ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หลักการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย :
เขียนอย่างไรให้ได้รับทุนอุดหนุน การวิจัย วันที่ 12 มกราคม 2560 โดย สุธิดา อ่อนสองชั้น โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่) รุ่นที่ 3 จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
2
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับ ทุนอุดหนุนการวิจัย
ผู้เสนอขอรับทุนจะต้องศึกษาข้อมูล : แหล่งทุน และพันธกิจของแหล่งทุน การกำหนดโจทย์วิจัยและเกณฑ์ในการประเมิน ข้อเสนอโครงการวิจัย หลักการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
3
การกำหนดโจทย์วิจัย อาจพิจารณาจาก
นโยบายและยุทธศาสตร์ การวิจัยของชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ ) ยุทธศาสตร์ของประเทศ แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ เรื่องที่ควรวิจัยเร่งด่วน โจทย์วิจัย
4
ลักษณะของโครงการวิจัยที่ดี
ความถูกต้อง (Correctness) ความมีเหตุผลมั่นคง (Cogency) ความกระจ่างแจ้ง (Clarity) ความสมบูรณ์ (Completeness) ความกะทัดรัดชัดเจน (Concise) ความสม่ำเสมอ (Consistency) ความสัมพันธ์เชื่อมโยงสอดคล้อง (Correspondence) ที่มา : - ทิศทางการวิจัยและเทคนิคการเขียนโครงการวิจัยให้ได้งบประมาณ โดย อ.สุนันทา สมพงษ์ (วช.)
5
แนวทางการสนับสนุนงานวิจัยของแหล่งทุน
การวิจัยภายใต้กรอบการวิจัยที่ประกาศของ แหล่งทุน มีเป้าหมาย ผลผลิต และผลลัพธ์ชัดเจน ตัวชี้วัดความคุ้มค่ามีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีกลุ่มเป้าหมาย นำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ได้จริง
6
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยที่ดี
ผู้วิจัยต้องคำนึงถึง : การเขียนชื่อโครงการวิจัย - สั้น กะทัดรัด ชัดเจน - ใช้ภาษาถูกต้อง สื่อความหมาย เข้าใจง่าย - ทันสมัย
7
การเริ่มต้นเขียนโจทย์วิจัย
เริ่มจาก ทำวิจัยอะไร (ตัวแปร) ทำวิจัยกับใคร (กลุ่มตัวอย่าง) ทำวิจัยที่ไหน (สถานที่) ทำวิจัยเมื่อไร (เวลา) ทำวิจัยอย่างไร (วิธีวิจัย)
8
การพิจารณาข้อเสนอการวิจัย
1. คุณภาพงานวิจัย 2. คุณภาพของข้อเสนอการวิจัย 3. ความเหมาะสมของนักวิจัย / ทีมวิจัย 4. จริยธรรมการวิจัย 5. งบประมาณ
9
รูปแบบการเขียนข้อเสนอโครงการ
กำหนดตาม Format ของแหล่งทุน ผู้ทรงคุณวุฒิจะประเมินข้อเสนอโครงการตาม ข้อมูลที่กำหนด ซึ่งมาจากรายละเอียดใน Format
10
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (ปี2560)
(แบบ ว-1ด/แบบ คอบช. 1ย/1ด) - ยื่นขอรับทุนในกลุ่มเรื่อง - กรอบวิจัย - กรอบวิจัยย่อย ชื่อโครงการวิจัย(ภาษาไทย) (ภาษาอังกฤษ) ชื่อแผนงานวิจัย
11
แบบเสนอโครงการวิจัย ส่วน ก. ลักษณะโครงการวิจัย
ส่วน ก. ลักษณะโครงการวิจัย โครงการวิจัยใหม่ โครงการต่อเนื่อง ระยะเวลา ปี ปีนี้เป็นปีที่ ระบุความสอดคล้องของโครงการวิจัยกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมห่างชาติ ระบุความสอดคล้องของโครงการวิจัยกับนโยบายและแผนยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ( ) ( ) ยุทธศาสตร์การวิจัยรายประเด็น ยุทธศาสตร์ชาติ นโยบาย/เป้าหมายของรัฐบาล
12
ส่วน ข. องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย
ผู้รับผิดชอบ (คณะผู้วิจัย บทบาทนักวิจัย สัดส่วนในการทำวิจัย หน่วยงาน) – ที่ปรึกษา – หัวหน้าโครงการวิจัย – นักวิจัย ประเภทการวิจัย (ระบุ 1 ประเภท) สาขาวิชาการและกลุ่มวิชาที่ทำการวิจัย คำสำคัญ (Key word) ของโครงการวิจัย (ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ)
13
ส่วน ข. องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย (ต่อ)
ส่วน ข. องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย (ต่อ) ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ทำการวิจัย – เสนอทฤษฎี หลักการ แนวคิด – แสดงข้อมูลทางสถิติ ข้อมูลเชิงคุณภาพ – สถานการณ์ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน – สภาวะที่เป็นปัญหา – ประเด็นที่จะวิจัย – ความจำเป็นที่ต้องรีบแก้ไข วัตถุประสงค์ของการทำวิจัย
14
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
ในการเขียนวัตถุประสงค์ : คำที่ควรใช้ - เพื่อศึกษา เพื่อหาความสัมพันธ์ เพื่อวิเคราะห์ เพื่อประเมิน เพื่อเปรียบเทียบ เพื่อตรวจสอบ เพื่อออกแบบ เพื่อพัฒนา เพื่อสำรวจ เพื่อสร้าง - เพื่ออธิบาย
15
ตัวอย่าง ชื่อโครงการวิจัยและวัตถุประสงค์
16
ส่วน ข. องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย (ต่อ)
ส่วน ข. องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย (ต่อ) ขอบเขตของโครงการวิจัย – ระบุขอบเขตการวิจัยในเชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ ขอบเขตของสถานที่/ประชากรที่ศึกษา/เนื้อหาสาระ เวลา ทฤษฎี สมมติฐาน(ถ้ามี) และกรอบแนวคิดของโครงการวิจัย – ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทำการวิจัย แล้วนำมา สังเคราะห์เป็นสมมติฐานและกรอบแนวคิดของการ วิจัย
17
(กรณีการวิจัยทางสังคมศาสตร์)
กรอบแนวคิดการวิจัย (กรณีการวิจัยทางสังคมศาสตร์) เป็นการนำเอาตัวแปร ที่จะศึกษามาเชื่อมโยงกับแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในรูปแบบของคำบรรยายหรือแบบจำลองแผนงาน หรือรูปแบบที่ผสมกัน ที่มา : - การเขียนข้อเสนอการวิจัยให้ได้ทุน รศ.ดร.นัยพินิจ คชภักดี
18
(กรณีการวิจัยทางวิทยาศาสตร์)
กรอบแนวคิดการวิจัย (กรณีการวิจัยทางวิทยาศาสตร์) เสนอในรูปแบบ (model) เสนอในรูปแบบกระบวนการ (process) เสนอในรูปแบบการบรรยายเชิงพรรณา เสนอในรูปแบบผสม ที่มา : - การเขียนข้อเสนอการวิจัยให้ได้ทุน รศ.ดร.นัยพินิจ คชภักดี
19
กรอบแนวคิดในการทำวิจัย
ตัวอย่าง : วิจัยเรื่อง “ปัจจัยทางสังคมบางประการ ที่มีอิทธิพลต่อการ ที่มีส่วนร่วมของผู้นำชุมชนในกิจกรรมพัฒนาท้องถิ่น” นักวิจัยต้อง - ค้นคว้าจากแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง - สรุปองค์ความรู้ ให้มีขอบเขตแน่นอนว่า “ปัจจัยทางสังคม” “การมีส่วนร่วม” “กิจกรรมพัฒนาท้องถิ่น” มีคำอธิบายอย่างไร กำหนด ขอบเขตไว้แค่ไหน
20
กรอบแนวคิดในการทำวิจัย (ต่อ)
วิจัยเรื่อง “ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของนักประชา สงเคราะห์ในส่วนภูมิภาค” - หาข้อสรุปองค์ความรู้ ให้มีขอบเขตแน่นอนกับ “ความพึงพอใจ” - พฤติกรรมที่เรียกว่า ความพึงพอใจนั้น มีลักษณะอย่างไร - สิ่งที่เรียกว่า “ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน” มีองค์ ประกอบอะไรบ้าง - คนปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ มีภารกิจอะไร
21
ส่วน ข. องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย (ต่อ)
การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ – การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง (Reviewed literature) – ตรวจสอบสถิติ สอบถามความคิดเห็น – แสวงหาเหตุผลที่น่าจะเป็นไปได้ – นำไปสู่ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม แนวคิด แบบแผนการ วิจัย สมมติฐานการวิจัย นิยาม ตัวชี้วัด
22
ส่วน ข. องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย (ต่อ)
ส่วน ข. องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย (ต่อ) เอกสารอ้างอิงของโครงการวิจัย – เขียนตามระบบเอกสารอ้างอิง (เรียงตามตัวอักษร) ชื่อคนแต่ง ชื่อหนังสือ จังหวัด โรงพิมพ์ ปีที่พิมพ์ ชื่อผู้เขียน ชื่อบทความ ชื่อวารสาร ฉบับที่ พ.ศ. หน้าบทความ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ด้านวิชาการ ด้านนโยบาย ด้านเศรษฐกิจ/พาณิชย์/อุตสาหกรรม ด้านสังคมและชุมชน หน่วยงานที่นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
23
ส่วน ข. องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย (ต่อ)
แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือผลการวิจัยสู่กลุ่มเป้าหมาย – แสดงแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือผลการวิจัยสู่ กลุ่มเป้าหมาย หรือ – ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย และพัฒนาขั้นต่อไป – ระบุกลุ่มเป้าหมาย วิธีการถ่ายทอด ระยะเวลา สถานที่ ให้ชัดเจน (อาจทำเสนอในรูปตาราง)
24
ส่วน ข. องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย (ต่อ)
วิธีดำเนินการวิจัย – ระบุแนวทางในการดำเนิน (แบบแผนของการวิจัย) – ระบุประชากรกลุ่มตัวอย่าง แหล่งข้อมูล วิธีการสุ่มตัวอย่าง – ตัวแปรและนิยามตัวแปร/การกำหนดขอบข่ายของข้อมูล – เครื่องมือวิจัย (การทดสอบ การสอบถาม แบบสัมภาษณ์) – วิธีรวบรวมข้อมูล – การวิเคราะห์ข้อมูล
25
ส่วน ข. องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย (ต่อ)
ระยะเวลาการวิจัย – วันเริ่มต้นจนถึงสิ้นสุดโครงการ (ปีงบประมาณ 1 ตุลาคม-30 กันยายน ของปีถัดไป) – ถ้าเป็นโครงการวิจัยมากกว่า 1 ปี ให้แจ้งแผนการ ดำเนินการในปีต่อไปด้วย ปัจจัยที่เอื้อต่อการวิจัย (อุปกรณ์การวิจัย โครงสร้างพื้นฐาน ฯลฯ ระบุเฉพาะปัจจัยที่ต้องการเพิ่มเติม) – ระบุประเภท รายละเอียด เหตุผลความจำเป็น และ ประมาณการราคาของอุปกรณ์ที่ต้องการเพิ่มเติม
26
ส่วน ข. องค์ประกอบในการจัดทำโครงการวิจัย (ต่อ)
งบประมาณโครงการวิจัย – รายละเอียดงบประมาณการวิจัยประเภทต่างๆ (งบบุคลากร งบดำเนินการ : ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค) ผลสำรวจของการวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ (ผลสำเร็จเบื้องต้น ผลสำเร็จกึ่งกลาง ผลสำเร็จตามเป้าประสงค์) โครงการวิจัยต่อเนื่อง (คำรับรองจากหัวหน้าโครงการวิจัยว่าได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีที่ผ่านมาจริง จำนวนเท่าใด) คำชี้แจงอื่นๆ ลงลายมือชื่อหัวหน้าโครงการวิจัย (พร้อมวันเดือนปี)
27
ส่วน ค. ประวัติคณะผู้วิจัย
– ชื่อ-นามสกุล – เลขบัตรประจำตัวประชาชน – ตำแหน่งปัจจุบัน – หน่วยงานและสถานที่ติดต่อได้สะดวก – ประวัติการศึกษา – สาขาวิชาที่ชำนาญการพิเศษ – ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานวิจัย – ระบุสถานภาพในการทำงานวิจัย (ผู้อำนวยการแผนงานวิจัย หัวหน้าโครงการวิจัย ผู้ร่วมวิจัย งานวิจัยที่ทำเสร็จแล้ว และกำลังทำ)
28
ปัญหา ที่โครงการวิจัยไม่ได้รับการสนับสนุน
29
โครงการวิจัยที่ไม่ได้รับการสนับสนุน
1. เขียนไม่ถูกต้องตามข้อกำหนดของหน่วยงาน ให้ทุน (TOR) 2. ส่งเอกสารไม่ครบถ้วนตามข้อกำหนด เอกสารไม่ สมบูรณ์ พิมพ์ผิด 3. ส่งไม่ทันตามกำหนดเวลา 4. ซ้ำซ้อนกับคนอื่น 5. เรื่องนั้นไม่จำเป็นต้องวิจัย ไม่เหมาะสม ความเป็นไปได้น้อย 6. ไม่ได้ทบทวนวรรณกรรม
30
โครงการวิจัยที่ไม่ได้รับการสนับสนุน (ต่อ)
7. ที่มาของปัญหาไม่สัมพันธ์กับโจทย์ 8. ผลที่ได้รับ/การนำไปใช้ประโยชน์ ไม่ชัดเจน 9. เอกสารอ้างอิง ล้าสมัย น้อย 10. ใช้ระเบียบวิธีวิจัยไม่เหมาะสม 11. หัวหน้าโครงการไม่มีประสบการณ์ 12. งบประมาณมากเกินไป ไม่เหมาะสมกับปริมาณงาน 13. ไม่คำนึงถึงผู้ใช้ประโยชน์
31
ปัญหาการสืบค้นผลงานวิจัย
สืบค้นไม่สมบูรณ์ ไม่สัมพันธ์และนำไปสู่งานวิจัยที่เสนอขอรับทุน
32
ปัญหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัย
ไม่ชัดเจน กว้างเกินไป ไม่ตอบโจทย์วิจัย ไม่เหมาะสม ไม่สามารถดำเนินการได้
33
ปัญหาเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัย
1. ไม่ละเอียด ไม่ครอบคลุม 2. ไม่เชื่อมโยงกับวัตถุประสงค์ 3. ดำเนินการได้ยาก และไม่ตอบโจทย์วิจัย 4. ลอกเลียนแบบ 5. ไม่เป็นวิชาการ ไม่เป็นระบบ
34
ปัญหาด้านความเหมาะสมของปริมาณงาน
ปริมาณงานน้อยเกินไป งบประมาณสูงไป ปริมาณงานมาก อาจไม่สามารถดำเนินการเสร็จ ได้ในเวลาที่กำหนด เอกสารอ้างอิงไม่สมบูรณ์
35
ปัญหาอื่นๆ การสะกดคำไม่ถูกต้อง พิมพ์ผิด
การสะกดคำไม่ถูกต้อง พิมพ์ผิด การอ้างอิงไม่ถูกต้องสมบูรณ์ ไม่เขียนตาม format ของหน่วยงานที่ให้ทุน หัวหน้าโครงการวิจัยไม่มีประสบการณ์ และมี โครงการที่ยังทำไม่แล้วเสร็จ
36
ข้อเสนอโครงการวิจัยที่ดีในภาพรวม
สรุป ข้อเสนอโครงการวิจัยที่ดีในภาพรวม มีการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน ไม่ซ้ำซ้อน สามารถวัดและประเมินผลได้ชัดเจน สามารถปฏิบัติให้บรรลุผลได้ สมเหตุสมผล มีความเป็นไปได้สูง มีกรอบเวลาที่ชัดเจน เหมาะสม ใช้งบประมาณเหมาะสม มีผลลัพธ์ที่วัดได้ชัดเจน มีองค์ความรู้ใหม่ มีการสร้างนักวิจัยและเครือข่ายวิจัยที่ดี
37
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.