งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความเชื่อกับการดูแลสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความเชื่อกับการดูแลสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความเชื่อกับการดูแลสุขภาพ
อ.แสงสิทธิ์ กฤษฎี

2 ความเชื่อกับการดูแลสุขภาพ
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับความเชื่อ ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต

3 3.1 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับความเชื่อ
ความหมายและประเภทของความเชื่อ ความสำคัญของความเชื่อ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ

4 ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติและวิธีการดูแลสุขภาพ ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ

5 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิด ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย

6 3.1.1 ความหมายและประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อ หมายถึง การยอมรับคำอธิบายเหตุการณ์หรือ ปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ ที่บุคคลได้จากการรับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคม และถ่ายทอดสืบต่อกันมาจนตกผลึกเป็นแบบแผนทางวัฒนธรรมของ สังคมนั้น โดยอาจมีเหตุผลหรือไม่มี หรือหลักฐานมาสนับสนุนก็ได้ อย่างไรก็ตาม ความเชื่อสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามวิวัฒนาการและ พัฒนาการของสังคม

7 ประเภทของความเชื่อ ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล ความเชื่อแบบประเพณี ความเชื่อแบบเป็นทางการ

8 3.1.2 ความสำคัญของความเชื่อ
ความสำคัญของความเชื่อที่มีต่อบุคคล ความสำคัญของความเชื่อที่มีต่อสังคม ความสำคัญของการศึกษาความเชื่อ

9 ความสำคัญของความเชื่อที่มีต่อบุคคล
ความเชื่อช่วยตอบสนองต่อความไม่รู้และความกลัวของบุคคล ความเชื่อนำมาซึ่งการแสดงออกทางพฤติกรรมของบุคคล

10 ความสำคัญของความเชื่อที่มีต่อสังคม
ความเชื่อก่อให้เกิดกลุ่มทางสังคม ความเชื่อก่อให้เกิดการจัดระเบียบทางสังคม ความเชื่อก่อให้เกิดพิธีกรรมและประเพณี

11 ความสำคัญของการศึกษาความเชื่อ
เพราะจะช่วยเอื้อประโยชน์ในการเข้าใจถึงสาเหตุและที่มาของ พฤติกรรมและสามารถประยุกต์ใช้ความเชื่อให้เป็นส่วนหนึ่งของแผน และกลยุทธ์ในการดำเนินงาน เพื่อให้สอดคล้องกับความเชื่อ วิถีและ ขนบธรรมเนียมอื่น ๆ ของสังคมโดยรวม โดยไม่เกิดความขัดแย้งทาง วัฒนธรรม

12 3.1.3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลในการกำหนดแบบแผนความคิดและความเชื่อ แบ่งได้ 3 ประเภท คือ o ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา ได้แก่ การรับรู้ และการเรียนรู้ o ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม ได้แก่ การขัดเกลาทางสังคม การควบคุม ทางสังคม การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ วัฒนธรรม o ปัจจัยทางด้านบุคคล ได้แก่ ศาสนา อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ

13 3.2 ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ

14 3.2.1 ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค วิธีการดูแลสุขภาพแบบอำนาจเหนือธรรมชาติ ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์แบบอำนาจเหนือธรรมชาติ

15 ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการกระทำของผี ความเจ็บป่วยที่เกิดจากเวทมนตร์และคุณไสย ความเจ็บป่วยที่เกิดจากขวัญ ความเจ็บป่วยทีเกิดจากเคราะห์หรือโชคชะตา ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการละเมิดขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคม ความเจ็บป่วยที่เกิดจากที่ตั้งของภูมิศาสตร์

16 วิธีการดูแลสุขภาพแบบอำนาจเหนือธรรมชาติ
ส่วนใหญ่ใช้การประกอบพิธีกรรมเป็นหลัก ครอบคลุมตั้งแต่การ วินิจฉัยหาสาเหตุและกระบวนการในการรักษา

17 ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์แบบอำนาจเหนือธรรมชาติ
ประกอบด้วย 4 กลุ่ม คือ กลุ่มหมอดู กลุ่มหมอสะเดาะเคราะห์ กลุ่มหมอธรรม และกลุ่มหมอตำรา

18 3.2.2 ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค วิธีการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์แบบพื้นบ้าน

19 ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการขาดสมดุลธาตุ ความเจ็บป่วยที่เกิดจาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการบริโภคอาหารแสลงโรค ความเจ็บป่วยที่เกิดจากเชื้อโรค ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการประกอบอาชีพ ความเจ็บป่วยที่เกิดจากอุบัติเหตุ

20 วิธีการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
พิธีตั้งขันข้าว หรือการตั้งคาย เป็นการไหว้ครูเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการ รักษา พิธียอครู-บนครู การวินิจฉัยโรค การรักษา การปลงขัน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการสวมบทบาทของผู้ป่วยเพื่อก้าวข้าม ผ่านไปสู่สภาวะปกติ

21 ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์แบบพื้นบ้าน
หมอสมุนไพร หมอเป่า หมอกระดูกหรือหมอน้ำมัน หมอนวด หมอตำแย

22 3.2.3 ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค วิธีการดูแลสุขภาพแบบแพทย์ตะวันตก ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์ตะวันตก

23 ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค
ความเจ็บป่วยเกิดจากเชื้อโรค ความเจ็บป่วยเกิดจากพันธุกรรม ความเจ็บป่วยเกิดจากพฤติกรรม ความเจ็บป่วยเกิดจากสิ่งแวดล้อมหรืออุบัติเหตุ ความเจ็บป่วยเกิดจากจิตใจ ความเจ็บป่วยเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น ปัญหาทางด้านสังคม วัฒนธรรม เช่น การทำแท้ง การทำร้ายร่างกาย

24 วิธีการดูแลสุขภาพแบบแพทย์ตะวันตก
การวินิจฉัยหาสาเหตุของความเจ็บป่วย วิธีการดูแลรักษาสุขภาพ

25 ผู้ให้การดูแลรักษาสุขภาพในการแพทย์ตะวันตก
ผู้ให้การรักษา คือ แพทย์หรือหมอที่ได้ผ่านการเรียนทางด้านแพทย์ศาสตร์มา โดยเฉพาะ ผู้ให้การดูแลด้านเภสัชกรรม ผู้ให้การดูแลด้านการพยาบาล ผู้ให้การดูแลด้านการป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ ผู้ให้การดูแลด้านการฟื้นฟูสุขภาพ บุคลากรอื่น ๆ เช่น เจ้าหน้าที่รังสีเทคนิค เจ้าหน้าที่ด้านเทคนิคการแพทย์

26 3.3 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต

27 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิด ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย

28 3.3.1 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิด
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก

29 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
o ระยะตั้งครรภ์  ความเชื่อเกี่ยวกับการตั้งครรภ์  การดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ o ระยะคลอดบุตร  ความเชื่อเกี่ยวกับการคลอดบุตร  การดูแลสุขภาพในระยะคลอดบุตร o ระยะหลังคลอด  ความเชื่อเกี่ยวกับภาวะหลังคลอด  การดูแลสุขภาพในระยะหลังคลอด

30 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
o ความเชื่อเรื่องเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ เป็นภาวะที่ตัวอ่อนหรือทารกได้ ก่อกำเนิดขึ้นภายในมดลูก o การดูแลสุขภาพแบบการแพทย์ตะวันตกมีหลักการดูแลคล้ายคลึง การแบบพื้นบ้าน

31 3.3.2 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบการแพทย์แผน ตะวันตก

32 ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
o ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา o การดูแลสุขภาพวัยชราแบบพื้นบ้าน

33 ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบการแพทย์แผนตะวันตก
o ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา o การดูแลสุขภาพวัยชราแบบการแพทย์แผนตะวันตก

34 3.3.3 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบแพทย์แผน ตะวันตก

35 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
o ความเชื่อเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน มีความเชื่อในเรื่อง วิญญาณ กฎแห่งกรรม การเวียนว่ายตายเกิดและชาติภพ o การดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน จะมุ่งเน้นการ ตอบสนองทางด้านจิตวิญญาณของผู้ตายและเครือญาติ กล่าวคือ ให้ สร้างสมความดีและผลบุญเพื่อการตายอย่างสงบ เกิดความสุขความ เจริญในภพหน้า

36 ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบแพทย์แผนตะวันตก
o จะพิจารณาจากการหยุดทำงานของหัวใจและการทำงานของแกน สมอง o การดูแลสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการตายแบบแพทย์แผนตะวันตก มุ่งเน้นให้ระบบและอวัยวะต่าง ๆ สามารถทำงานต่อไปได้และยืดชีวิต ผู้ป่วยให้ยาวนานมากที่สุด ภายใต้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่ทันสมัย


ดาวน์โหลด ppt ความเชื่อกับการดูแลสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google