งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
การวิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตัวชี้วัด วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ท ๔.๑ ม. ๔-๖/๗)

2 ลักษณะการใช้ภาษาที่ปรากฎ ๑.ใช้ภาษาพูด
ลักษณะการใช้ภาษาที่ปรากฎ ๑.ใช้ภาษาพูด ชาวบ้านจ๊าก นํ้ามันพุ่ง ลิตรละ ๒๓.๕๙ หลินปิง “อ้วนปุ๊กลุก” เตรียมหัดเดิน เรือใบจุก “ เตเบซ-บินโญ” นัดกันเดี้ยง เกมทีมชาติ

3 ๒. ใช้ภาษาเร้าใจ พูนสวัสดิ์มั่นใจสยบแชมป์ตัวจริงกระชาก เข็มขัดโลก
โอบาม่า “จวกแหลก” วอลล์สตรีท ชี้ ไม่ใส่ใจบทเรียน “เลห์แมน” ล้ม (จวก คือ ว่าหรือตำหนิอย่างรุนแรง)

4 ๓. คำที่มีความหมายแฝง มักใช้พาดหัวข่าว
“สุมิท” ยอมไขก๊อก ผอ.พอเพียง (ไขก๊อก หมายถึง เลิกล้ม เลิกดำเนินการ) ปัญหาการศึกษาชายแดนใต้กับโจทย์ที่ยังตีไม่แตก (โจทย์ที่ยังตีไม่แตก หมายถึง ยังสรุปไม่ได้)

5 ๔. ใช้อักษรย่อมากเกินไป อาจทำให้ผู้อ่านไม่เข้าใจ
“คนร้ายบึ้ม ขรก. - ตร. - ชบ. หนีกระเจิง” ขรก. คือ ข้าราชการ ตร. คือ ตำรวจ ชบ. คือ ชาวบ้าน

6 ๕. ใช้คำทับศัพท์ เขาลงสมัคร ส.ส. ในระบบปาร์ตีลิสต์
(ปาร์ตีลิสต์ หมายถึง การเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ) นักร้องคนนี้โกอินเตอร์ไปเป็นนักร้องเกาหลี (โกอินเตอร์ หมายถึง การเผยแพร่หรือแสดง ในต่างประเทศ)

7 ๖. ใช้การตัดคำ แก้ฉกเป๋า นักท่องเที่ยว ตั้ง สน.สุวรรณภูมิ
(เป๋า คือ กระเป๋า) เด็กไทยเจ๋งคว้า ๒ ทอง แข่งช่างโลก (ทอง คือ เหรียญทอง)

8 ๗. ใช้สมญานาม คือการตั้งชื่อเพื่อเป็นที่เข้าใจตรงกันและน่าสนใจ
“เมืองผู้ดีเอาชนะแดนปลาดิบไปได้ ๓ ประตูต่อ ๒” เมืองผู้ดี คือ ประเทศอังกฤษ แดนปลาดิบ คือ ประเทศญี่ปุ่น

9 ๘. ใช้คำสแลง คือ คำที่ไม่ได้ใช้ความหมาย ตรง เป็นความหมายใหม่
บุรีรัมย์นัดฟาดแข้งกับโคราชวันเสาร์นี้ (ฟาดแข้ง คือ ลงสนามเตะฟุตบอล) เกิดสงครามนํ้าลายในการประชุมนัดนี้ (สงครามนํ้าลาย คือ การโต้เถียงเรื่องไร้สาระ)

10 ๙.ใช้คำกริยาขึ้นต้นประโยค
โผล่ แล้ว จระเข้เขาใหญ่ ไม่สนคน เปิด ชื่อ ๔๑ บอร์ดใหม่ ศก.พอเพียง ๓ บิ๊ก ทบ.-๒ เอ็มดีบริษัทดังร่วมวง

11 การใช้ภาษาในหนังสือพิมพ์
มีความโดดเด่น เพื่อแข่งขันกันจำหน่าย ถ้อยคำต้องสะดุดตา การใช้ภาษาต้องดึงดูดใจ ใช้อักษรย่อ การตัดคำ เพราะเนื้อที่จำกัด

12 ลักษณะการใช้ภาษาในสื่ออิเล็กทรอนิกส์

13 ๑.การใช้สระ เปลี่ยนรูปสระ คิดถึง > คิดถุง เปลี่ยนเสียงสระ ตัดรูปสระ
คิดถึง > คิดถุง เปลี่ยนเสียงสระ สระเสียงสั้นเปลี่ยนเป็นสระเสียงยาวใคร > คราย สระเสียงยาวเปลี่ยนเป็นสระเสียงสั้น มาก > มั่กๆ ตัดรูปสระ เร็ว > เรว

14 ๒.การใช้วรรณยุกต์ เพิ่มรูปวรรณยุกต์ หนู > นู๋ ตัดรูปวรรณยุกต์
เล่น > เลน

15 เธอ > เทอ แล้ว > แร้ว
๓.การใช้พยัญชนะ เปลี่ยนพยัญชนะต้น เธอ > เทอ แล้ว > แร้ว เปลี่ยนพยัญชนะท้าย (ตัวสะกด) โทษ > โทด เวรกรรม > เวงกำ

16 จริง > จิง กลัว > กัว
๔.การใช้อักษรควบกล้ำ คำที่ไม่มีอักษรควบกล้ำ เปลี่ยนเป็นมีอักษรควบกล้ำ คำที่มีอักษรควบกล้ำ เปลี่ยนเป็นไม่มีอักษรควบกล้ำ เก๋ > เกร๋ จริง > จิง กลัว > กัว แก > แกร ๕.การใช้อักษรหรือตัวเลขแทนเสียง ฮิฮิ

17 ผม > ป๋ม ใช่ไหม > ชิมิ
๖.การเปลี่ยนรูปคำ ผม > ป๋ม ใช่ไหม > ชิมิ ๗.การใช้คำสแลง ฟิน > รู้สึกดี มโน > คิดไปเอง


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google