งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะผู้เยี่ยมสำรวจจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะผู้เยี่ยมสำรวจจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะผู้เยี่ยมสำรวจจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
ยินดีต้อนรับ คณะผู้เยี่ยมสำรวจจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล อ.นพ. สมคิด เลิศสินอุดม หัวหน้าผู้เยี่ยมสำรวจ อ.นพ.สุรพร ก้อนทอง อ.นลกฤช ศรีเมือง อ.ทพ.สรชัย เทพธรณินทรา 20-21 ธันวาคม 2561

2 จ.สมุทรสงคราม ประชากร 156,369 คน อ.เมือง 85,406 คน
สภาพแวดล้อมและประชากรในความรับผิดชอบ จ.สมุทรสงคราม ประชากร 156,369 คน อ.เมือง 85,406 คน โซนอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ติด ถ.พระราม 2 โซนประมง - อ่าวไทย โซนเกษตรกรรม/ทำสวน/สวนผลไม้ (กระดูกหักจากอุบัติเหตุ ตกต้นไม้ ) ปัญหาด้านสุขภาพ โรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมบริโภค ( DM HT) โรคทางระบาดวิทยา :DHF กลุ่มโรคติดต่อ : HIV,TB กลุ่มโรคเฉพาะพื้นที่ : Diarrhea ภัยสุขภาพ : อุบัติเหตุจราจร ทางบก ทางน้ำ เด็กจมน้ำ แรงงานต่างด้าว : TB

3 โรงพยาบาลทั่วไป ระดับ S ขนาด 311 เตียง
สาขาอายุรกรรม เตียง สาขากุมารเวชกรรม เตียง สาขาศัลยกรรม เตียง สาขาสูติ-นรีเวชกรรม เตียง สาขาศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ เตียง พิเศษทั่วไป 5 หอผู้ป่วย เตียง ไตเทียม 15 เตียง OR ห้อง LR เตียง ICU  อายุรกรรม เตียง  ศัลยกรรม เตียง

4 อัตรากำลัง บุคลากรทั้งหมด = 901 คน(1ต.ค.61)
อัตรากำลัง บุคลากรทั้งหมด = 901 คน(1ต.ค.61) สาขา กรอบ FTE ตามจริง แพทย์ 60 44 เภสัชกร 21 18 พยาบาล 288 289 นักเทคนิคฯ/นักวิทย์ จพ.วิทย์ฯ 15 นักกายภาพบำบัด 19 9 นักจิตวิทยาคลินิก/ นักจิตวิทยา 5 3 ประเภท ข้าราชการ คน พกส คน ลูกจ้างประจำ 106 คน พนร คน ลูกจ้างชั่วคราว 127 คน อายุ <25 ปี คน 25-35ปี คน 36-45ปี คน 46-55ปี คน > 56 ปี คน แผนอัตรากำลังทดแทน ให้ทุน แพทย์ พยาบาล เตรียมความพร้อมสำหรับผู้บริหารรุ่นใหม่

5 ผู้ป่วยนอก เฉลี่ย/วัน
5 อันดับโรคผู้ป่วยนอกปี59-61 ผู้ป่วยนอก เฉลี่ย/วัน No. 59 60 61 1 HT 2 DM Dyslipidemia 3 4 URI L-spondylosis 5 OA Knee Spinal stenosis

6 5 อันดับโรคผู้ป่วยในปี59-61
ผู้ป่วยใน เฉลี่ย/วัน ลำ ดับ 2559 2560 2561 1 Gastroenteritis 2 CHF 3 UTI 4 Senile cataract Pneumonia Ac.bronchitis 5 Ac. bronchitis Cerebral infarction อัตราการครองเตียง

7 5 สาเหตุการตายผู้ป่วยปี 59- 61
5 สาเหตุการตายผู้ป่วยปี อัตราการตาย ลำดับ 2559 2560 2561 1 Pneumonia 2 Septicemia 3 ICH 4 UTI CHF 5 cirrhosis of liver Cerebral infarction

8 กลุ่มโรคที่พัฒนา กลุ่มผู้ป่วยโรคเสี่ยงสูง :
Clinical Population กลุ่มโรคที่พัฒนา กลุ่มผู้ป่วยโรคเสี่ยงสูง : TRAUMA : Multiple trauma, HI NON TRAUMA : Stroke, STEMI, Severe Sepsis NF, UGI bleeding, PPH กลุ่มผู้ป่วยโรคที่พบมากที่สุด : HT, DM กลุ่มผู้ป่วยกลุ่มผู้ป่วยโรคค่าใช้จ่ายสูง : Replacement กลุ่มผู้ป่วยกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/นอนนาน :COPD กลุ่มผู้ป่วยโรคทางระบาดวิทยา :DHF กลุ่มผู้ป่วยโรคติดต่อ : HIV,TB กลุ่มโรคเฉพาะพื้นที่ :Diarrhea โรคแรงงานต่างด้าว : TB ด้านอายุรกรรม 1.Stroke 2. Sepsis 3. STEMI 4. DM 5. HT COPD 7. CRF TB 9. AIDS 10. Diarrhea ด้านสูติ-นรีเวชกรรม 1. PPH 2. GDM 3. Ectopic Pregnancy 4. PIH ด้านศัลยกรรม UGI bleeding HI 3. Appendicitis 4. NF ด้านศัลยกรรมกระดูก 1.Fracture around hip 2.OA Knee 3.Fx.femur ด้านกุมารเวชกรรม 1.DHF 2.Asthma 3.Neonatal Jaundice 4.Febrlie convulsion

9 Strategic management

10 การกำหนดยุทธศาสตร์ ผู้บริหาร + ตัวแทนจากกลุ่มงานและหน่วยงานต่างๆ 2-4 คน •วิเคราะห์ความต้องการของผู้รับผลงาน •ทบทวนแผนยุทธศาสตร์ฉบับเดิม • SWOT Analysis Strength : ทำเลที่ตั้งของรพ.ดี บรรยากาศดี มีแผนกลยุทธ์และแผนการทำงานชัดเจน มีอุปกรณ์การแพทย์ทันสมัย ผู้บริหารระดับสูงสุด เอาใจใส่ต่อการทำงาน workness : ขาดแคลนงบประมาณและมีหนี้สินมาก ระบบสารสนเทศ ซ้ำซ้อน ไม่ตอบสนองผู้ใช้ ขาดการวิเคราะห์ภาระงานมีมาก /จนท.มีน้อย การสื่อสารถ่ายทอดนโยบาย/แผนการทำงานถึงผู้ปฏิบัติงานไม่ชัดเจน Opportunity : นโยบาย Service plan ทำให้มีการทำงานร่วมกันเป็นเครือข่ายบริการ มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทันสมัย(Internet) นโยบายด้านสุขภาพทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้ง่าย ผู้รับบริการสนใจและรับรู้ข่าวสารมากขึ้น การเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ทำให้ต้องเตรียมความพร้อมด้านอุบัติเหตุทางบก/ทางน้ำ นโยบายตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว ส่งผลให้ รพ.มีรายรับและสามารถคัดกรองและป้องกันการแพร่กระจายโรคติดต่อ Treat : พรบ.คุ้มครองผู้บริโภค/สิทธิผู้ป่วย ส่งผลกระทบต่อขวัญและกำลังในผู้ปฏิบัติงาน ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรังขาดการดูแล พฤติกรรมสุขภาพเสี่ยงต่อการเกิดโรค ประชาชนเรียกร้องสิทธิมากขึ้น นโยบายตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว ส่งผลให้ มีภาระงานเพิ่มขึ้น วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์

11 โรงพยาบาลคุณภาพ การเงินมั่นคง ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม
วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) โรงพยาบาลคุณภาพ การเงินมั่นคง ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม 1. จัดระบบบริการให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน 2. บริหารระบบการเงินและการคลังให้มีประสิทธิภาพ 3. ส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย 9 เป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic issue) 17 กลยุทธ์ 1. เพิ่มศักยภาพในการบริการ 26 ตัวชี้วัด 2. เพิ่มรายได้เพื่อความยั่งยืน 51 แผนงาน/โครงการ 3. บูรณาการด้านภาคีเครือข่าย

12 ค่านิยมองค์กร (Core Value)
Safety : ทุกคนปลอดภัย Organization : ยึดเป้าหมายองค์กร Management by fact : สะท้อนข้อเท็จจริง Development : อิงการเรียนรู้ Efficiency & Effectiveness : มุ่งสู่ผลงาน Team work : ประสานเป็นทีม S ค่านิยมองค์กร (Core Value) O M D E T

13 ความท้าทายเชิงกลยุทธ์
ลดอัตราตายผู้ป่วยกลุ่มโรคเสี่ยงสูง ได้แก่ Sepsis, Stroke, STEMI, Trauma การป้องกันภัยสุขภาพ ได้แก่ ไข้เลือดออก วัณโรค อุจจาระร่วงและการจมน้ำ การสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย ความอยู่ดีมีสุขและความผูกพันของบุคลากร การบริหารจัดการด้านการเงิน

14 Core Competency การดูแลรักษาผู้ป่วย Stroke

15 การถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ Deployment Strategy
ผู้อำนวยการโรงพยาบาล รอง/ผู้ช่วยผู้อำนวยการฯ ประธาน ทีมนำ หัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้างาน/ฝ่าย/หน่วยงาน ผู้ปฏิบัติงาน ข้อมูล/ตัวชี้วัด เป้าหมาย 2558 2559 2560 2561 -ร้อยละของบุคลากรที่รับรู้ทิศทางองค์กร ระดับผู้บริหาร >80% 81.79 80.89 81.12 79.68 ระดับผู้ปฏิบัติ 79.11 78.69 77.53 77.06

16 การนำค่านิยมสู่การปฏิบัติ
ปรับเปลี่ยนทางเข้า ER ให้เข้าถึงบริการรวดเร็ว นำค่านิยม SOMDET มาขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพและความ ปลอดภัยผ่านการทำ Hospital Roundและการติดตามผลลัพธ์ทุกเดือน safety Stroke Fast tract ที่มีประสิทธิภาพ Organization -พบการเข้าถึง rt-PA ช้า จึงปรับการเริ่มยาที่ ER ส่งผลให้ การเข้าถึง rt-PA เพิ่มขึ้น Management by fact -ให้ความรู้และทักษะแก่พยาบาลเรื่องการให้ยาถูกต้องและการเฝ้าระวังเหมาะสม Development Efficiencey & Effectiveness - เภสัชสนับสนุนเรื่องการส่งมอบยา พยาบาล ICU เป็นพี่เลี้ยง Team Work

17 เข็มมุ่งการพัฒนาคุณภาพ ปี 2561
1. สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง 3. เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิต 4. เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน 5. พัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันสู่มาตรฐาน SSCC

18 การรายงานความเสี่ยง/อุบัติการณ์
1. สร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยในองค์กร การรายงานความเสี่ยง/อุบัติการณ์ ปัญหา หน่วยงานสนับสนุนรายงานน้อย ค้นหาเชิงรุกจากการทบทวน เวชระเบียนยังน้อย - การรายงานทางโปรแกรมความเสี่ยง การแก้ไข - ผู้บริหารกำหนดนโยบาย - Risk round ร่วมกับทีม hospital round - ติดตามการทบทวนเวชระเบียน กระตุ้นโดยมอบรางวัล อบรมให้ความรู้เจ้าหน้าที่ เพิ่มช่องทางให้รายงานผ่านสมาร์ทโฟน การเขียนบันทึกประจำวัน เป้าหมายเพิ่มขึ้น 10% จากปี 2560 (เดือนละ 834 รายงาน)

19 2.เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง
I/E ratio เพิ่มบริการใหม่ บริการตรวจและวินิจฉัยมะเร็งเต้านมด้วยเครื่องMammogram บริการวัดความหนาแน่นของมวลกระดูก(Bone Density Test) เพิ่มยอดเงินบริจาค (หน่วย:ล้านบาท) (บริจาคเงินสดและครุภัณฑ์) ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 8.10 21.59 6.91 21.58 ขยายบริการเดิม เพิ่มเตียงไตเทียม เตียงนวดแผนไทย Renovate ห้องพิเศษ 32 ห้อง ลดรายจ่าย ยา เวชภัณฑ์ กระดาษ CT

20 3.เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิต
อัตราตาย Sepsis /septic shockสูงเกินเป้าหมาย - มีภาวะ septic shock เมื่อถึงรพ. - การวินิจฉัยไม่ถูกต้อง/ ล่าช้า - การให้ Antibiotic ไม่เหมาะสม การแก้ไข - ประชาสัมพันธ์อาการที่ควรเข้ารับการรักษาลงสู่ ชุมชน ผู้นำชุมชน -ทีมนำอายุรกรรมจัดทำ CPG ครอบคลุมการส่งต่อ การวินิจฉัย และการให้ ABO ใช้ทั้งจังหวัด - จัดทำ antibiogram ให้เร็วขึ้น ในปี 2560 อัตราตาย Septic shock เพิ่มขึ้น ทบทวน พบปัญหาการ Resuscitation fluid อย่างมี ประสิทธิภาพเพียงร้อยละ 30 โดยเฉพาะกลุ่มโรคร่วม CKD, Heart ทีมนำอายุรกรรมจึงปรับ CPGและ ให้ ความรู้แก่บุคลากร การประเมินความรุนแรงและ รายงานแพทย์ทันเวลาเพียงร้อยละ จึงนำ SOS Score มาเป็น EWS ประเมินความรุนแรงของ Sepsis ผลลัพธ์ ในปี 2561 อัตราตาย Sepsis /Septic shock ลดลง Septic shock Sepsis

21 4.เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
-พัฒนาระบบ fast tract Acute MI โดยจัดทำ CPG ครอบคลุมทั้งระบบการส่งต่อในจังหวัดและเครือข่าย กำหนดกลุ่มอาการที่ต้องเข้า fast tract กำหนดให้ Trop-T เป็น Lab วิกฤต พบอัตราตายสูงขึ้นจากการได้รับยาล่าช้าจากการรอ Lab จึงกำหนดให้ผู้ป่วย STEMI ให้มีการให้ยาได้เลยโดยไม่ต้องรอผล trop- T พัฒนาศักยภาพแพทย์และพยาบาล ER ในการแปลผล EKG -มีระบบปรึกษา staff ทาง line ในปี 2560 ปรับปรุงระบบการเริ่มให้ยา SK ได้ตั้งแต่รพ.ชุมชน และที่ER ผลลัพธ์ อัตราตายลดลง ผู้ป่วยได้รับ SK ใน 30 นาทีปี เป็นร้อยละ 51.61,84.78 ตามลำดับ

22 5.พัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน สู่มาตรฐาน SSCC
- พัฒนาระบบ fast tract stroke ทั้งจังหวัด - สร้าง stroke awareness - คัดกรองกลุ่มเสี่ยงด้วยการประเมิน CVD risk กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงลง mapping - ในปี 2560 เพิ่มศักยภาพในการให้ยาละลายลิ่ม เลือดได้ตั้งแต่ที่ ER - พัฒนา stroke unit 10 เตียง เพื่อให้ผู้ป่วย ได้รับการดูแลแบบเฉพาะทาง ผลลัพธ์ ในปี 2561 พบอัตราตายลดลง หลังดำเนินการอัตราการเข้าถึงยาใน 60นาที เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 68.18

23 3 s เชื่อมโยงลงสู่ชุมชน
Secondary prevention & Post health promotion Primary prevention Pre Hospital 1.คัดกรองปัจจัยเสี่ยง DM , HT , COPD โรคหลอดเลือด (ไขมัน) 2.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3.การประชาสัมพันธ์เพื่อ การรับรู้อาการนำ Community Home ward & Home Health care กลุ่มโรค 3 s acute - เน้นการเข้าถึงบริการ - การดูแลส่งต่อ ที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ปฏิบัติ ตาม แนวทาง การ วางแผน การ จำหน่าย

24 ผลลัพธ์การเชื่อมโยงลงสู่ชุมชน(Pre-hospital)
อัตราผู้ป่วยที่มารพ.ด้วยภาวะ severe sepsis/septic shock Onset to door in stroke (ใน3ชม) Onset to door in STEMI(ใน3ชม)

25 ผลลัพธ์การเชื่อมโยงลงสู่ชุมชน(Post-hospital)
อัตราผู้ป่วย acute stroke ที่ ADL เพิ่มขึ้น อย่างน้อย1ระดับ ภายใน 6 เดือนแรก >80% อัตราการ re-admit ภายใน28 วัน ในผู้ป่วยstroke <1.5%

26 เพิ่มศักยภาพในการบริการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 เพิ่มศักยภาพในการบริการ

27 Early Operation (ปี61=60%)
อัตราตายในผู้ป่วย multiple trauma ที่ ps > 0.75 ประสิทธิภาพของ Pre-hospital ที่ดีและรวดเร็ว(EMS ใน 10นาทีปี2561=95.22%) Early Diagnosis Early Operation (ปี61=60%)

28 การรักษาผู้ป่วยวัณโรค
ลดอัตราป่วยตายด้วยTB เพิ่มการค้นหาเชิงรุก - ค้นหา case เชิงรุกในชุมชน mobile x-ray ในกลุ่มเสี่ยง - คัดกรองผู้สัมผัสร่วมบ้าน - ป้องกันการแพร่กระจาย ระบบ DOTS การ counseling เตรียมผู้ป่วยก่อนให้ยา - แกนนำ อสม.ติดตามการรับประทานยา

29 การควบคุมวัณโรคในแรงงานต่างด้าว
การควบคุมวัณโรคจากการตรวจสุขภาพในแรงงานต่างด้าวยังไม่ครอบคลุม Purpose เพิ่มอัตราการเก็บเสมหะตรวจในแรงงานต่างด้าวที่มีผลเอกซเรย์ปอดสงสัยวัณโรค Process กรณี ONE STOP SERVICE ติดตั้งระบบอ่านฟิล์มเอกซเรย์ ณ.จุดบริการ ผลเอกซเรย์ปอดผิดปกติ เก็บเสมหะทันที นัดผู้สงสัยพบเจ้าหน้าที่คลินิกวัณโรค ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อชะลอการออกใบรับรองแพทย์ กรณีรับบริการที่ร.พ.สมเด็จพระพุทธเลิศหล้า ปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติของคลินิกวัณโรค จัดทำฐานข้อมูลแรงงานต่างด้าวที่มีผลเอกซเรย์ปอดผิดปกติและเข้ารับการรักษา ความครอบคลุมในการเก็บเสมหะส่งตรวจหาเชื้อวัณโรค ในรายที่สงสัยจาก CXR และอัตราการติดเชื้อวัณโรคในระยะแพร่เชื้อ

30 อุจจาระร่วงเฉียบพลัน อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วง
Problem โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน มีอัตราป่วยสูงกว่า ค่ามัธยฐานเกือบทุกปี พบอัตราป่วยสูงสุดในกลุ่มอายุ 0-4 ปี แต่ไม่พบมีการระบาดของโรค Purpose ลดอัตราป่วยโรคอุจจาระร่วง น้อยกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปี (ไม่เกิน /แสน ปชก.) Process ให้สุขศึกษา/ค้นหาปัจจัยเสี่ยง ในกลุ่มเด็กป่วย (OPD) อบรมให้ความรู้แก่ครูในศูนย์เด็กเล็ก ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (WBC,ANC) ให้สุขศึกษา/ค้นหาปัจจัยเสี่ยง ในกลุ่มเด็กป่วย (IPD) และส่งต่อ รพ.สต. เพื่อติดตามประเมินการเกิดโรคซ้ำ รพ.สต. มีการประเมินร้านอาหาร ตลาดนัด ในพื้นที่ ตามข้อกำหนดด้านสุขาภิบาลอาหาร ปีละ 2 ครั้ง/สุ่มตรวจคลอรีนตกค้าง ในน้ำใช้ทุกสัปดาห์

31 เด็กจมน้ำ อุบัติเหตุเด็กตกน้ำ
Problem สภาพทางภูมิศาสตร์ มีลำคลอง 366 สาย Purpose ลดอัตราเด็กจมน้ำตายในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี Process ประสานกับองค์การบริหารส่วนตำบล และเทศบาลเพื่อร่วมดำเนินการ สอนและฝึกปฏิบัติการช่วยเหลือเมื่อพบคนตกน้ำ และฝึกการลอยตัวในน้ำ นักเรียนชั้นประถมปีที่1 จำนวน 3 ตำบล 706 คน จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อความปลอดภัย จำนวนเด็กจมน้ำ

32 Customer Voice ระยะเวลารอรับบริการนาน
พัฒนาโปรแกรมในห้องตรวจทันตกรรม สามารถดูผล x-ray ฟันผ่านคอมพิวเตอร์ เริ่ม ธันวาคม 2560 พัฒนาโปรแกรมบริการผู้ป่วยให้เป็นระบบ EMR (Electronic Medical Record System) เริ่มดำเนินการวางระบบเครื่องแม่ข่ายและโปรแกรมระบบ EMR ในเดือนมีนาคม 2561 พัฒนาโปรแกรมแจ้ง status การผ่าตัด และ สถานะผู้ป่วยในคนไข้ฉุกเฉิน เริ่มกุมภาพันธ์ 2561 ปรับปรุงระบบ PACS ของ Mammogram และCT scan ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ระยะเวลารอคอยผู้ป่วยนอก 169 164 145 141 อัตราความพึงพอใจผู้ป่วยนอก 74.13 74.35 75.54 73.06

33 คะแนนความอยู่ดีมีสุขและความผูกพัน
Staff Engagement คะแนนความอยู่ดีมีสุขและความผูกพัน 3 ลำดับที่ดำเนินการ -ความก้าวหน้าในงาน : เปลี่ยนประเภท(ลจ.ชค. เป็น พรก./พกส. ) : เปลี่ยนสายงาน(ผู้ช่วยเหลือคนไข้เป็นผู้ช่วยพยาบาล): Sucession plan -สภาพการทำงาน : จัดทำแผนเครื่องมือโดยหน่วยงาน : ฝึกฝนให้มีความชำนาญในการใช้เครื่องมือเพื่อป้องกันอันตรายและความผิดพลาด -ภาพลักษณ์องค์กร : ส่งเสริมการสร้างผลงานและการประชาสัมพันธ์รางวัลผลงานให้ทราบทั้งองค์กร เช่น รางวัลหน่วยงานจริยธรรมดีเด่น ผลงานวิจัยระดับเขต/ประเทศ

34 เพิ่มรายได้เพื่อความยั่งยืน
ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 เพิ่มรายได้เพื่อความยั่งยืน

35 2.เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง
I/E ratio เพิ่มบริการใหม่ บริการตรวจและวินิจฉัยมะเร็งเต้านมด้วยเครื่องMammogram บริการวัดความหนาแน่นของมวลกระดูก(Bone Density Test) เพิ่มยอดเงินบริจาค (หน่วย:ล้านบาท) (บริจาคเงินสดและครุภัณฑ์) ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 8.10 21.59 6.91 21.58 ขยายบริการเดิม เพิ่มเตียงไตเทียม เตียงนวดแผนไทย Renovate ห้องพิเศษ 32 ห้อง ลดรายจ่าย ยา เวชภัณฑ์ กระดาษ CT

36 CMI ปี 2558 – 2561 เป้าหมาย >1.2

37 บูรณาการด้านภาคีเครือข่าย
ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 บูรณาการด้านภาคีเครือข่าย

38 การคัดกรอง DM/HT ในประชาชนอายุ35ปีขึ้นไป
(เกณฑ์คัดกรอง 90%) Problem มีผู้ป่วยรายใหม่ DM/HT เพิ่มขึ้นทุกปี Purpose ลดผู้ป่วย DM/HT รายใหม่ Process มีการคัดกรองที่เพิ่มขึ้น ดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ.2ส. โดยทีมสหวิชาชีพ ของ รพ.ร่วมกับ รพ.สต ทุกแห่ง ร้อยละ 87 ของกลุ่มเสี่ยง รพ.สต ทุกแห่งมีเครื่องออกกำลังกายเพื่อใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม นำ Home BP มาใช้เพื่อยืนยันการวินิจฉัยกลุ่มเสี่ยงสูง HT 117 คน DM HT รายใหม่ DM/ HT

39 อัตราป่วยต่อแสนประชากร และจำนวนผู้เสียชีวิตจากไข้เลือดออก
ความร่วมมือในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก -ลดอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ลดลงร้อยละ 8 ของค่ามัธยฐาน5 ปี (ไม่เกิน 174.6/แสน ปชก.) -ไม่พบผู้ป่วยเสียชีวิต -ไม่เกิด Generation 2 อัตราป่วยต่อแสนประชากร และจำนวนผู้เสียชีวิตจากไข้เลือดออก -อบรมแนวทางการดูแลรักษาให้แพทย์จบใหม่ - มี MR.ไข้เลือดออกประจำที่ รพ.สมเด็จฯ/รับreferผู้ป่วยทุกราย -การป้องกันโรค(พ่นยุงทั้งอำเภอ/ทำลายแหล่งฯ ทุก 3 เดือน/ การสุ่มประเมินค่าHI,CI/โครงการมือปราบน้อยตามรอยลูกน้ำ) -มีการรายงานโรคผ่านระบบ Application -ทีมSRRTควบคุมโรคตามมาตรการ 3-3-1 -ตั้งทีมSRRTเสริม กรณีเกิดการระบาดของโรค

40 ตัวชี้วัดตามประเด็นยุทธศาสตร์ ปี 2561
จำนวน KPI ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ KPI เพิ่มศักยภาพในการบริการ 23 8 34.78 เพิ่มรายได้เพื่อความยั่งยืน 5 2 40 บูรณาการด้านภาคีเครือข่าย 4 3 75 รวม 32 13 40.63

41 เข็มมุ่งการพัฒนาคุณภาพ ปี 2562
1. สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในองค์กร 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง 3. เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสโลหิต 4. เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน 5. พัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันสู่มาตรฐาน SSCC

42 ประกาศเกียรติคุณงานสมาธิบำบัดดีเด่นระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2559
ผลงานที่ภูมิใจ หน่วยงานต้นแบบการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนการให้บริการทางการแพทย์ ประจำปี 2559 ประกาศเกียรติคุณงานสมาธิบำบัดดีเด่นระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2559 ER STAR Award โรงพยาบาลที่มีศักยภาพอุบัติเหตุฉุกเฉินพร้อมพัฒนา ER ดีเด่น ประจำปี 2559 (ระดับS+M1) โรงพยาบาลผ่านการประเมินมาตรฐานโรงพยาบาลคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค ปีงบประมาณ 2559

43 ผลงานที่ภูมิใจ ผ่านการประเมินศูนย์ราชการสะดวก 5 ก.ย.2560
ประกาศนียบัตรโรงพยาบาลผ่านมาตรฐาน Green & Clean Hospital ระดับดี ปี 2560 ผ่านการประเมินศูนย์ราชการสะดวก 5 ก.ย.2560 รางวัลหน่วยงานที่มีผลงานดีเด่นด้านการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ประจำปี2561

44 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt คณะผู้เยี่ยมสำรวจจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google