ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
วินัยข้าราชการ
2
ที่ทางราชการกำหนดให้ข้าราชการ ยึดถือและปฏิบัติ
ความหมายของวินัย วินัยหมายถึง 1. -ระเบียบ -กฎเกณฑ์ -แบบแผนความประพฤติ 2. ลักษณะเชิงพฤติกรรมที่ข้าราชการแสดงออก ที่ถูกที่ควรเป็นลักษณะในทางที่ดีสังคมยอมรับ เป็นการควบคุมตนเองให้แสดงพฤติกรรม ที่ ถูกระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ 3. แบบแผนความประพฤติที่ควบคุมพฤติกรรมของคนในองค์กรให้เป็นไปตามแนวทางที่พึงประสงค์ ที่ทางราชการกำหนดให้ข้าราชการ ยึดถือและปฏิบัติ
3
วินัยข้าราชการ วินัยข้าราชการ กำหนดไว้ให้ข้าราชการพึงปฏิบัติต่อระบบ ตำแหน่ง หน้าที่ คนในองค์กร และประชาชน แยกได้ 8 ประเภท ดังนี้ วินัยต่อประเทศชาติ สนับสนุนวางรากฐานระบบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข วินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์,เห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน วินัยต่อผู้บังคับบัญชา ปฏิบัติตามคำสั่ง วินัยต่อผู้เรียน อุทิศเวลา ไม่ละเมิดทางเพศผู้เรียน วินัยต่อประชาชน อำนวยความสะดวก ให้ความเป็นธรรม ไม่กลั่นแกล้ง วินัยต่อผู้ร่วมงาน รักษาสามัคคี สุภาพ เรียบร้อย เกื้อกูลกัน วินัยต่อตนเอง ประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดี วินัยต่อผู้ใต้บังคับบัญชา เสริมสร้างพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา
4
วินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หมายถึง ข้อบัญญัติที่กำหนดเป็นข้อห้ามและข้อปฏิบัติตามความในหมวด 6 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ตั้งแต่ มาตรา ต้องถือปฏิบัติโดยเคร่งครัดอยู่เสมอ
5
การดำเนินการทางวินัย
กรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย ต่อข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งมูลที่กล่าวหา มี 2 ประเภท มูลกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย ไม่ร้าย ผู้บังคับบัญชาตั้งกรรมการสอบสวน มูลกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยร้ายแรง ให้ผู้มีอำนาจ ตามมาตรา 53 เป็นผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวน
6
ผู้มีอำนาจ ตาม ม. 53 แห่ง พ. ร. บ
ผู้มีอำนาจ ตาม ม.53 แห่ง พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 และที่แก้ไข ผอ. สถานศึกษา ผอ.เขตพื้นที่การศึกษา เลขาธิการ กพฐ. *ถ้ามีการกระทำผิดวินัยร้ายแรงร่วมกัน ให้ผู้บังคับสูงสุด(ม.53) เป็นผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง
7
ผลการสอบสวนเสร็จแล้ว หากผลการพิจารณาจากกรรมการสอบสวน หรือผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวน เห็นว่า มีการกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง ดำเนินดังนี้ ผู้ถูกกล่าวว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง เป็น ผอ.เขต รองผอ.เขต ข้าราชการครูที่มีวิทยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ ต้องเสนอ ก.ค.ศ.พิจารณาโทษ ผู้ถูกกล่าวกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง เป็นตำแหน่งข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา นอกจาก ข้อ 1 ต้องเสนอ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา พิจารณาโทษ
8
การพิจารณาตัวบทของวินัย ว่ากรณีใด ร้ายแรง - ไม่ร้ายแรง
ในแต่ละมาตรา จะกำหนดข้อปฏิบัติและข้อห้ามปฏิบัติไว้ ทั้งลักษณะความผิดร้ายแรงและไม่ร้ายแรงไว้ด้วยกันในบางมาตรา หรือแยกไว้ในบางมาตรา เป็นเรื่องร้ายแรง และไม่ร้ายแรงโดยเฉพาะ
9
วินัย วินัยร้ายแรง วินัยไม่ร้ายแรง
สนับสนุนการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย ซื่อสัตย์ สุจริต เอาใจใส่รักษาประโยชน์ของทางราชการ ปฏิบัติตามมาตรฐานจรรยาบรรณวิชาชีพอย่างเคร่งครัด ปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมายมติ ค.ร.ม.นโยบายของรัฐ วินัยร้ายแรง ทุจริตต่อหน้าที่ ปฏิบัติละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบให้ตนเองได้ประโยชน์หรือคนอื่นได้ประโยชน์ จงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ประมาทเลินเล่อขาดเอาใจใส่เสียหายอย่างร้ายแรง ขัดคำสั่งเสียหายอย่างร้ายแรง ละทิ้งหน้าที่ไม่เหตุผล เสียหายอย่างร้ายแรง
10
วินัย วินัยร้ายแรง วินัยไม่ร้ายแรง
ละทิ้งหน้าที่ไม่มีเหตุผลเสียหายอย่างร้ายแรง ละทิ้งหน้าที่ติดต่อกันเกินกว่า 15 วัน กลั่นแกล้ง ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่หรือข่มเหงผู้เรียนหรือผู้มาติดต่อราชการ ร้องเรียนผู้อื่นได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง วินัยไม่ร้ายแรง ปฏิบัติตามคำสั่ง ตรงเวลาอุทิศเวลาละทิ้ง ทอดทิ้งไม่มีเหตุผล เป็นแบบอย่างที่ดี ผู้เรียน ชุมชน สังคม รักษาความสามัคคี ไม่กลั่นแกล้ง กล่าวหาหรือร้องเรียนผู้อื่น โดยปราศจากความจริง
11
วินัย วินัยร้ายแรง วินัยไม่ร้ายแรง
ไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ/ ผู้จัดการในห้างหุ้นส่วน หรือบริษัท วางตัวเป็นกลางทางการเมือง ประพฤติชั่ว วินัยร้ายแรง ซื้อขายให้ได้รับแต่งตั้งโดยมิชอบ ลอกเลียนผลงาน ทุจริตซื้อขายเสียงทุกระดับ
12
อำนาจการสั่งลงโทษตาม กฎ ก.ค.ศ. (2549)
ผอ.สถานศึกษา ผอ.สพท. นายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง ภาคทัณฑ์/ตัดเงินเดือน 5% 1 เดือน เลขาธิการอธิบดี ภาคทัณฑ์/ตัดเงินเดือน 5% 2 เดือน ลดขั้นไม่เกิน 1 ขั้น ตัดเงินเดือน 5% 3 เดือน ลดขั้นไม่เกิน 1ขั้น
13
บทกำหนดโทษมี 5 สถาน ปลดออก ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ไล่ออก
ลดขั้นเงินเดือน ไล่ออก ปลดออก วินัยไม่ร้ายแรง วินัยร้ายแรง
14
ข้อควรคำนึงในการสั่งลงโทษ
การสั่งลงโทษเกินอำนาจ การสั่งลงโทษมิใช่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา การสั่งลงโทษสถานหนัก (ร้ายแรง) ไม่ได้ตั้งกรรมการสอบสวน (ยกเว้นความผิดปรากฏชัดแจ้ง) มิได้นำเข้าองค์คณะ
15
ข้อควรคำนึงในการสั่งลงโทษ
การสั่งลงโทษต้องไม่ย้อนหลัง สั่งพักราชการ สั่งออกจากราชการไว้ก่อน ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวเกินกว่า 15 วัน ออกจากราชการไปแล้วโดยเกษียณหรือลาออก สภาพการเป็นข้าราชการ ยกเว้นกรณีเข้าข้อยกเว้น
16
กฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยกรณีความผิด ที่ปรากฏชัดแจ้ง พ.ศ.2549
ข้อ 1 ความผิดปรากฏชัดแจ้งกระทำผิดไม่ร้ายแรง - กระทำผิดอาญาจนต้องคำพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทำผิด และผู้บังคับบัญชาเห็นว่าข้อเท็จจริงตามคำพิพากษาได้ความประจักษ์ชัดแล้ว - กระทำผิดวินัยไม่ร้ายแรงและรับสารภาพเป็นหนังสือ ต่อผู้บังคับชา - สารภาพคณะกรรมการสอบสวนมีการบันทึกเป็นหนังสือ
17
ข้อ 2 กระทำความผิดร้ายแรง ผู้บังคับบัญชา ตาม ม
ข้อ 2 กระทำความผิดร้ายแรง ผู้บังคับบัญชา ตาม ม.100 วรรคสี่ มาตรา 104(1) ไม่สอบสวนหรืองดสอบสวน ดังนี้ - ความผิดอาญาโดยได้รับโทษจำคุก หรือหนักกว่าจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุด ยกเว้นความผิดโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ - ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเกินกว่า 15 วัน ผู้บังคับบัญชาได้ดำเนินการสืบสวนแล้วเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือมิพฤติการณ์จงใจอันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ - กระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงและรับสารภาพเป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชาหรือให้ถ้อยคำรับสารภาพต่อผู้มีหน้าที่สืบสวนหรือคณะกรรมการสอบสวนตามกฎหมาย และได้บันทึกถ้อยคำรับสารภาพเป็นหนังสือ
18
ม.99 พ.ร.บ.ครู ในกรณีที่กระทำผิดวินัยร้ายแรงต้องลงโทษ ปลดออก หรือ ไล่ออก ถ้ามีเหตุอันควรลดหย่อนผ่อนโทษห้ามมิให้ลดโทษต่ำกว่าปลดออกจากราชการ การถูกลงโทษปลดออกให้ผู้นั้นมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญเสมือนว่าเป็นผู้ลาออกจากราชการ
19
การดำเนินการทางวินัยตามมติคณะกรรมการ ป.ป.ช.
หาก ป.ป.ช. ส่งเรื่องให้พิจารณาโทษวินัยร้ายแรง ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับเรื่องและส่งคำสั่งลงโทษภายใน 15 วัน ให้ ป.ป.ช. ผู้บังคับบัญชาต้องสั่งลงโทษตามฐานความผิดที่ ป.ป.ช.มีมติไม่อาจแก้ไขเปลี่ยนแปลงฐานความผิดเป็นอย่างอื่นหรือห้ามสอบสวนเพิ่มเติม
20
เหตุที่สั่งพักราชการ
1. ถูกตั้งกรรมการสอบสวนหรือถูกฟ้องคดีอาญาหรือต้องหาว่ากระทำผิดอาญาเกี่ยวกับการทุกจริตต่อหน้าที่หรือเกี่ยวกับความประพฤติหรือพฤติการณ์อันไม่น่าไว้วางใจและให้อยู่ในหน้าที่อาจเกิดความเสียหายแก่ราชการ
21
เหตุที่สั่งพักราชการ
2. จะเป็นอุปสรรคต่อการสอบสวนหรือจะก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อย 3. อยู่ระหว่างถูกคุมตัวหรือจำคุกเกินกว่า 15 วันแล้ว
22
เหตุที่สั่งพักราชการ
4. หรือในระหว่างสอบสวนมีคำพิพากษาถึงสุดว่ากระทำผิดอาญาในเรื่องที่สอบสวน ผลพ้นจากตำแหน่งไม่สามารถปฏิบัติงานได้แต่ยังไม่พ้นจากอัตราเงินเดือน
23
การให้ออกจากราชการไว้ก่อน
- มีเหตุอาจถูกสั่งพักราชการได้ - ผู้มีอำนาจพิจารณาเห็นว่ากรณีหรือคดีนั้นจะไม่แล้วเสร็จโดยเร็ว
24
ความผิดที่มีโทษไม่ถึงต้องออกจากราชการ
สรุป วินัยไม่ร้ายแรง ความผิดที่มีโทษไม่ถึงต้องออกจากราชการ ตั้งกรรมการสอบสวน สรุปพยานหลักฐานให้แก้ข้อกล่าวหา วินิจฉัย ผู้บังคับบัญชาสั่งลงโทษ วินัยร้ายแรง ความผิดที่มีโทษออกถึงออกจากราชการ ตั้งการสอบสวนวินัยร้ายแรง สั่งพักราชการ/ให้ออกจากราชการไว้ก่อน ลงโทษโดยมติ อ.ก.ค.ศ.เขตฯ
25
การแต่งตั้งกรรมการสอบสวน
ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง ม.53 ผู้บังคับบัญชา ตั้งกรรมกาสอบสวนวินัยร้ายแรง ตั้งกรรมกาสอบสวนวินัยไม่ร้ายแรง
26
การอุทธรณ์ มีเหตุอะไร ทำไมต้องอุทธรณ์
หากข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาถูกลงโทษทางวินัย ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน ปลดออก ไล่ออก กรณีใดกรณีหนึ่ง
27
การอุทธรณ์ โดยพิจารณาเห็นว่าการลงโทษนั้นไม่เป็นธรรม เช่น ไม่ได้กระทำผิด หรือการลงโทษไม่เหมาะสมแก่กรณี หากประสงค์จะโต้แย้งให้เปลี่ยนแปลงโทษต้องใช้สิทธิอุทธรณ์
28
อุทธรณ์ต่อใคร หาอุทธรณ์ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันได้รับแจ้ง คำสั่งลงโทษ ยื่นต่อ สพป. สพม. หรือประธาน อ.ก.ค.ศ. เขต พื้นที่กถูกลงโทษ ความผิดวินัยไม่ร้ายแรง ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน โดยผู้บังคับบัญชา ผอ.สถานศึกษา หรือ ผอ.เขต สั่งลงโทษ โดยอำนาจหน้าที่ที่มีอยู่ ต้องอุทธรณ์ ต่อ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ ที่ตนเองสังกัด และต้อง
29
ผลการอุทธรณ์ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ฯ เป็นผู้มีอำนาจ พิจารณาอุทธรณ์ ผลการพิจารณา อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่ มีมติได้ทั้ง ยืนเหมือนผู้บังคับบัญชาคำสั่งไว้เดิม ลดโทษ,เพิ่มโทษ
30
มติจากผลการอุทธรณ์ ถูกลงโทษทางวินัยร้ายแรง ซึ่งต้องผ่านมติอ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษาสั่งลงโทษปลดออกไล่ออก ต้องอุทธรณ์ ต่อ ก.ค.ศ.และต้องอุทธรณ์ ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่งลงโทษ ยื่นต่อสำนักงาน ก.ค.ศ.หรือประธาน ก.ค.ศ. ก.ค.ศ. เป็นผู้มีอำนาจพิจารณาการอุทธรณ์ผลการพิจารณา ของ ก.ค.ศ.มีมติได้ 1.มติ ยืนเหมือน อ.ก.ค.ศ. เขต มีมติลงโทษ ปลดออก ไล่ออก 2.มติ เปลี่ยนแปลงโทษ 3.มติ เปลี่ยนเป็นให้ออก กรณีมีมลทินมัวหมอง
31
ผลของอุทธรณ์ หากผู้ถูกลงโทษยังเห็น ว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือการลงโทษไม่เหมาะสม นำเรื่องฟ้องศาลปกครอง *ระยะเวลาของการฟ้องคดีต่อศาลปกครอง 1.ภายใน 90 วัน นับตั้งแต่วันรับทราบ ผลการพิจาณาการอุทธรณ์ จากอ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ หรือ ก.ค.ศ. 2.หากเกิน 90 วัน นับแต่วันยื่นอุทธรณ์
32
การร้องทุกข์ ความหมาย
การร้องทุกข์เป็นกระบวนการในการบริหารงานบุคคลที่กำหนดให้สิทธิข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่จะโต้แย้งคัดค้านหรือจะร้องขอให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคำสั่ง 1. ให้ออกจากราชการ 2. ให้พักราชการ หรือ 3. การปฏิบัติของผู้บังคับบัญชาที่ตนเห็นว่า ไม่ได้รับความเป็นธรรม หรือ 4. มีความคับข้องใจเนื่องจากการกระทำของผู้บังคับบัญชา หรือ 5. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย เพื่อให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงคำสั่งของผู้บังคับบัญชา หรือแก้ไขความไม่เป็นธรรม หรือความคับข้องใจ หรือยกเลิกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัย
33
เมื่อมีการร้องทุกข์ ตามข้อ 3-5
เมื่อมีการร้องทุกข์กรณี 3-5 สามารถ ปรึกษาหารือ รับฟัง สอบถาม กับผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชาให้โอกาสและรับฟังหรือสอบถามเกี่ยวกับปัญหา เพื่อทำความเข้าใจและแก้ปัญหาในชั้นต้น หากไม่ประสงค์หารือหรือปรึกษาหรือได้รับคำชี้แจงไม่พอใจก็ให้ร้องทุกข์เป็นหนังสือ
34
ร้องทุกข์ทำอย่างไร 1. ทำเป็นหนังสือ ลงลายมือชื่อ ที่อยู่ตำแหน่ง+สาระสำคัญ 2. ยื่นต่อ อ.ก.ค.ศ.เขตฯ หรือ ก.ค.ศ. 3. ยื่นภายใน 30 วัน นับตั้งแต่ วันทราบเรื่องอันเป็นเหตุแห่งการร้องทุกข์ 4. ร้องทุกข์ได้สำหรับตนเองเท่านั้น 5. จะขอแถลงการณ์ด้วยวาจาก็ได้ 6. การยื่น ยื่นที่ประธานหรือส่วนราชการของเลขานุการพร้อมสำเนาหรือผ่านผู้บังคับบัญชาที่เป็นเหตุร้องทุกข์ก็ได้ 7. ยื่นทางไปรษณีย์ก็ได้ วันที่ไปรษณีย์ลงรับหรือประทับถือเป็นวันที่ยื่นคำร้องทุกข์
35
ระยะเวลาการพิจารณาร้องทุกข์
ระยะเวลาการพิจารณา อ.ก.ค.ศ.เขตฯหรือก.ค.ศ.สามารถพิจารณาได้ 30 วัน 2 ครั้ง รวมแล้วต้องพิจารณาให้เสร็จภายใน 9 วัน
36
การวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์
เมื่อ อ.ก.ค.ศ.เขตฯ หรือ ก.ค.ศ. ได้พิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ให้มีมติดังนี้ 1. ยกคำร้องทุกข์ 2. มีมติให้แก้ไข,ให้ข้อแนะนำ 3. มีมติให้ดำเนินการได้ตามควรแก่กรณี 4. ร้องทุกข์ไม่เป็นไปตามกฎหมาย ไม่ร้องคำร้อง ทุกข์
37
การพัฒนาข้าราชการครู
ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ในการส่งเสริมสนับสนุนผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาโดยการให้ไป - ศึกษา - ฝึกอบรม - ดูงาน - ปฏิบัติงานวินัย - และพัฒนาตามระเบียบที่ ก.ค.ศ.กำหนด
38
การพัฒนาข้าราชการครู
มีความจำเป็น เป็นความต้องการของหน่วยงานเพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือวิชาชีพหรือคุณวุฒิขาดแคลน ผู้บังคับบัญชา สั่งหรืออนุญาตให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ไปศึกษา ฝึกอบรม หรือทำวิจัย โดยอนุมัติ ก.ค.ศ.หรือ อ.ก.ศ.เขตที่ได้รับมอบหมาย การไปพัฒนาดังกล่าวถือเป็นการปฏิบัติราชการมีสิทธิได้เลื่อนขั้นในระหว่างลาไปศึกษา ฝึกอบรม หรือวิจัยเป็นไปตามหลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นที่ ก.ค.ศ. กำหนด
39
ก.ค.ศ.ออกระเบียบสนับสนุนการพัฒนา
ว่าด้วยการส่งเสริม สนับสนุนให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้ศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติงานวินัยและพัฒนา มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2553
40
ผู้มีอำนาจอนุญาตให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน ปฏิบัติงานวิจัยและพัฒนา
- ผอ.สถานศึกษา สำหรับครูในสถานศึกษา - ผอ.เขต สำหรับ ผอ. สถานศึกษาและข้าราชการในสำนักงานเขต - เลขาธิการ กพฐ. สำหรับ ผอ.เขต
41
คุณสมบัติการลาศึกษาต่อ
- ต้องกลับมาชดใช้เวลาได้ครบก่อนเกษียณ - พ้นจากการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม - ใครเคยศึกษาต่อ จะไปศึกษาใหม่ กลับมาทำงานไม่น้อยกว่า 12 เดือนก่อน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.