งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
ครั้งที่ ๑๖/๒๕๕๕ วันศุกร์ที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑ ชั้น ๑๔ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)

2 วาระการประชุม ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองรายงานการประชุม ๒.๑ รับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ ๑๔/๒๕๕๕ ๒.๒ รับรองรายงานการประชุม ครั้งที่ ๑๕/๒๕๕๕ ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อทราบ ๓.๑ รายงานผลการดำเนินการของคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ๑) สำเนาหนังสือสำนักงานประธานคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยที่ สบอช(กบอ)/ ๔๖๕ เรื่อง รายงานผลการดำเนินการของคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๔/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ ๒) สำเนาหนังสือสำนักงานประธานคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย ที่ สบอช(กบอ)/๕๐๓ เรื่อง รายงานผลการดำเนินการของคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ณ วันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๕ ๓) สำเนาหนังสือสำนักงานประธานคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย ที่ สบอช (กบอ)/๕๒๖ เรื่อง รายงานผลการดำเนินการของคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๕/๒๕๕๕ ลงวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๕๕ ๓.๒ การทดสอบประสิทธิภาพการระบายน้ำในพื้นที่ปลายน้ำ ๑) สำเนาหนังสือคำสั่งคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ที่ ๒/๒๕๕๕ เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานทดสอบประสิทธิภาพการระบายน้ำในพื้นที่ปลายน้ำ ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ ๒) สำเนาหนังสือสำนักงานประธานคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย ที่ สบอช(กบอ)/๕๒๘ เรื่อง ขอส่งรายงานเบื้องต้นการทดสอบประสิทธิภาพการระบายน้ำในพื้นที่ปลายน้ำ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๕ 2

3 วาระการประชุม ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน ๔.๒ แผนเตรียมรับสถานการณ์ภัยพิบัติด้านการเกษตร ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๕ ระยะที่ ๒ ๔.๓ ร่างรายงานผลการวิเคราะห์สถานการณ์น้ำรายสัปดาห์ของคณะทำงาน ณ วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๕  ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่น ๆ ๕.๑ นัดหมายการประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและ จัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๗/๒๕๕๕ 3

4 ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา  ๔.๑ ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน กรมชลประทาน นำส่งผลการคาดการณ์ปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อนที่สำคัญ สทอภ. รายงานความก้าวหน้าเรื่องข้อมูลการทำแผนที่น้ำท่วม ปภ. นำส่งเกณฑ์การประกาศพื้นที่เกิดภัยพิบัติ กทม. สรุปการจัดทำบัญชีแบบจำลอง พี่แอนช่วยเติมด้วยค่ะ 4 4

5

6 ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา  ๔.๒ การวิเคราะห์สถานการณ์น้ำรายสัปดาห์ ติดตามสถานการณ์จากการคาดการณ์สัปดาห์ที่แล้ว การคาดการณ์สถานการณ์น้ำในสัปดาห์หน้า วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์น้ำประจำสัปดาห์ 6 6

7 สถานการณ์น้ำเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
ข้อเสนอแนะจากคณะอนุฯ ๑๐ ก.ย. ๒๕๕๕ ๑. ช่วงวันที่ ๑๒-๑๖ ก.ย.๕๕ เฝ้าระวังฝนตกหนักบริเวณภาคกลาง และภาคตะวันออก เนื่องจากร่องมรสุมจะเลื่อนลงมาพาดผ่านภาคกลาง และภาคตะวันออก ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ จะมีกำลังแรงขึ้น ทำให้ประเทศไทยตอนบนยังคงมีฝนตกชุกหนาแน่น โดยเฉพาะตอนบนของประเทศ เนื่องจากวันที่ ๑๐ ก.ย.๕๕ เวลาประมาณ ๑๒.๐๐ น. ที่อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย มีปริมาณน้ำไหลผ่านสูงสุด ๑,๐๓๒.๙ ลบ.ม./วินาที และจะไหลลงสู่ประตูระบายน้ำบ้านหาดสะพานจันทร์ อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย ในเวลาประมาณ ๒๑.๐๐ น. กรมชลประทานจะชะลอน้ำ โดยใช้ประตูระบายน้ำบ้านหาดสะพานจันทร์ ควบคุมน้ำไม่ให้ไหลผ่านเข้าสู่อำเภอเมืองสุโขทัยเกินเกณฑ์ควบคุมที่ ๖๕๐ ลบ.ม./วินาที โดยขณะนี้ได้ผันน้ำเข้าสู่คลองหกบาทประมาณ ๓๑๔ ลบ.ม./วินาที ผ่านคลองผันน้ำยม-น่าน และแม่น้ำยมสายเก่า ซึ่งอาจทำให้เกิดน้ำเอ่อล้นเข้าท่วมในพื้นที่ลุ่มต่ำ ดังนั้น เสนอให้  ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติแจ้งเตือนประชาชนในพื้นที่จังหวัดสุโขทัย บริเวณอำเภอ สวรรคโลก อำเภอศรีสำโรง อำเภอเมืองสุโขทัย และอำเภอกงไกรลาศ จังหวัดพิษณุโลกบริเวณอำเภอพรหมพิราม อำเภอบางระกำ และจังหวัดอุตรดิตถ์ บริเวณอำเภอพิชัย  กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส่งเจ้าหน้าที่หรือประสานงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าปฏิบัติงานก่อนเกิดน้ำเอ่อล้นเข้าท่วมพื้นที่ดังกล่าว

8 สถานการณ์น้ำเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว
ข้อเสนอแนะจากคณะอนุฯ ๑๐ ก.ย. ๒๕๕๕ (ต่อ) ตั้งแต่วันที่ ๑ ก.ย.๕๕ เป็นต้นมา มีปริมาณน้ำไหลลงเขื่อนวชิราลงกรณและเขื่อนศรีนครินทร์ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงเสนอให้ เพิ่มการระบายที่เขื่อนวชิราลงกรณ เป็นวันละ ๓๕-๔๐ ล้าน ลบ.ม. โดยขอให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พิจารณาถึงผลกระทบท้ายแม่น้ำ แควน้อย และเขื่อนศรีนครินทร์เสนอให้เพิ่มการระบายเป็นวันละ ๒๐ ล้าน ลบ.ม. โดยให้เพิ่มการระบายน้ำของทั้งสองเขื่อนตั้งแต่วันที่ ๑๑ ก.ย.๕๕ ทั้งนี้ เสนอให้กรมชลประทานพร่องน้ำที่เขื่อนแม่กลอง เพื่อรองรับปริมาณน้ำที่จะไหลมาจากทั้งสองเขื่อนด้วย

9 สรุปสถานการณ์ปัจจุบัน
13 กันยายน 2555

10 รายงานสถานการณ์ฝน

11 แผนภาพฝนสะสมรายวัน (6-9 ก.ย. 55)
6 ก.ย. 55 8 ก.ย. 55 9 ก.ย. 55 ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา

12 แผนภาพฝนสะสมรายวัน (10-12 ก.ย. 55)
10 ก.ย. 55 11 ก.ย. 55 12 ก.ย. 55 ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา

13 แผนภาพฝนสะสมระหว่างวันที่ 6-12 ก.ย. 55
ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา

14 ปริมาณฝนสะสมย้อนหลัง
ย้อนหลัง 3 วัน ย้อนหลัง 7 วัน

15 รายงานสถานการณ์น้ำในเขื่อน

16 สถานการณ์น้ำเขื่อนภูมิพล
ปริมาณน้ำกักเก็บ ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้าเริ่มลดลง 53% (12 ก.ย.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 6,251 ล้าน ลบ.ม. 12 ก.ย. 55 ระบาย 1 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

17 สถานการณ์น้ำเขื่อนสิริกิติ์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 62% (12 ก.ย.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 3,646 ล้าน ลบ.ม. 12 ก.ย. 55 ระบาย 0 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

18 สถานการณ์น้ำเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้าเพิ่มขึ้น 45% ( 12 ก.ย.55) รับน้ำได้อีก 450 ล้าน ลบ.ม. 12 ก.ย.55 ระบาย 6.92 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

19 สถานการณ์น้ำเขื่อนวชิราลงกรณ
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน 84% (12 ก.ย.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 1,422 ล้าน ลบ.ม. 12 ก.ย. 55 ระบาย 35 ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

20 สถานการณ์น้ำเขื่อนศรีนครินทร์
ปริมาณน้ำในอ่าง ปริมาณน้ำไหลลงอ่างรายวัน ปริมาณน้ำไหลเข้าลดลง 84% (12 ก.ย.55) ปริมาณน้ำระบายรายวัน รับน้ำได้อีก 2,850 ล้าน ลบ.ม. 12 ก.ย.55 ระบาย ล้าน ลบ.ม. ที่มา : กรมชลประทาน,การไฟฟ้าฝ่ายผลิต

21 รายงานสถานการณ์น้ำท่า

22 แม่น้ำยม สถานี YOM007 - กงไกรลาศ
43.52 ม.รทก. (13/9/ น.)

23 แม่น้ำน่าน สถานี YOM008- บางระกำ
38.26 ม.รทก. (13/9/ น.)

24 แม่น้ำน่าน สถานี YOM009- โพธิ์ประทับช้าง
32.25 ม.รทก. (13/9/ น.)

25 แม่น้ำน่าน สถานี NAN008 - ชุมแสง
26.07 ม.รทก. (13/9/ น.)

26 แม่น้ำเจ้าพระยา สถานี CPY001 - สะพานเดชาติวงศ์
23.45 ม.รทก. (13/9/ น.)

27 แม่น้ำเจ้าพระยา สถานี C.2 – ค่ายจิรประวัติ
1,838 ลบ.ม./วิ (13/9/55 )

28 แม่น้ำเจ้าพระยา สถานี C.13 – เขื่อนเจ้าพระยา
1,838 ลบ.ม./วิ (13/9/55 )

29 สถานการณ์น้ำที่ปตร.มโนรมย์
151 ลบ.ม./วิ (13/9/55 )

30 สถานการณ์น้ำที่ปตร.มหาราช
18 ลบ.ม./วิ (12/9/55 )

31 สถานการณ์น้ำที่ปตร.มะขามเฒ่า-อู่ทอง
58 ลบ.ม./วิ (12/9/55 )

32 สถานการณ์น้ำที่ปตร.พลเทพ
20 ลบ.ม./วิ (12/9/55 )

33 สถานการณ์น้ำที่ปตร.บรมธาตุ
76 ลบ.ม./วิ (12/9/55 )

34 สถานการณ์น้ำที่เขื่อนพระรามหก
227 ลบ.ม./วิ (13/9/55 )

35 สถานการณ์น้ำที่ปตร.พระนารายณ์
38 ลบ.ม./วิ (13/9/55 )

36 แม่น้ำสะแกกรัง สถานี THA001 - หาดท่าเสา
16.57 ม.รทก. (13/9/ น.)

37 การคาดการณ์ในสัปดาห์หน้า
สรุปสถานการณ์น้ำและ การคาดการณ์ในสัปดาห์หน้า

38 การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 3x3 กม
13 ก.ย. 55 H 11.4 14 ก.ย. 55 15 ก.ย. 55 รายละเอียดเพิ่มเติม 38

39 การคาดการณ์ปริมาณฝนจากแบบจำลองสภาพอากาศ WRF (ความละเอียด 9x9 กม
16 ก.ย. 55 17 ก.ย. 55 H 7 19 ก.ย. 55 18 ก.ย. 55 39 รายละเอียดเพิ่มเติม 39

40 SSTA 10 กันยายน 2555 ONI= 0.09 IOD = 0.03 PDO = -1.93 ดัชนี PDO ต่ำกว่าปกติค่อนข้างมาก (แรงขึ้นจากเดือนก่อนหน้าจาก -1.8 เป็น -1.93) ดัชนี ONI ยังคงสภาพเป็นกลาง ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ 0.09 และจากนี้ไปมีแนวโน้มจะเปลี่ยนสภาพเป็น Elnino ต่อเนื่องถึงปลายปี 2555 ดัชนี IOD ยังคงสภาพเป็นกลาง ปัจจุบันมีค่าเท่ากับ 0.03 Source ONI: PDO: (Global ocean monitoring/NOAA) IOD: Ocean Nino Index (ONI) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA 3 เดือน (มิถุนายน-กรกฎาคม-สิงหาคม) ในมหาสมุทรแปซิฟิกบริเวณ 5oN-5oS, 120o-170oW Pacific Decadal Oscillation (PDO) เป็นค่าเฉลี่ย SSTA เดือนสิงหาคมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก เหนือ 20oN Indian Ocean Dipole (IOD) เป็นผลต่าง SSTA ของเดือนมิถุนายน บริเวณ 50-70oE, 10oS-10oN และ E, 10oS-0oN 40

41 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนภูมิพล
คาดการณ์ ล้าน ลบ.ม. กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนภูมิพล (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนภูมิพล (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน 44

42 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนสิริกิติ์
คาดการณ์ 305.7ล้าน ลบ.ม. กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนสิริกิติ์ (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนสิริกิติ์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

43 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนวชิราลงกรณ
คาดการณ์ 566 ล้าน ลบ.ม. กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนวชิราลงกรณ (ระยะสั้น) กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนวชิราลงกรณ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

44 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

45 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนศรีนครินทร์
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนศรีนครินทร์ (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

46 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนลำพระเพลิง
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนลำพระเพลิง (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

47 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนลำตะคอง
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนลำตะคอง (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

48 คาดการณ์สถานการณ์น้ำในเขื่อนลำปาว
กราฟแสดงการคาดการณ์ปริมาณน้ำในอ่างฯ เขื่อนลำปาว (ระยะยาว) ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และกรมชลประทาน

49 สถานการณ์น้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา
13 ก.ย. 2555 ที่มา : กรมชลประทาน

50 สภาพน้ำในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ฝั่งตะวันออก-ตะวันตก
ที่มา : กรมชลประทาน

51 การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์สมดุลน้ำ ประจำสัปดาห์

52 ผลการวิเคราะห์สมดุลน้ำ 13 กันยายน 2555

53 สรุปข้อเสนอแนะจากคณะทำงาน
เฝ้าระวังฝนตกหนัก ช่วงวันที่ 2-5 ก.ย. 55 เฝ้าระวังฝนตกหนักบริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ซึ่งอาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลากได้ การบริหารน้ำในเขื่อน เขื่อนวชิราลงกรณ เสนอให้ลดการระบายลงเหลือวันละ 22 ล้านลูกบาศก์เมตร เริ่มตั้งแต่วันที่ 2 ก.ย. 55 ทั้งนี้น้ำที่ระบายจากเขื่อนวชิราลงกรณสามารถผันผ่านคลองจระเข้สามพันและคลองท่าสารบางปลาเข้าสู่แม่น้ำท่าจีน ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตรได้ เขื่อนศรีนครินทร์ เสนอให้คงการระบายน้ำวันละ 10 ล้านลูกบาศก์เมตร จนถึงวันที่ 1 ก.ย. 55 หลังจากนั้นให้ลดการระบายลงเหลือวันละ 8 ล้านลูกบาศก์เมตร เขื่อนอุบลรัตน์ ปัจจุบันระดับน้ำต่ำกว่าเกณฑ์ควบคุมล่าง (Lower Rule Curve) โดยมีปริมาณน้ำใช้การได้เพียง 20% ในระยะสั้นเสนอให้ระบายน้ำเพียงพอต่อความต้องการขั้นต่ำ และให้เฝ้าติดตามปริมาณน้ำไหลเข้าในช่วงเดือนกันยายน และตุลาคม เขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ จากการบริหารจัดการน้ำในช่วงที่ผ่านมา ทำให้ปัจจุบันเขื่อน ภูมิพลสามารถรับน้ำได้อีก 6,930 ล้านลูกบาศก์เมตร เขื่อนสิริกิติ์รับน้ำได้อีก 4,299 ล้านลูกบาศก์เมตร ซึ่งเพียงพอต่อการป้องกันน้ำล้นเขื่อน และเนื่องจากมีฝนตกบริเวณท้ายเขื่อนทำให้มีปริมาณน้ำเพียงพอต่อความต้องการ จึงเสนอให้ลดการระบายน้ำของเขื่อนทั้งสองเป็นวันละ 8 ล้านลูกบาศก์เมตร ตั้งแต่วันที่ 31 ส.ค. 55 Update 58 58

54 ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องเพื่อพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องเพื่อพิจารณา ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่น ๆ (ถ้ามี) ๕.๑ นัดหมายการประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ ครั้งที่ ๑๗/๒๕๕๕ สรุปข้อเสนอแนะจากที่ประชุมคณะอนุกรรมการเสนอต่อ กบอ. วันศุกร์ที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๕๕ ประชุมคณะอนุกรรมการครั้งต่อไป วันศุกร์ที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. สถานที่ 59 59

55 จบการรายงาน

56


ดาวน์โหลด ppt ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google