัดการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google