ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยแก้วเก้า หงสกุล ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย... โกมินทร์ อินรัสพงศ์
การบริหารงบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย... โกมินทร์ อินรัสพงศ์
2
หลักการบริหารงานของ อปท.
เป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำบริการสาธารณะ อิสระในการกำหนดนโยบายการเงินการคลัง กำกับดูแลเท่าที่จำเป็น ตามกฎหมายกำหนด
3
วงจรการบริหารงานคลังท้องถิ่น การเบิกจ่ายเงินและลงบัญชี
การจัดทำแผนพัฒนา การบริหารรายได้ การจัดทำงบประมาณ การบริหารงานพัสดุ การเบิกจ่ายเงินและลงบัญชี การตรวจสอบการคลัง
4
หลักการสำคัญในการตั้งงบประมาณ
ต้องตราเป็นเทศบัญญัติ / ข้อบัญญัติ เว้นแต่ มีกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง นส. สั่งการ กำหนดเป็นอย่างอื่น เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ของ อปท. * * * ตามรูปแบบที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด ถูกต้องตามด้านแผนงาน งาน หมวดประเภทรายจ่าย
5
การพิจารณาอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท เพื่อนำไปประกอบการตั้งงบประมาณ
5
6
อำนาจหน้าที่ของ อบจ. 1. ตาม พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด มาตรา 45
1. ตาม พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด มาตรา 45 - ตราข้อบัญญัติโดยไม่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมาย - สนับสนุนราชการส่วนท้องถิ่นอื่นในการพัฒนาท้องถิ่น - ประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ของราชการ ส่วนท้องถิ่นอื่น - กิจการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง - จัดทำกิจการอื่นใดตามที่กำหนดไว้ใน พรบ. นี้ หรือกฎหมายอื่น กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของ อบจ. ฯลฯ
7
2. ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2541 กิจการที่ราชการส่วนท้องถิ่นอื่น สมควรให้ อบจ. ร่วมดำเนินการ หรือจัดทำ - จัดให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร - กำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล - รักษาความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน - จัดการศึกษา - จัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ซึ่งอย่างน้อยต้องเป็น ทางหลวงชนบทตามกฎหมายว่าด้วยทางหลวง - ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - ส่งเสริมการท่องเที่ยว ฯลฯ
8
3. ตาม พ.ร.บ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ พ.ศ. 2542 มาตรา 17
- การสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาท้องถิ่น - การจัดการศึกษา - การส่งเสริมกีฬา จารีตประเพณี และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น - การสร้างและบำรุงรักษาทางบกและทางน้ำที่เชื่อมต่อระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น - สนับสนุนเพื่อช่วยเหลือส่วนราชการ หรือ อปท. อื่น ในการพัฒนาท้องถิ่น - การสังคมสงเคราะห์ พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส ฯลฯ
9
4. ตามประกาศคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรื่อง การกำหนดอำนาจ และหน้าที่ ในการจัดระบบบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อ 1 ลักษณะของการดำเนินงานของ อบจ. ในการให้บริการสาธารณะในเขตจังหวัด (1) ดำเนินงานในโครงการที่มีขนาดใหญ่ที่เกินศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นในเขตจังหวัด
10
(2) เป็นการดำเนินงานที่ปรากฏถึงกิจกรรมที่เป็นภาพรวมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดที่มุ่งเน้นต่อประโยชน์ของท้องถิ่นหรือประชาชนเป็นส่วนรวม และไม่เข้าไปดำเนินงานที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นในจังหวัดสามารถดำเนินการได้เอง (3) เข้าไปดำเนินงานตามแผนงานหรือโครงการในลักษณะที่มีความคาบเกี่ยวต่อเนื่อง หรือมีผู้ที่ได้รับประโยชน์ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากกว่า 1 แห่งขึ้นไป
11
ข้อ 2 ในการดำเนินการตามอำนาจและหน้าที่ของ อบจ. ตาม ข้อ 1 อบจ
ข้อ 2 ในการดำเนินการตามอำนาจและหน้าที่ของ อบจ. ตาม ข้อ 1 อบจ. ควรจะดำเนินการเพื่อให้เป็นไปในลักษณะดังนี้ คือ (1) การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเองและประสานการจัดทำแผนจังหวัด โดยการสร้างและพัฒนาระบบการประสานแผนการพัฒนาท้องถิ่นในจังหวัดเพื่อนำไปสู่การใช้จ่ายงบประมาณ ในการพัฒนาของ อปท. ที่มีความสมดุลและคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ
12
(2) การก่อสร้างและบำรุงรักษาโครงการที่เป็นโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่หรือมีการเกี่ยวเนื่องกันหลาย อปท. หรือในลักษณะที่เป็นเครือข่ายหลักในการเชื่อมโยงกับแผนงานโครงการ ที่ดำเนินการโดย อปท. อื่นในจังหวัด (3) การจัดการศึกษา สาธารณสุข การสังคมสงเคราะห์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับประชาชนในระดับจังหวัด และไม่เป็นการซ้ำซ้อนกับ อปท. อื่นในจังหวัด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขยายศักยภาพและมุ่งต่อผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาการศึกษา สาธารณสุข การสังคมสงเคราะห์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนของ อปท. อื่นในจังหวัด
13
(4) การส่งเสริมจารีต ประเพณี วัฒนธรรม การท่องเที่ยว การส่งเสริมการลงทุน และพาณิชยกรรมของจังหวัด
(5) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การทำหน้าที่เป็นองค์กรหลักในการกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล การดูแลระบบบำบัดน้ำเสียรวม ให้แก่ อปท. อื่นในจังหวัด
14
(6) ให้บริการด้านเทคนิค วิชาการ เครื่องมือ เครื่องจักรกล บุคลากรแก่ อปท. อื่นในเขตจังหวัด
(7) ดำเนินการตามภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนภารกิจตามที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กิจกรรมถ่ายโอนที่ อบจ. “ มีหน้าที่ที่ต้องทำ ”
15
การพิจารณาอำนาจหน้าที่ของ เทศบาล กับ อบต.
ตามกฎหมายจัดตั้ง - พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม - พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ และที่แก้ไข ตามกฎหมายกลาง - พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจฯ พ.ศ. 2542
16
หน้าที่ของเทศบาลที่ต้องทำ
๏ เทศบาลตำบล ตามมาตรา 50 รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน ให้มีและบำรุงทางบกและทางน้ำ ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ป้องกันและระงับโรคติดต่อ ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม บำรุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และ วัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น 16
17
หน้าที่ของเทศบาลที่ต้องทำ ๏ เทศบาลเมือง ตามมาตรา 53
๏ เทศบาลเมือง ตามมาตรา 53 - กิจการตามที่ระบุไว้ในมาตรา 50 - ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา - ให้มีโรงฆ่าสัตว์ - ให้มีและบำรุงสถานที่ทำการพิทักษ์และรักษาคนเจ็บไข้ - ให้มีและบำรุงทางระบายน้ำ - ให้มีและบำรุงส้วมสาธารณะ ฯลฯ 17
18
หน้าที่ของเทศบาลที่ต้องทำ
๏ เทศบาลนคร ตามมาตรา 56 - กิจการตามที่ระบุไว้ในมาตรา 53 - ให้มีและบำรุงการสงเคราะห์มารดาและเด็ก - กิจการซึ่งจำเป็นเพื่อการสาธารณสุข - การควบคุมสุขลักษณะและอนามัยในร้านจำหน่ายอาหาร โรงมหรสพและสถานบริการอื่น - จัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยและการปรับปรุงแหล่งเสื่อมโทรม - จัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบ 18
19
หน้าที่ของเทศบาลที่อาจทำ
เทศบาลตำบล ตามมาตรา 51 ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา ให้มีโรงฆ่าสัตว์ ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากินของราษฎร ให้มีและบำรุงทางระบายน้ำ ฯลฯ
20
หน้าที่ของเทศบาลที่อาจทำ ๏ เทศบาลเมือง ตามมาตรา 54
๏ เทศบาลเมือง ตามมาตรา 54 - ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือและท่าข้าม - ให้มีสุสานและฌาปนสถาน - บำรุงและส่งเสริมการทำมาหากินของราษฎร - ให้มีและบำรุงการสงเคราะห์มารดาและเด็ก - ให้มีและบำรุงโรงพยาบาล - ให้มีการสาธารณูปการ - จัดทำกิจการซึ่งจำเป็นเพื่อการสาธารณสุข - จัดตั้งและบำรุงโรงเรียนอาชีวศึกษา ฯลฯ 20
21
หน้าที่ของเทศบาลที่อาจทำ - อาจจัดทำกิจการอื่น ๆ ตามมาตรา 54 ได้
๏ เทศบาลนคร ตามมาตรา 57 - อาจจัดทำกิจการอื่น ๆ ตามมาตรา 54 ได้ 21
22
การพิจารณาอำนาจหน้าที่ของ อบต. พ. ร. บ
การพิจารณาอำนาจหน้าที่ของ อบต พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม อำนาจหน้าที่ของ อบต. ที่ต้องทำ ตามมาตรา 67 - รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล - ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ - ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ - บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น ฯลฯ
23
อำนาจหน้าที่ของ อบต. ที่อาจจัดทำ (มาตรา 68)
- ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร - ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น - ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ - ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจ และสวนสาธารณะ - ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์ - บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร ฯลฯ
24
พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอำนาจให้แก่
อำนาจหน้าที่ตาม พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอน การกระจายอำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
25
อำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ ตามมาตรา 16
อำนาจและหน้าที่ของเทศบาล เมืองพัทยา และ อบต. - การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง - การส่งเสริมการท่องเที่ยว - การจัดการศึกษา - การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส - การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น ฯลฯ
26
อำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ ตามมาตรา 16
อำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ ตามมาตรา 16 ความเห็นของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แม้ตามมาตรา 16 จะกำหนดให้เป็นอำนาจและหน้าที่ของเทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบล แต่หากอำนาจดังกล่าว เป็นอำนาจที่ซ้ำซ้อนระหว่างรัฐ และ อปท. การที่ อปท.จะมีอำนาจดังกล่าวได้ จะต้องได้รับการถ่ายโอน ตามมาตรา 30 (1) (ก) และกำหนดขอบเขตความรับผิดชอบ ตามมาตรา 30 (2) เสียก่อน
27
การตั้งงบประมาณรายจ่ายให้กระทำตามที่มีกฎหมาย ระเบียบ หรือหนังสือสั่งการกระทรวงมหาดไทยกำหนด
ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ ข้อ 16
28
การจ่ายเงินให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และหนังสือสั่งการกระทรวง มหาดไทย
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ ข้อ 34 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ ข้อ 67
29
ค่าตอบแทน / ค่าวัสดุเครื่องแต่งกาย อปพร.
เครื่องแต่งกาย (เทศบาล/อบต.) ผู้เข้ารับการฝึกอบรม / ผู้ที่ปฏิบัติการ คนละไม่เกิน 2 ชุด ต่อปี เครื่องแบบ เป็นไปตามที่ทางราชการกำหนด ค่าตอบแทน อปพร. มีคำสั่งใช้ อปพร.ปฏิบัติงาน ใน/นอก ศูนย์ ไม่น้อยกว่า 8 ชั่วโมง = 200 บาท (หมวดค่าตอบแทนฯ) (น.ส. มท ด่วนมาก /ว 3795 ลว 17 พ.ย. 52)
30
กรณี ผวจ. ประกาศเป็นพื้นที่ภัยพิบัติฉุกเฉิน
( ตามวิทยุ ที่ มท /ว 910 ลว . 15 มีนาคม 2550 ) - อปพร. ให้เบิกจ่ายเป็นค่าเบี้ยเลี้ยงในอัตราวันละ 120 บาท และเพิ่มอีก 1 เท่า + ค่าอาหารเหมาจ่าย คนละ 100 บาท/มื้อ - จนท. ให้เบิกจ่ายเป็นค่าเบี้ยเลี้ยงในอัตราวันละ 240 บาท และเพิ่มอีก 1 เท่า + ค่าอาหารเหมาจ่าย คนละ 100 บาท/มื้อ
31
กรณี อปท. มีคำสั่งให้บุคคลภายนอก เดินทางไปราชการ / ฝึกอบรม
เช่น อปพร. หน่วยกู้ชีพกู้ภัย อสม. ให้เบิกค่าใช้จ่ายตามระเบียบเดินทาง ไปราชการ หรือ ระเบียบฝึกอบรม
32
การสั่งใช้ อปพร. กรณีเบิกค่าตอบแทนได้
1. พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๒๐ กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่มีหน้าที่ป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยในเขตท้องถิ่นของตน โดยมีผู้บริหารท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่นั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในฐานะผู้อำนวยการท้องถิ่น มาตรา ๒๑ บัญญัติว่า เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสาธารณภัยขึ้น ในเขตของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่ใด ให้ผู้อำนวยการท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่นั้นมีหน้าที่เข้าดำเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยโดยเร็ว และแจ้งให้ผู้อำนวยการอำเภอที่รับผิดชอบในเขตพื้นที่นั้นและผู้อำนวยการจังหวัดทราบทันที
33
การสั่งใช้ อปพร. กรณีเบิกค่าตอบแทนได้
2. ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่าย พลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๒๒ ให้ผู้อำนวยการศูนย์ อปพร. มีอำนาจหน้าที่สั่งการ ควบคุม และกำกับดูแล เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ อปพร. และ อปพร. ในสังกัด ดังนั้น หากข้อเท็จจริงปรากฏว่า เกิดหรือคาดว่าจะเกิด สาธารณภัย ขึ้นในเขต อปท. ตามนัยมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐ และผู้อำนวยการศูนย์ อปพร. สั่งการ อปพร. ให้ปฏิบัติหน้าที่ตามข้อ ๒๒ ของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยกิจการอาสาสมัครป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๓ อปท. ก็สามารถตั้งงบประมาณและเบิกจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ อปพร. ได้ ตามหนังสือกระทรวง มหาดไทย ด่วนมาก ที่ มท ๐๘๐๘.๒/ ว ๓๗๙๕ ลงวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๒
34
กรณีหารือ สั่งใช้ อปพร. ให้ไปช่วยงานเอกชน
สั่งใช้ อปพร. ให้ประจำหน้าโรงเรียน อปพร. ปฏิบัติหน้าที่ไม่ครบ 8 ชั่วโมง สั่งใช้ อปพร. ให้ปฏิบัติงานต่อเนื่อง สั่งใช้ อปพร. ให้ลาดตระเวนในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ อปพร. จับกุมผู้กระทำความผิดได้หรือไม่ ? สั่งใช้ อปพร. กรณีประกาศเป็นภัยพิบัติฉุกเฉิน
35
กรณี อปพร. บาดเจ็บ/เสียชีวิต จากการปฏิบัติหน้าที่
พ.ร.บ. สงเคราะห์ผู้ประสบภัยเนื่องจากการช่วยเหลือราชการ การปฏิบัติงานของชาติ หรือการปฏิบัติตามหน้าที่มนุษยธรรม พ.ศ. 2543 - ช่วยเหลือราชการ - ปฏิบัติงานของชาติตามที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการ - ปฏิบัติการตามหน้าที่/ช่วยเหลือผู้อื่นตามหน้าที่ที่กฎหมายกำหนด - ปฏิบัติการตามหน้าที่มนุษยธรรมซึ่งพลเมืองดีพึงปฏิบัติ เป็นเหตุให้ ถูกประทุษร้าย/ได้รับอันตราย ถึงเสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ/สมรรถภาพในการ ทำงานของอวัยวะ ทุพพลภาพ/เจ็บป่วยจนไม่สามารถใช้กำลังกาย/ความคิด ประกอบอาชีพได้ตามปกติ ยกเว้น ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือเกิดจากความผิดของตนเอง
36
- เงินชดเชย : เงินสงเคราะห์ที่จ่ายเป็นเงินก้อนให้แก่ผู้ประสบภัย/ทายาท
เงินที่จะได้รับ - เงินชดเชย : เงินสงเคราะห์ที่จ่ายเป็นเงินก้อนให้แก่ผู้ประสบภัย/ทายาท - เงินดำรงชีพ : เงินสงเคราะห์ที่จ่ายเป็นรายเดือนให้แก่ผู้ประสบภัย - ค่ารักษาพยาบาล (ไม่เกิน 50,000 บาท) - เงินช่วยเหลือค่าจัดการศพ วิธีการที่จะได้รับ ยื่นเรื่องที่อำเภอ – ผวจ. – กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังพิจารณา สำหรับ ค่ารักษาพยาบาล และค่าจัดการศพ ผวจ.อนุมัติ ส่งคลังจังหวัดเบิกได้ทันที ระยะเวลาในการขอรับเงิน ภายใน 2 ปี นับแต่วันที่ผู้มีสิทธิได้ทราบถึงสิทธิของตน
37
กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และอัตราในการจ่ายเงินสงเคราะห์ และกำหนดลักษณะของความพิการทุพลภาพขนาดหนักจนเป็นอุปสรรคสำคัญยิ่งในการประกอบอาชีพ หรือในการดำรงชีพ พ.ศ. 2544 การจ่ายเงินชดเชยให้แก่ผู้ประสบภัย เสียชีวิต/ทุพพลภาพขนาดหนัก ได้ 30 เท่า ของอัตราเงินเดือน แขนขาดข้างหนึ่ง ได้ 24 เท่าครึ่ง ของอัตราเงินเดือน ขาขาดข้างหนึ่ง ได้ 22 เท่าครึ่ง ของอัตราเงินเดือน มือขาดข้างหนึ่ง ได้ 18 เท่าครึ่ง ของอัตราเงินเดือน เท้าขาดข้างหนึ่ง ได้ 15 เท่า ของอัตราเงินเดือน สูญเสียลูกตาข้างหนึ่ง ได้ 11 เท่าครึ่ง ของอัตราเงินเดือน ฯลฯ หมายเหตุ รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 30 เท่า
38
วิธีการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี
ประมาณการ คชจ. และรายรับ จัดทำรายงานรับจริง - จ่ายจริง รวบรวมรายละเอียดขอตั้ง งปม. คณะผู้บริหารท้องถิ่น อนุมัติวงเงินให้ตั้งงบประมาณ อนุมัติ เสนอร่าง งปม. ต่อสภาท้องถิ่น (ภายใน 15 ส.ค.) สภาท้องถิ่นเห็นชอบร่าง งปม. เห็นชอบ เสนอ งปม. (ผวจ. / นอภ.) เทศบัญญัติ / ข้อบัญญัติ
39
ข้อ 13 งบประมาณรายจ่ายทั่วไป
ประกอบด้วย • รายจ่ายงบกลาง • รายจ่ายตามแผนงาน
40
รายจ่ายงบกลาง ประกอบด้วย
รายจ่ายงบกลาง ประกอบด้วย • ค่าชำระหนี้เงินกู้และดอกเบี้ย • รายจ่ายตามข้อผูกพัน • เงินสำรองจ่าย • เงินที่งบประมาณรายจ่ายทั่วไป ตั้งช่วยเหลืองบประมาณเฉพาะการ • เงินค่าทำศพ
41
รายจ่ายตามแผนงาน ประกอบด้วย
รายจ่ายตามแผนงาน ประกอบด้วย • รายจ่ายประจำ - หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ - หมวดค่าจ้างชั่วคราว - หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ - หมวดค่าสาธารณูปโภค - หมวดเงินอุดหนุน - หมวดรายจ่ายอื่น • รายจ่ายเพื่อการลงทุน - หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
42
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคล
ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 35 ในการจ่ายเงินเดือน ประโยชน์ตอบแทนอื่น และเงินค่าจ้างของข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิ่นและลูกจ้าง ที่นำมาจากเงินรายได้ที่ไม่รวมเงินอุดหนุนและเงินกู้หรือเงินอื่นใดนั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่งจะกำหนดสูงกว่าร้อยละสี่สิบของเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นไม่ได้
43
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคล
ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 3 (นิยาม) “ พนักงานส่วนท้องถิ่น ” หมายความว่า ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด พนักงานเทศบาล พนักงานส่วนตำบล ข้าราชการกรุงเทพมหานคร พนักงานเมืองพัทยา และข้าราชการหรือพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง ซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการโดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือจากเงินงบประมาณ หมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนำมาจัดเป็นเงินเดือนของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น
44
( หนังสือ ด่วนมาก ที่ มท ๐๓๑๓.๔/ว ๒๗๘๗ ลว. ๑๘ พ.ย. ๒๕๔๒ )
การจำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ ( หนังสือ ด่วนมาก ที่ มท ๐๓๑๓.๔/ว ๒๗๘๗ ลว. ๑๘ พ.ย. ๒๕๔๒ ) ตัวอย่างสิ่งของที่เป็นวัสดุโดยสภาพ - วัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ หมึก ดินสอ ปากกา แฟ้ม ตรายาง น้ำดื่ม ฯลฯ วัสดุไฟฟ้าและวิทยุ เช่น ฟิวส์ สายไฟฟ้า หลอดไฟฟ้า เทปพันสายไฟ ฯลฯ วัสดุงานบ้านงานครัว แปรง ไม้กวาด ถ้วยชาม กระจกเงา เข่ง มุ้ง หมอน ฯลฯ ตัวอย่างสิ่งของที่ครุภัณฑ์โดยสภาพ - ครุภัณฑ์สำนักงาน เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ตู้ เครื่องถ่ายเอกสาร พัดลม เครื่องดูดฝุ่น ฯลฯ ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ เช่น เครื่องกำเนิดไฟฟ้า เครื่องขยายเสียง วิทยุ ฯลฯ ครุภัณฑ์การเกษตร เช่น ปศุสัตว์ (ช้าง ม้า วัว ควาย) เครื่องสูบน้ำ เครื่องยกร่อง ฯลฯ
45
การจำแนกประเภทรายจ่ายตามระบบ elaas
มาตรฐานของสำนักงบประมาณ มาตรฐานของ ICT นิยาม
46
กรณีงบประมาณรายจ่ายประจำปีออกใช้ไม่ทัน
** กรณีที่งบประมาณรายจ่ายประจำปีออกใช้ไม่ทันงบประมาณ ให้ใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ ที่ล่วงแล้วไปพลางก่อน ** การเบิกจ่ายเงินโดยอาศัยงบประมาณปีที่ล่วงมาแล้ว ให้ถือยอดเงินสูงสุดจะพึงถือจ่ายได้ โดยรวมงบเพิ่มเติมและรายการโอนเพิ่ม / ลด เข้าไปด้วย ** กระทำได้เฉพาะรายจ่ายในหมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ และหมวดค่าสาธารณูปโภค
47
ข้อ 21 การตรางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
ข้อ การตรางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
48
ข้อ 26 การโอนงบประมาณรายจ่ายต่างๆ
ข้อ 26 การโอนงบประมาณรายจ่ายต่างๆ เป็นอำนาจอนุมัติของคณะผู้บริหารท้องถิ่น เป็นการโอนทุกรายการที่ไม่มีผลกระทบต่อการ เปลี่ยนแปลงลักษณะปริมาณ คุณภาพ หรือ ไม่มีผลกระทบต่อการโอนไปตั้งจ่ายเป็นรายการใหม่ ในหมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
49
ข้อ 27 การโอนงบประมาณ หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
ข้อ 27 การโอนงบประมาณ หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เป็นการโอนที่ทำให้มีผลกระทบต่อการเปลี่ยน แปลงลักษณะ ปริมาณ คุณภาพ หรือ เป็นการโอนไปตั้งจ่ายเป็นรายการใหม่ใน หมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เป็นอำนาจอนุมัติของสภาท้องถิ่น
50
สภา งบประมาณ ม.67 ทวิ จ่ายเงิน ผวจ.
เห็นชอบ งบประมาณ ม.67 ทวิ จ่ายเงิน อนุมัติ ผวจ.
51
การแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณ
ข้อ 28 ประมาณการรายรับ - ประมาณการรายจ่าย (อำนาจอนุมัติ ของผู้บริหารท้องถิ่น) ข้อ 29 รายจ่ายหมวดค่าครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ที่ทำให้ลักษณะ ปริมาณ คุณภาพเปลี่ยน หรือเปลี่ยนแปลงสถานที่ก่อสร้าง (อำนาจของสภาท้องถิ่น)
52
รายการที่ได้เบิกตัดปี / ขยายเวลาให้เบิกตัดปี
ข้อ 31 การโอน การแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณ (ทำได้ เมื่อได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจให้เบิกตัดปี/ขยายเวลาเบิกตัดปี) กันเงินมาแล้ว - กรณียังไม่ได้ก่อหนี้ผูกพัน - กรณีก่อหนี้ผูกพันแล้ว
53
ค่าตอบแทนข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้าง ที่เทศบาลขอยืมตัวมาช่วยปฏิบัติงานชั่วคราว
เฉพาะตำแหน่ง แพทย์ ทันตแพทย์ นายสัตวแพทย์ เภสัชกร และนักผังเมือง ค่าตอบแทนไม่เกินเดือนละ 5,000 บาท ปฏิบัติงานไม่ต่ำกว่า 15 วัน ต่อเดือน ปฏิบัติงานไม่ต่ำกว่า 2 ชั่วโมง ต่อ 1 วัน
54
โครงการพัฒนางานสาธารณสุขมูลฐาน
จัดสรรเป็นค่าดำเนินงานของ อสม. ชุมชน/หมู่บ้านละ 10,000 บาท ลักษณะงบประมาณ หมวดเงินอุดหนุน ถือปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท /ว 74 ลงวันที่ 8 มกราคม 2553
55
ให้ตั้งไว้ในงบกลาง ประเภทเงินสำรองจ่าย
การตั้งงบประมาณเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย ให้ตั้งไว้ในงบกลาง ประเภทเงินสำรองจ่าย เงินสํารองจ่าย เป็นรายจ่ายที่ตั้งไว้ในกรณีที่จำเป็นตามความเหมาะสม - ควรตั้งไว้ให้มีเพียงพอต่อการเผชิญเหตุสาธารณภัย - ควรใช้ในกรณีฉุกเฉินที่มีสาธารณภัยเกิดขึ้น - อำนาจอนุมัติให้ใช้จ่าย เป็นอำนาจของผู้บริหารท้องถิ่น
56
การตั้งงบประมาณ (ในการดูแลรักษาที่สาธารณะ)
พ.ร.บ. ลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 มาตรา 122 “ นายอำเภอมีหน้าที่ร่วมกับ อปท. ในการดูแลรักษา คุ้มครอง ป้องกันที่สาธารณะ ค่าใช้จ่ายใช้งบประมาณของ อปท. ” กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2553 “ ให้กรมที่ดินมีภารกิจเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิในที่ดินของบุคคล การจัดการที่ดินของรัฐ โดยการรังวัด ทำแผนที่ สอบเขต ตรวจสอบเนื้อที่ ทำแผนที่สาหรับที่ดิน ฯลฯ ”
57
การตั้งงบประมาณทุนการศึกษาสำหรับบุคลากร อปท.
ปริญญาตรี / ปริญญาโท ผู้ขอรับทุน 1) ผู้บริหารท้องถิ่น 2) เจ้าหน้าที่ท้องถิ่น
58
สถาบันการศึกษา รัฐ / เอกชน (ว ๒๔๒๘ ลว. ๒๙ ก.ค. ๕๒) สาขาวิชาที่ศึกษา ทุกสาขาวิชาที่คณะกรรมการกลางกำหนด เป็นคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของ อปท. ( ว ๑๘๒๙ ลว. ๑๕ ก.ย. ๕๒)
59
- ค่าใช้จ่ายในการศึกษาระดับปริญญาโท กำหนดไว้ตลอดหลักสูตร เป็นเงิน 120,000 บาท ต่อคน (รวม 2 ปี) โดยให้แยกจ่ายปีละ 60,000 บาท ต่อคน - กรณีค่าใช้จ่ายเกินปีละ ๖๐,๐๐๐ บาท ?
60
กรณีผู้บริหาร/สมาชิก ที่ได้รับทุน และ อยู่ระหว่างการศึกษา หากพ้นจากตำแหน่งก็ให้รับทุนต่อไป
เจ้าหน้าที่ท้องถิ่น ที่ได้รับทุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะต้องกลับมาปฏิบัติงาน เพื่อชดใช้ทุนให้กับอปท. หรือ กรม สถ. เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 เท่า หากไม่กลับมาปฏิบัติงานชดใช้ทุนจะต้องชดใช้ทุนที่อปท.ได้จ่ายไปแล้ว พร้อมกับค่าปรับอีกเป็นเงินอีก 2 เท่า ของจำนวนทุนดังกล่าว
61
บุคลากรของ อปท.ได้ศึกษาในระดับปริญญาตรี/โท โดยใช้ทุนส่วนตัวอยู่ก่อนหลักเกณฑ์นี้ มีสิทธิ์ขอรับทุนตามหลักเกณฑ์นี้ได้ ให้ใช้หลักเกณฑ์นี้ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ เป็นต้นไป
62
การคิดคำนวณตั้งงบประมาณ
- ไม่เกิน 5 ล้าน ตรี 12 โท 2 - เกิน 5 ล้าน ไม่เกิน 20 ล้าน ตรี 16 โท 3 - เกิน 20 ล้าน ไม่เกิน 50 ล้าน ตรี 20 โท 4 - เกิน 50 ล้าน ไม่เกิน 150 ล้าน ตรี 24 โท 5 - เกิน 150 ล้านขึ้นไป ตรี 28 โท 6 รายได้ทุกประเภทรวมเงินอุดหนุนทั่วไปของปีงบประมาณที่ผ่านมา
63
ตัวอย่าง (รายได้ไม่เกิน 5 ล้าน)
วุฒิ จำนวน ปี 54 55 56 57 ตรี 6 12 - โท 2 2
64
การตั้งงบประมาณรายจ่ายและการใช้จ่ายงบประมาณ หมวดเงินอุดหนุน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนมาก ที่ มท /ว 74 ลงวันที่ 8 มกราคม 2553)
65
- ภารกิจอื่นที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของ อปท. (ต้องได้รับความเห็นชอบ)
อปท. อาจตั้งงบประมาณสนับสนุน อปท.อื่น / ส่วนราชการ / หน่วยงานอื่นของรัฐ (ให้ถือปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการการกระจายให้แก่ อปท. เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนของ อบจ. เทศบาล และ อบต. ในการให้บริการสาธารณะ ลว. ๒๓ พ.ย. ๕๒) เงื่อนไข - ภารกิจที่จะสนับสนุนต้องอยู่ในอำนาจหน้าที่ของ อปท.ผู้สนับสนุน - มีบรรจุอยู่ในแผนพัฒนาสามปี - ต้องคำนึงถึงสถานะทางการคลัง - ด้านการศึกษา/สาธารณสุข (ไม่ต้องได้รับความเห็นชอบ) - ภารกิจอื่นที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของ อปท. (ต้องได้รับความเห็นชอบ)
66
ผู้ขอรับการสนับสนุนต้องเสนอโครงการต่อ อปท
ผู้ขอรับการสนับสนุนต้องเสนอโครงการต่อ อปท. โครงการดังกล่าวต้องมีงบประมาณของตนเองอยู่บ้างแล้ว แสดงถึงกิจกรรมในโครงการ แบ่งส่วนที่มีงบประมาณของตนเอง และ ส่วนที่จะขอรับการสนับสนุนให้ชัดเจน ระบุเหตุผลและรายละเอียด ว่าโครงการมีงบประมาณไม่เพียงพอในการ ดำเนินการ และมีความจำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนอย่างไร ? หาก อปท.เห็นสมควรสนับสนุนโครงการ ให้นำโครงการบรรจุไว้ใน งบประมาณรายจ่ายประจำปี/เพิ่มเติม ยกเว้น กรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน และ มีความจำเป็นต้องดำเนินการตามโครงการโดยด่วน จะไม่นำโครงการนั้น บรรจุไว้ในงบประมาณก็ได้ แต่ต้องรายงานให้คณะอนุกรรมการฯ ทราบ
67
การสนับสนุนงบประมาณ อบจ ไม่เกิน ร้อยละ 10 ของรายได้ปีที่ผ่านมา (ไม่รวมเงินอุดหนุนจากรัฐ) เทศบาลขนาดใหญ่ ร้อยละ 2 ของรายได้ปีที่ผ่านมา (ไม่รวมเงินอุดหนุนจากรัฐ) เทศบาลขนาดกลาง/เล็ก ร้อยละ 3 ของรายได้ปีที่ผ่านมา (ไม่รวมเงินอุดหนุนจากรัฐ) อบต ร้อยละ 5 ของรายได้ปีที่ผ่านมา (ไม่รวมเงินอุดหนุนจากรัฐ) กรณี อปท. จำเป็นต้องสนับสนุนงบประมาณเกินอัตราดังกล่าว ให้เสนอต่อ คณะอนุกรรมการอำนวยการการกระจายอำนาจให้แก่ อปท.ระดับจังหวัดพิจารณาอนุมัติ เป็นรายกรณีไป
68
การสนับสนุนงบประมาณ อบจ
การสนับสนุนงบประมาณ อบจ อาจสนับสนุนเป็นเงิน บุคลากร วัสดุ ครุภัณฑ์ ปรับปรุง ซ่อมแซม ก่อสร้างอาคาร ตลอดจนสิ่งก่อสร้างอื่น (ให้งบประมาณ หรือ ดำเนินการแทน) เทศบาลขนาดใหญ่ อาจสนับสนุนเป็นเงินเพื่อให้ใช้จ่ายในด้าน บุคลากร วัสดุ ครุภัณฑ์ ปรับปรุง ซ่อมแซมอาคาร หรือสิ่งก่อสร้างอื่น เทศบาลขนาดกลางและเล็ก อาจสนับสนุนเป็นเงินเพื่อให้ใช้จ่ายในด้าน บุคลากร วัสดุ ครุภัณฑ์ ปรับปรุง ซ่อมแซมอาคาร หรือสิ่งก่อสร้างอื่น อบต อาจสนับสนุนเป็นเงินเพื่อให้ใช้จ่ายในด้าน บุคลากร วัสดุ ครุภัณฑ์ ปรับปรุง ซ่อมแซมอาคาร หรือสิ่งก่อสร้างอื่น
69
อปท. อาจตั้งงบประมาณอุดหนุน
2 องค์กรประชาชน / องค์กรการกุศล / องค์กรที่จัดตั้งตามกฎหมาย องค์กรประชาชน หมายถึง กลุ่ม จดทะเบียนต่อหน่วยงานราชการที่รับผิดชอบ ชุมชน จัดตั้งตามกฎหมาย/ระเบียบ/นส.สั่งการ มท. มีสถานะเป็นกลุ่ม/ชุมชน มาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี องค์กรการกุศล หมายถึง องค์กรที่มีวัตถุประสงค์จะดำเนินงานการกุศล และจัดตั้ง ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ เช่น วัด มัสยิด กาชาด สมาคม มูลนิธิ องค์กรที่จัดตั้งตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ โดยไม่ได้มีวัตถุประสงค์หลักในการ แสวงหากำไร เช่น สภาวัฒนธรรม คณะกรรมการหมู่บ้าน อสม. กลุ่มเกษตรกร กลุ่มสตรี เป็นต้น
70
3. การตั้งงบประมาณของ อปท
3. การตั้งงบประมาณของ อปท. อุดหนุนให้แก่ องค์กรประชาชน/องค์กรการกุศล/องค์กรที่จัดตั้งตาม กม. ให้รวมอยู่ในอัตราร้อยละของประกาศฯ . มีการเสนอโครงการ/กิจกรรม ซึ่งอยู่ในอำนาจหน้าที่ อปท./ประชาชนในเขต พื้นที่ได้รับประโยชน์ . โครงการดังกล่าวจะต้องสามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มหรือชุมชน . โดยมีลักษณะเป็นการแก้ไขปัญหาความยากจน และส่งเสริมให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น มิให้ สนับสนุนในโครงการที่มีลักษณะเป็นเงินทุนหมุนเวียน เช่น การอุดหนุนเพื่อนำไปเป็นทุนกู้ยืม สมทบกองทุนต่างๆ หรือการซื้อเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย หรือให้เป็นเงินรางวัล เป็นต้น . เมื่อ อปท.เห็นสมควรตั้งงบประมาณอุดหนุน ให้นำโครงการนั้นบรรจุไว้ในแผนก่อนการตั้งงบประมาณ
71
4. เนื่องจาก อปท.เป็นเพียงผู้อุดหนุนให้หน่วยงานอื่นดำเนินการแทน โดยที่ อปท.มิได้ดำเนินการเอง จึงไม่ถือว่าเป็นการทำกิจการนอกเขต 5. ให้ อปท.เบิกจ่ายจากเงินรายได้ตามงบประมาณรายจ่ายที่ได้ตั้งไว้ในหมวดเงินอุดหนุนเท่านั้น โดยมิให้จ่ายจาก เงินสะสม หรือเงินกู้ 6. ก่อนจะเบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้กับองค์กรประชาชนฯ ให้ อปท.จัดทำบันทึกข้อตกลงกับผู้แทน ไม่น้อยกว่า 3 คน ว่าจะดำเนินการตามโครงการ 7. ทุกหน่วยงานที่ขอรับเงินอุดหนุน จะต้องออกใบเสร็จรับเงินให้ อปท. เก็บไว้เป็นหลักฐาน สำหรับองค์กรประชาชนฯ หากไม่มีใบเสร็จ ให้ออกใบสำคัญรับเงินแทน 8. ให้ อปท.มีหนังสือแจ้งหน่วยงานที่ขอรับเงินอุดหนุนทราบ เป็นเงื่อนไขว่า การใช้จ่ายเงินให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือหนังสือสั่งการ ของหน่วยงานที่ขอรับเงินอุดหนุนนั้นปฏิบัติ (รายงานผลภายใน 30 วัน กรณีมีเงินเหลือจ่าย ต้องส่งคืน อปท.)
72
9. ให้ อปท.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน หากไม่ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ อปท. สามารถเรียกเงินทั้งหมดคืนได้ 1O. อปท. ที่ได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายหมวดเงินอุดหนุนไว้แล้วตามหลักเกณฑ์เดิมก่อนหนังสือฉบับนี้ใช้บังคับ ให้ดำเนินการต่อไปได้ แต่หากจะตั้งงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม/โอนงบประมาณ ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์นี้ 11. หากมีปัญหา ข้อขัดข้อง ในการดำเนินงานตามข้อ 2 ถึงข้อ 10 ให้ ผวจ มีอำนาจในการพิจารณาวินิจฉัย
73
สรุปขั้นตอนการตั้งงบประมาณหมวดเงินอุดหนุน
1. เสนอโครงการ/กิจกรรม ให้ อปท.พิจารณา 2. โครงการ/กิจกรรม ที่ขอรับเงินอุดหนุน ต้องเป็นกิจการที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ ประชาชนได้รับประโยชน์โดยตรง สถานะทางการคลัง อปท.นำโครงการบรรจุไว้ในแผน ก่อนตั้งงบประมาณ 4. เมื่อหน่วยงานที่ขอรับอุดหนุนแจ้งขอรับเงิน ให้ อปท.จ่ายจาก เงินรายได้ตามงบประมาณที่ตั้งไว้ในหมวดอุดหนุนเท่านั้น มิให้จ่าย จากเงินสะสม หรือเงินกู้ 5. ออกใบเสร็จรับเงินให้ อปท.เก็บไว้เป็นหลักฐาน 6. ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
74
คณะอนุกรรมการอำนวยการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
องค์ประกอบ 1. ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานอนุกรรมการ 2. หัวหน้าส่วนราชการในจังหวัด ที่ ผวจ.แต่งตั้ง 1 คน อนุกรรมการ 3. ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ผวจ.แต่งตั้ง 3 คน อนุกรรมการ 4. ผู้แทน อบจ. 1 คน อนุกรรมการ 5. ผู้แทนเทศบาลในจังหวัด คัดเลือกกันเอง 1 คน อนุกรรมการ 6. ผู้แทน อบต.ในจังหวัด คัดเลือกกันเอง 1 คน อนุกรรมการ 7. ท้องถิ่นจังหวัด อนุกรรมการและเลขานุการ
75
กรณีศึกษา (การอุดหนุนงบประมาณให้หน่วยงานอื่น)
ศูนย์จัดซื้อจัดจ้างของ อปท. โรงเรียนในสังกัด สพฐ. (วัสุด ครุภัณฑ์ แม่บ้าน อาคาร ถนน อาคารเรียน ห้องน้ำ สนามกีฬา ฯลฯ กรมพัฒนาชุมชน (ค่าจัดเก็บ จปฐ.) ชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน ชมรมผู้สูงอายุ ฟุตบอลลีก สำนักงานที่ดิน (ขยายห้องจัดเก็บภาษี) สำนักงานท้องถิ่นจังหวัด (กันห้องศูนย์ประสานงานท้องถิ่น) สถานีตำรวจ (น้ำมันเชื้อเพลิง การจราจร)
76
กรณีศึกษา (การอุดหนุนงบประมาณให้หน่วยงานอื่น)
กองทุนหมู่บ้าน ที่ว่าการอำเภอ วัด มัสยิด โรงพยาบาล สถานีอนามัย ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร
77
การตั้งงบประมาณช่วยเหลือประชาชน
กิจการที่จะให้การช่วยเหลือต้องอยู่ในอำนาจหน้าที่ เช่น การส่งเสริมการทำมาหากินของราษฎร การแก้ไขปัญหาการประกอบอาชีพ การสังคมสงเคราะห์ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การป้องกันและระงับโรคติดต่อ
78
การตั้งงบประมาณช่วยเหลือประชาชน
กิจการที่จะให้การช่วยเหลือต้องอยู่ในอำนาจหน้าที่ วิธีการตั้งงบประมาณ - จัดทำโครงการ แล้วบรรจุเข้าแผน - จัดทำเป็นร่างข้อบัญญัติ / เทศบัญญัติ วิธีการให้ความช่วยเหลือ - ให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการฯ - ให้ถือปฏิบัติตามแนวทางการช่วยเหลือสงเคราะห์ ประชาชน ที่หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติอยู่ (หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท /ว 3050 ลงวันที่ 22 ก.พ. 43)
79
จัดซื้อวัสดุ เพี่อนำไปแจกจ่ายให้แก่ราษฎร เช่น พันธุ์พืช ปุ๋ย
กรณีที่มีความจำเป็นจะต้องจัดซื้อวัสดุ หรือครุภัณฑ์ เพื่อเนินการตามโครงการ จัดซื้อวัสดุ เพี่อนำไปแจกจ่ายให้แก่ราษฎร เช่น พันธุ์พืช ปุ๋ย ยารักษาโรค ผ้าห่ม วัสดุอุปโภคและบริโภค จัดซื้อครุภัณฑ์ เพื่อให้ราษฎรยืมไปใช้ตามโครงการ เช่น เครื่องสูบน้ำ จักรเย็บผ้า เครื่องมือการเกษตร
80
แนวทางการช่วยเหลือสงเคราะห์ประชาชนที่หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติอยู่
ระเบียบกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ว่าด้วยการสงเคราะห์ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและไร้ที่พึ่ง พ.ศ. 2552 ช่วยเหลือด้านการเงิน/สิ่งของ วงเงินไม่เกินครั้งละ 3,000 บาท และช่วยเหลือติดต่อกันได้ไม่เกิน ๓ ครั้ง/ครอบครัว/ปีงบประมาณ ตามรายการ ดังนี้ - ค่าเครื่องอุปโภคบริโภค ค่าใช้จ่ายในการครองชีพตามความจำเป็น ค่ารักษาพยาบาล ค่ายา ค่าพาหนะ ค่าอาหารระหว่างติดต่อรักษาพยาบาล ค่าซ่อมแซมที่อยู่อาศัยเท่าที่จำเป็น
81
“ ห้ามระบุข้อความ รูปภาพ ชื่อ สัญลักษณ์ ของผู้ไปช่วยเหลือ ”
เช่น จัดซื้อแว่นตาแจกประชาชน ค่าเดินทางไปฟอกไต ค่าฟอกไตส่วนที่เรียกเก็บ แจกถัง โอ่งกักเก็บน้ำ ในช่วงหน้าแล้ง การใช้งบประมาณของทางราชการไปช่วยเหลือประชาชน (ตาม นส. มท ๐๘๐๘.๒/ว ๓๔๗๕ ลว ๑๑ ต.ค.๕๐) “ ห้ามระบุข้อความ รูปภาพ ชื่อ สัญลักษณ์ ของผู้ไปช่วยเหลือ ”
82
แนวทางการช่วยเหลือสงเคราะห์ประชาชนที่หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติอยู่
เช่น ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.2546 แก้ไข 2549 หลักเกณฑ์และวิธีดำเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.2551(ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ธ.ค เป็นต้นไป)
83
การช่วยเหลือผู้ประสบภัย
ให้ดำเนินการช่วยเหลือเป็นสิ่งของ หรือจ่ายเป็นเงิน โดยคำนึงถึงสภาพและเหตุการณ์ตามความเหมาะสม ดังนี้ ค่าอาหารจัดเลี้ยง มื้อละไม่เกิน 30 บาท/วัน/คน ค่าถุงยังชีพ ชุดละไม่เกิน 500 บาท/ครอบครัว ค่าเครื่องนุ่มห่ม คนละ 2 ชุด เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 1,000 บาท ค่าวัสดุซ่อมแซมที่อยู่อาศัย เท่าที่จ่ายจริง หลังละไม่เกิน 20,000 ค่าวัสดุก่อสร้างที่อยู่อาศัยประจำ หลังละไม่เกิน 30,000 บาท ฯลฯ
84
การช่วยเหลือผู้ประสบภัย
ค่าเครื่องมือประกอบอาชีพ/เงินทุน เท่าที่จ่ายจริงไม่เกิน ๑๐,๐๐๐.- เครื่องกันหนาว (อากาศหนาวจัดผิดปกติ ต่ำกว่า ๑๕ ติดต่อ ๓ วัน) พันธุ์พืช (พืชอายุสั้น ไม้ผลยืนต้น) อาหารสัตว์ รักษาสัตว์ พันธุ์สัตว์ ฯลฯ กรณีศึกษา : ไฟไหม้รถอีแต๋น ซื้อถุงยังชีพแจกทุกคนใน อปท. ซื้อผ้าห่ม เสื้อกันหนาว
85
( หนังสือ สถ. ด่วนมาก ที่ มท 0891.2/ว 1149 ลว 16 มิ.ย. 48 )
การป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลลหลาก และแผ่นดินถล่ม ( หนังสือ สถ. ด่วนมาก ที่ มท /ว 1149 ลว 16 มิ.ย. 48 ) ก่อนเกิดเหตุ : พิจารณาตั้งงบประมาณเงินสำรองจ่ายให้เพียงพอต่อการเผชิญเหตุ ขณะเกิดภัย : นำงบประมาณที่เตรียมไว้ไปใช้จ่าย หากไม่พอให้โอนงบประมาณ หลังเกิดภัย : ให้ช่วยเหลือ ตามหลักเกณฑ์ ว 3050 ลว. 22 ก.พ.43
86
การตั้งงบประมาณทุนการศึกษาสำหรับนักเรียน นักศึกษา และผู้ด้อยโอกาส
อปท. สามารถตั้งงบประมาณเพื่อเป็นทุนการศึกษาแก่เด็กนักเรียน นักศึกษา และผู้ด้อยโอกาส เช่น เด็กยากจน คนพิการ เป็นต้น คุณสมบัติผู้รับทุน - มีภูมิลำเนาใน อปท. - เป็นเด็กด้อยโอกาสมีประชาคมรับรอง
87
การให้ความช่วยเหลือแก่นักเรียนในหลักสูตรไม่เกินการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดนักเรียน - มีภูมิลำเนาในพื้นที่ อปท. หนังสือเรียน - ยากจนหรือด้อยโอกาส วัสดุอุปกรณ์การเรียน - ผ่านความเห็นชอบประชาคม ของท้องถิ่น - คำนึงถึงฐานะการคลัง - ปฏิบัติตามหนังสือ ที่ มท /ว 3050 ลว 22 ก.พ. 43 ด้วย ● ไม่สามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวได้ ให้ขอทำความตกลงกับ ผวจ. ก่อนการปฏิบัติ นส.มท /ว 1365 ลว 30 เม.ย. 50
88
หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.2/ว 1365
เบิกจ่ายได้เฉพาะค่าเล่าเรียน หรือ ค่าธรรมเนียมการศึกษา หรือค่าบำรุง หรือค่าหน่วยกิต แต่ไม่เกินปีการศึกษาละ 33,000 บาท ใช้ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550 (1 ต.ค. 49) หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท /ว 1365 ลงวันที่ 30 เมษายน 2550
89
- รายได้ไม่เกิน 50 ล้าน ตั้งไม่เกิน 3%
- รายได้เกิน 50 ล้าน แต่ไม่เกิน 300 ล้าน ตั้งไม่เกิน 2.5% - รายได้เกิน 300 ล้านบาทขึ้นไป ตั้งไม่เกิน 2% (รายได้ทุกประเภท รวมเงินอุดหนุนทั่วไปของปีงบประมาณที่ผ่านมา)
90
หลักเกณฑ์การเบิกค่าพาหนะรับจ้าง
① กทม ② ตจว. เบิกเท่าที่จ่ายจริง เที่ยวละไม่เกิน 600 บาท เที่ยวละไม่เกิน 500 บาท ① เป็นการเดินทางข้ามเขตจังหวัดระหว่างกรุงเทพ กับจังหวัดที่มีการติดต่อกับกรุงเทพ หรือการเดินทางข้ามเขตจังหวัดผ่านเขตกรุงเทพ ② การเดินทางข้ามเขตจังหวัดอื่นๆ นอกเหนือจากข้อ ① น.ส.มท /ว 1654 ลว 28 ส.ค. 50
91
ใช้พาหนะส่วนตัวไปราชการ
เงินชดเชยในการ ใช้พาหนะส่วนตัวไปราชการ รถยนต์ส่วนตัว กิโลเมตรละ 4 บาท รถจักรยานยนต์ กิโลเมตรละ 2 บาท
92
( การเบิกค่าเช่าที่พัก )
ระดับ เบิกในลักษณะจ่ายจริง เบิกในลักษณะเหมาจ่าย ห้องพักคนเดียว ห้องพักคู่ ๘ ลงมา ๑,๕๐๐ ๘๕๐ ๘๐๐ ๙ ขึ้นไป ๒,๒๐๐ ๑,๒๐๐ ระเบียบกระทรวงการคลัง ข้อ 23 การเบิกค่าเช่าที่พักเท่าที่จ่ายจริง ผู้เดินทางไปราชการจะใช้ใบเสร็จรับเงิน หรือใบแจ้งรายการของโรงแรม หรือที่พักแรมที่มีข้อความว่า ได้รับชำระเงินค่าเช่าที่พักเรียบร้อยแล้ว เพื่อเป็นหลักฐานในการเบิกค่าเช่าที่พักก็ได้
93
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
กรณีหน่วยงานของรัฐ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ เป็นผู้จัด และเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนั้น – เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตามที่หน่วยงานผู้จัดเรียกเก็บ กรณีที่ไม่เกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ / หน่วยงานอื่น (เช่น เอกชน) – เบิกจ่ายได้ไม่เกิน (400/600 บาท/คน/วัน)
94
สิทธิค่าเช่าบ้าน เงื่อนไขการได้รับสิทธิค่าเช่าบ้าน
ไม่ใช่ท้องที่ที่บรรจุครั้งแรก แล้วยังมิได้โอนย้ายไปไหน ไม่มีบ้านพักของทางราชการจัดไว้ให้ ไม่มีบ้านของตนเอง/คู่สมรส อยู่ในเขตท้องที่
95
สิทธิค่าเช่าบ้าน หลักเกณฑ์การจัดบ้านพักของ อปท.
ท้องที่ หมายถึง เขตอำเภอ/กิ่งอำเภอ ต้องเช่าและอาศัยอยู่จริง (แต่เบิกได้ไม่ก่อนวันรายงานตัว) กรณีเช่าซื้อเริ่มผ่อนชำระแล้ว แต่ยังเข้าอยู่ไม่ได้ เบิกอย่างไร ? กรณีมีบ้าน/เคยมีบ้าน ของตนเองอยู่ในเขตท้องที่ กรณีบ้านยังผ่อนชำระไม่หมด การรีไฟแนนท์ เช่าบ้านต่างท้องที่ / เช่าซื้อบ้านต่างท้องที่
96
สิทธิค่าเช่าบ้าน บรรจุครั้งแรก เบิกค่าเช่าบ้านไม่ได้
กรณีย้ายมายังท้องที่ ที่บรรจุครั้งแรก หลัง 21 พ.ค. 51 การใช้สิทธิเบิกค่าเช่าซื้อบ้านซึ่งกู้ร่วมกับผู้อื่น กรณีใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านติดตามตัว ชายเช่าซื้อ หญิงใช้สิทธิเบิกค่าเช่าบ้านหลังเดียวกัน ? เช่าบ้านของ พ่อแม่ เบิกได้หรือไม่ ? มีชื่อเป็นลูกบ้าน/เจ้าบ้าน ในบ้านหลังที่เช่าเบิกได้หรือไม่ ? กรณีคู่สมรสมีบ้านพัก เช่น ทหาร ตำรวจ
97
สิทธิค่าเช่าบ้าน ค่าเช่าบ้าน เป็นสิทธิ
กรณีผู้บริหารไม่ให้เบิก จะทำอย่างไร ?
98
(โกมินทร์ อินรัสพงศ์)
ปรึกษาหารือ (โกมินทร์ อินรัสพงศ์) โทร ต่อ ,
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.