งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นายวีระชัย ก้อน มณี ผช.ผอ.สปสช.เขต๙ นครราชสีมา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นายวีระชัย ก้อน มณี ผช.ผอ.สปสช.เขต๙ นครราชสีมา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นายวีระชัย ก้อน มณี ผช.ผอ.สปสช.เขต๙ นครราชสีมา
การบริหารงบบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปี 2560 นายวีระชัย ก้อน มณี ผช.ผอ.สปสช.เขต๙ นครราชสีมา

2 การออกแบบระบบ กระทรวง สปสช. ระบบและมาตรฐานบริการ เตรียมให้บริการ CM CG
จัดบริการ กำกับประเมินผล สปสช. ประสานผู้เกี่ยวข้อง กำหนดสิทธิประโยชน์ บริหารจัดการงบประมาณ สรุปผลโครงการ ท้องถิ่น บริหารโครงการ จัดบริการผ่านศูนย์ผู้สูงอายุ จัดสรรงบประมาณ ติดตามกำกับ การออกแบบระบบ

3 บทบาทในการดำเนินงานตามโครงการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ท้องถิ่น สมัครเข้าร่วมโครงการ เปิดบัญชีเพื่อรับเงินสนับสนุน ตั้งอนุกรรมการ ตามประกาศ พิจารณาจัดสรรงบตาม Care Plan ที่หน่วยบริการเสนอ เบิกจ่ายเงินให้หน่วยบริการตามที่อนุกรรมการอนุมัติ รับรายงานผลการดำเนินงาน หน่วยบริการหรือศูนย์ผู้สูงอายุ เตรียม Care manager Care Giver สำรวจข้อมูล แยกกลุ่มเป้าหมาย ทำ Care Plan สำหรับกลุ่ม ADL ต่ำกว่า 11 แยกตาม 4 กลุ่มเป้าหมาย เสนอแผน Care Plan ให้ท้องถิ่นเพื่อพิจารณาอนุมัติงบ จัดบริการตาม Care Plan รายงานผล สปสช. ชี้แจงแนวทางการการบริหารจัดการงบประมาณให้ท้องถิ่นและหน่วยบริการ ดำเนินการรับสมัครพื้นที่ จัดสรรงบให้หน่วยบริการที่มีท้องถิ่นร่วมโครงการ จัดสรรงบให้ท้องถิ่นตามจำนวนกลุ่มเป้าหมายประมาณรายละ 5,000 บาท

4 สรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย และค่าใช้จ่าย LTC ปี 59
รายการ เป้าหมาย ผลงาน ผสอ.กลุ่มติดบ้านติดเตียง 100,000 ราย 80,826 คน (กลุ่มติดบ้าน = 64,660 คน คิดเป็นร้อยละ 80 กลุ่มติดเตียง = 16,166 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ) อปท.ในพื้นที่ดำเนินงาน LTC 1,000 แห่ง 1,752 แห่ง หน่วยบริการสังกัด สธ. ในพท.ดำเนินงาน LTC ปี 59 จำนวน 889 แห่ง หมายเหตุ ในปี 59 กทม.ยังไม่พร้อมในการเข้าร่วมดำเนินการ โดยคาดว่าในปี 60 จึงจะร่วมดำเนินงาน สรุปการใช้จ่ายงบประมาณ LTC ภายใต้วงเงิน 600 ล้านบาท รายการ วงเงิน ยอดจัดสรร เงินคงเหลือ รพช. (แห่งละ 1 แสนบาท.) 100,000,000 88,900,000 11,100,000 อปท. (รวม กทม.) 500,000,000 404,130,000 95,870,000 รวม 600,000,000 493,130,000 106,970,000 ข้อมูล ณ. 30 สค.59

5 กราฟแสดงจำนวนผสอ. กลุ่มติดบ้านติดเตียง และจำนวนอปท. ในพท
กราฟแสดงจำนวนผสอ.กลุ่มติดบ้านติดเตียง และจำนวนอปท.ในพท. LTC ปี 59 จำแนกรายเขต

6 กราฟแสดงการจัดสรรงบประมาณ LTC ปี 59 ให้กับอปท. (5,000บ

7 ปัญหา/ข้อจำกัดในการดำเนินงาน LTC ปี 59
1.1 การประมาณประชากร/พท.เป้าหมาย มีความคลาดเคลื่อน (ประมาณการ= 100 คน/อปท. การดำเนินงานจริง= 50 คน/อปท. ) ทำให้ปี 59 ต้องขยายพท.ดำเนินงานเพิ่มเติม 1.2 การให้อปท.ที่เข้าร่วมดำเนินงานเปิดบัญชีใหม่ ส่งผลให้การโอนงบประมาณล่าช้าเนื่องจากต้องใช้เวลาในการดำเนินงานด้านธุรกรรม 1.3 ผลกระทบจาก สตง.ไม่ให้มีการกันงบเหลื่อมปี กรณีไม่ทราบ เจ้าหนี้ (ไม่มี Vender) 2 ข้อสั่งการ สธ. ไม่ให้หน่วยบริการในสังกัด จ่ายงบ LTC เพื่อเป็นค่าตอบแทน CG โดยเงินบำรุงของหน่วยงานและให้ประสานท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของ CG ส่งผลให้ 2.1 หน่วยบริการเกิดความสับสน ไม่กล้าเสนอ care plan เพื่อขอสนับสนุนงบ LTC จาก อปท. 2.2 อปท.ไม่ต้องการเข้าร่วมดำเนินงานเนื่องจากเกรงปัญหางบประมาณ คงเหลือสะสม ขอบเขตการใช้งบ LTC ในปี 59 ยังไม่ชัดเจน ทำให้หน่วยบริการ ไม่กล้าใช้งบประมาณ (100,000 บ.) อปท.และหน่วยบริการ ยังไม่เข้าใจประกาศฯ คู่มือการดำเนินงาน LTC 5. ความไม่ชัดเจนในบางประเด็นที่ยังไม่ชัดเจนของประกาศฯ LTC ซึ่ง ต้องรอการวินิจฉัยของเลขาธิการฯในการตอบข้อหารือจากพื้นที่ 6. ยังไม่มีการพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อการติดตามประเมินผล

8 แนวทางการบริหารงบบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปีงบประมาณ ๒๕๖๐

9 ค่าบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ปีงบประมาณ 2560
วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(กลุ่มติดบ้านติดเตียง)ได้รับบริการด้านสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล/อบต.) เป็นเจ้าภาพหลัก ในการบริหารจัดการระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง แบบบูรณาการในพื้นที่ ภายใต้การสนับสนุนของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่ เป้าหมาย : ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป สิทธิ์UC ที่มีคะแนนประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) เท่ากับหรือน้อยกว่า 11 คะแนน วงเงิน และเป้าหมายการดำเนินงาน LTC ปีงบประมาณ 2560 ค่าบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิง ปี 59 ปี 60 ผลต่าง จากปี 59 วงเงินที่ได้รับ (ลบ.) 600 900 300 เป้าหมายผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง (คน) 100,000 150,000 50,000

10 กรอบการบริหารค่าบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงปี 2560
(จำนวน 900 ล้านบาท) POP (ผสอ.สิทธิ์ UC) = 150,000 คน 150 ลบ. (on top) บริการ LTC ในหน่วยบริการ พม. มหาดไทย สสส. สช. สวรส. เอกชน ซื้อบริการ 750 ลบ. กองทุนหลักประกันสุขภาพ อปท. สปสช. หน่วยบริการประจำ สนับสนุนบริการ LTC ในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาคูณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(LTC center ) บริการเชิงรุกที่ศูนย์ฯ Care manager Caregiver บริการเชิงรุก ที่บ้าน บริการเชิงรุกที่บ้าน ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

11 หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการจัดสรร กรอบการบริหารค่าใช้จ่าย
ขอบเขตการดำเนินงาน 1. จำนวน 150 ล้านบาท - จ่ายแบบเหมาจ่ายให้หน่วยบริการประจำในพื้นที่ (ยกเว้น พท.สปสช.เขต 13 กทม.) ที่เข้าร่วมดำเนินการบูรณาการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนและบริการสุขภาพชุมชน เฉลี่ยแห่งละ 100,000 บาท - สามารถปรับจ่ายแบบขั้นบันไดตามจำนวนเป้าหมายได้ตามหลักเกณฑ์ที่สปสช.กำหนด 1.1 จัดทีมหมอครอบครัวร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการคัดกรองผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงตามแบบประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตาม ดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Barthel ADL index) เพื่อแบ่งผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงออกเป็น 4 กลุ่มและประเมินความต้องการการบริการด้านสาธารณสุข (ชุดสิทธิประโยชน์และอัตราค่าชดเชยค่าบริการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง) Care Plan) เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ต่อไป 1.2 จัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์ ตามแนบท้ายประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์ เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2559

12 หลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการจัดสรร กรอบการบริหารค่าใช้จ่าย
ขอบเขตการดำเนินงาน 2. จำนวน 725 ล้านบาท จ่ายแบบเหมาจ่ายให้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่เข้าร่วมดำเนินการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน ในอัตรา 5,000 บาทต่อคนต่อปี เป็นค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่เกี่ยวข้อง 3. จำนวน 25 ล้านบาท จัดสรรสำหรับ สปสช.เขต 13กทม.เพื่อ สนับสนุนกรุงเทพมหานครในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติที่มีภาวะพึ่งพิง ตามหลักเกณฑ์ที่ สปสช.กำหนดร่วมกับกรุงเทพมหานคร โดยคำนึงถึงความเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ เป็นค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ตามหลักเกณฑ์ที่ สปสช.กำหนดร่วมกับกรุงเทพมหานคร โดยคำนึงถึงความเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ

13 การดำเนินงานดูแลระยะยาวฯในอปท.ที่ไม่ใช่พื้นที่ เป้าหมาย
กรณี อปท.ที่ไม่ใช่พื้นที่เป้าหมายหรือมิได้แสดง ความจำนงเข้าร่วมดำเนินการ จะไม่สามารถ ดำเนินการได้ภายใต้หลักเกณฑ์ในประกาศฯ กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ(ฉบับที่2) พ.ศ.2559 อย่างไรก็ตามเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ LTC แม้ อปท.จะไม่ได้รับเงินเพิ่มจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในส่วนค่าบริการ LTC ก็อาจดำเนินการได้ ตามประกาศคณะกรรมการหลักฯเรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ ภายใต้วัตถุประสงค์ของข้อ 7(1) หรือข้อ 7(3) แล้วแต่กรณี

14 ผังขั้นตอนการโอนงบLTC ( เหมาจ่าย 5,000 บาท/ราย/ปี) ให้กับกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ

15 ตามสัดส่วนประชากร 60 ปีขึ้นไปสิทธิ์ UC (ภายใต้วงเงิน 725,000,000 บ.)
การจัดสรรประชากรผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียงปีงบประมาณ 60 จำแนกรายเขตและจังหวัด ตามสัดส่วนประชากร 60 ปีขึ้นไปสิทธิ์ UC (ภายใต้วงเงิน 725,000,000 บ.)

16 การบริหารงบ LTC กรณีผสอ.กลุ่มเป้าหมายมีการเปลี่ยนแปลง
( ย้ายออกจากพท./สูญหาย/ตาย ) ก่อนคณะอนุ LTC อนุมัติ CP หลังคณะอนุ LTC อนุมัติ CP สปสช.ส่วนกลาง ยังไม่โอนงบให้อปท. ส่วนกลาง โอนงบให้อปท.แล้ว หน่วยบริการ แจ้งcase ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปที่ สปสช.เขต เพื่อตรวจสอบสิทธิ์ และความถูกต้อง สปสช.เขต และ แจ้งส่วนกลางเพื่อปรับจำนวนเป้าหมาย และโอนงบประมาณตามเป้าหมายใหม่ให้กับ อปท. หน่วยบริการ หา case ใหม่ทดแทนรายเดิมที่มีการ เปลี่ยนแปลง หน่วยบริการแจ้งcase ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปที่ สปสช.เขต เพื่อตรวจสอบสิทธิ์ และความถูกต้อง และแจ้งกลับหน่วยบริการ หน่วยบริการจัดทำ CP สำหรับ case ใหม่เพื่อเสนอคณะอนุ LTC พิจารณา -หน่วยบริการจัดทำ CP สำหรับ case ใหม่เพื่อเสนอคณะอนุ LTC พิจารณา - กรณีหา case ใหม่มาทดแทนไม่ต้องส่งเงินส่วนนั้นคืนกองทุนหลักประกันสุขภาพ เนื่องจากเป็นการจ่ายแบบเหมาจ่าย

17 การบริหารงบประมาณค่าบริการของท้องถิ่น “บริหารร่วมกับงบกองทุนตำบลเดิม”

18 การบริหารงบประมาณค่าบริการในขั้นตอนของท้องถิ่น “บริหารร่วมกับงบกองทุนตำบลเดิม”

19 ท้องถิ่นจ่ายค่าบริการให้หน่วยบริการ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
เงินที่หน่วยบริการได้รับจากกองทุนตำบล จ่ายเป็นค่าบริการให้หน่วยบริการ

20 การจัดสรรงบประมาณค่าบริการให้หน่วยบริการ ศูนย์ผู้สูงอายุ “ให้เป็นไปตามอัตราแนบท้ายประกาศและอนุกรรมการเห็นชอบ” อัตราค่าตอบแทนการประชุมอนุกรรมการ จ่ายได้ไม่เกินครั้งละ ๓๐๐ บาท เดือนหนึ่งไม่เกิน ๖๐๐ บาท จ่ายจากงบบริหารกองทุนหมวด ๗(๔)

21 การบริหารงบประมาณค่าบริการ
จ่ายเป็นค่าบริการให้หน่วยบริการ ตามที่อนุกรรมการอนุมัติ หน่วยบริการนำไปใช้ตามระเบียบเงินบำรุง

22 ประเภทและกิจกรรมบริการตามชุดสิทธิประโยชน์
ประเมินก่อนให้บริการและวางแผนการดูแล Care Plan ให้บริการระยะยาวโดยทีมบุคลากรสาธารณสุข (ทีมหมอครอบครัว)กิจกรรมตาม Care plan บริการดูแลที่บ้าน/ชุมชน ให้คำแนะนำแก่ญาติหรือผู้ดูแล โดยผู้ช่วยผู้ดูแล Caregiver หรือเครือข่ายจิตอาสา จัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ (งบสนับสนุนจากกองทุนฟื้นฟู) ประเมินผลการดูแลและปรับแผนการดูแล

23 สรุปงบดำเนินการ งบประมาณหลักในการดูแล เป็นค่าบริการให้หน่วยบริการ เบิกจากกองทุนตำบลในงบกองทุน LTC งบกองทุนตำบล(45 บาท) ในกรณีงบที่ได้รับจากกองทุน LTC ไม่พอ งบหนุนเสริมจากกองทุนฟื้นฟูจังหวัด งบจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เช่น ค่ากายอุปกรณ์ หรือ รายการClaim

24 ขั้นตอนในการเสนอโครงการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
หน่วยบริการดำเนินการตามแผนงาน โครงการ ส่งรายงานหรือสรุปผลงานหรือหลักฐานการรับจ่ายเงิน(ในกรณีเป็นองค์กรประชาชน) อปท. เบิกจ่ายเงินให้กับหน่วยบริการ หน่วยบริการ, ศูนย์ผู้สูงอายุเสนอโครงการ คณะอนุกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ ขั้นตอนที่ ๑ เสนอโครงการ ขั้นตอนที่ ๒ เบิกจ่ายเงิน ขั้นตอนที่ ๓ ดำเนินงาน สรุป ส่งรายงาน แบบเสนอโครงการตามที่ สปสช.กำหนด

25 ตัวอย่างแบบฟอร์มต่างๆ

26

27

28

29

30

31 กระบวนการโอนงบประมาณ LTC
งบประมาณ 5,000 บาท / คน / ปี 2.อนุกรรมการพิจารณาอนุมัติโครงการ 1.เสนอโครงการตาม Care plan รายบุคคล หน่วยบริการ 3.โอนงบตามที่อนุกรรมการอนุมัติ

32 การใช้จ่ายเงินที่ได้รับจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น
กรณีหน่วยบริการ ได้รับเงินจากกองทุน ตามโครงการ LTC - รับเงินสด(ไม่เกินห้าพันบาท) หรือเช็ค แต่ถ้าเกินหนึ่งหมื่นบาทต้องโอนเข้าบัญชีเงินบำรุงของหน่วยบริการ - บันทึกบัญชีเป็นเงินบำรุง - ดำเนินงานให้บริการในกลุ่มเป้าหมาย ตาม Care Plan ให้ได้ครบตามจำนวนที่ได้อนุมัติจากอนุกรรมการ - ใช้จ่ายเงินตามระเบียบเงินบำรุง - ส่งผลการดำเนินงานราย Cased ถ้าการให้บริการไม่ครบตามจำนวนที่ได้รับอนุมัติต้องส่งเงินคืนในส่วนที่ขาดไป

33 วีระชัย ก้อนมณี werachai.k@nhso.go.th
ขอขอบพระคุณครับ วีระชัย ก้อนมณี


ดาวน์โหลด ppt นายวีระชัย ก้อน มณี ผช.ผอ.สปสช.เขต๙ นครราชสีมา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google