งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Zoning แปลงใหญ่ ระบบตลาด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Zoning แปลงใหญ่ ระบบตลาด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Zoning แปลงใหญ่ ระบบตลาด
กระบวนการขับเคลื่อนงานนโยบายของรัฐบาลให้เกิดผล ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือ 1 ระบบตลาด - ทั่วไป – PPP. - Contract framing - Modern Trade 2 ศูนย์เรียนรู้ - ภาคเหนือ 103 ศูนย์ - ทั่วประเทศ 882 ศูนย์ แปลงใหญ่ ภาคเหนือ 29 แปลง การพัฒนาเกษตรกร - Smart Group - Smart farmer Smart product - เพิ่มมูลค่า - แปรรูป เครือข่าย - เครือข่ายการผลิต - เครือข่ายการตลาด 3 เกษตรกรต้นแบบ - เป็น Smart Farmer - ประสบความสำเร็จ - เป็นที่ยอมรับ/เป็นแบบอย่าง Zoning ศูนย์เรียนรู้ (ทางการ) ครบ 4 องค์ประกอบ ประโยชน์ที่เกษตรกรได้รับ ชุมชนมีความยั่งยืน ลดต้นทุน - ลดปริมาณปัจจัยการผลิต - ลดต้นทุนการผลิต/มีรายได้ที่เพิ่มขึ้น ศูนย์เรียนรู้ (ไม่ทางการ) - ฐานเรียนรู้เฉพาะด้าน 5 แผนที่ Zoning ชนิดพืช ลำไย ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เปรียบเทียบกับพื้นที่ปลูกจริง แปลงเรียนรู้ - เป็นแปลงเกษตรกรต้นแบบ - สาธิตวิธี/สาธิตผล - ปรับปรุง/ปรับเปลี่ยนการผลิต แหล่งท่องเที่ยว - รายได้เพิ่ม - สุขภาพดี /มีคุณภาพชีวิตดี เพิ่มประสิทธิภาพ - ปริมาณผลผลิตสูงขึ้น - คุณภาพผลผลิตดีขึ้น - ผลผลิตมีมูลค่าสูงขึ้น แปลงเรียนรู้ (เฉพาะทาง) - ลำไย (การตัดแต่งกิ่ง) - ข้าว (การไถกลบ) - ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 4 S1 S2 S3/N ช่องทางการตลาด - สามารถต่อรองราคาผลผลิต - มีจำนวนแหล่งรับซื้อเพิ่มขึ้น - ผู้ซื้อและเกษตรกรวางแผนการผลิตร่วม - แก้ปัญหาราคาตกต่ำ ฐานการเรียนรู้ - สอดคล้องกับหลักสูตร - เรียนรู้จากของจริง - เรียนรู้เฉพาะเรื่อง - มีข้อมูล/องค์ความรู้ กลุ่มวิสาหกิจ/กลุ่มธรรมชาติ (เพิ่มมูลค่าผลผลิต) - แปรรูป - ผลิตภัณฑ์ แปลงเรียนรู้ (อื่น ๆ) - เกษตรอินทรีย์ - GAP เทคโนโลยี ที่เหมาะสมแต่ละ Zoning อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ปลอดภัยต่อผู้ผลิต ผู้บริโภค และ สิ่งแวดล้อม ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยหมัก ชีวภาพ ป้องกันศัตรูพืช ประโยชน์ที่ได้รับจากการ Zoning -เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต - มีการเพิ่มมูลค่า - ลดต้นทุนการผลิต - มีช่องทางการตลาด - มีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หลักสูตรการเรียนรู้ - เนื้อหาวิชา - วิธี/แผนการเรียนรู้ ชุมชนดี/ สิ่งแวดล้อมดี

2 สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่
ศูนย์เรียนรู้ ฯ “ข้าว” ฐานเรียนรู้ที่ควรมี 1. การผลิตเมล็ดพันธุ์ 2. การผลิตและการใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยอินทรีย์ สารชีวภัณฑ์ เพื่อลด/ทดแทนสารเคมี 3. การทำนาโยน(การดำนาต้นเดียว) 4. การเพิ่มมูลค่าผลผลิตข้าว (แปรรูป, ข้าวกล้อง, รำข้าว) 5. การเรียนรู้หยุดเผา ศูนย์เรียนรู้ ฯ “ข้าวโพดเลี้ยง สัตว์” ศูนย์เรียนรู้ ฯ “ลำไย” 1. การใช้พันธุ์พืชที่เหมาะสมกับพื้นที่ 2. การลดต้นทุนสารเคมี/ปุ๋ยเคมี 4. การลดความชื้นในเมล็ดเพื่อป้องกันเชื้อรา 5. การตัดตอซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ให้ปลวกกินเพื่อลดการ ใช้ปุ๋ยเคมี 6. การหยุดเผาในพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 1. การจัดทรงพุ่ม และการตัดแต่งกิ่ง เพื่อลดไม้ค้ำ 2. การทำปุ๋ยหมักใต้ต้นลำไยเพื่อลดต้นทุน 3. การใช้สารบังคับการออกดอกเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 4. การจัดช่อผล ทำให้ผลโตสม่ำเสมอ 5. การเพิ่มประสิทธิภาพการให้น้ำ 6. การจัดเกรดลำไยลงตะกร้าเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต แนวทางการขับเคลื่อนศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรให้มีประสิทธิภาพ สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่ ประโยชน์ที่เกษตรกรได้รับ 1. ลดต้นทุนการผลิต - ลดต้นทุนค่าเมล็ดพันธุ์/สารเคมีและปุ๋ยเคมี 2. เพิ่มประสิทธิภาพ - ปริมาณผลผลิตสูงขึ้น/ใช้พันธุ์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม - คุณภาพข้าวดีขึ้น เมล็ดเต็ม 3. เพิ่มช่องทางการตลาด - มีการซื้อขายผลิตภัณฑ์หลายรูปแบบ - มีตลาดรับซื้อแน่นอน 4. การเพิ่มมูลค่า -การแปรรูปผลผลิต -เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์จากปลายข้าว รำข้าว แกลบดำ 5. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - ไม่เผาตอซังข้าว ส่งผลให้ อากาศดี สิ่งแวดล้อมดี สุขภาพดี เศรษฐกิจดี - ทำปุ๋ยชีวภาพในนาข้าว ประโยชน์ที่เกษตรกรได้รับ 1.ลดต้นทุน - ลดต้นทุนสารเคมี/ปุ๋ยเคมี/ปริมาณการใช้/จำนวนครั้งที่ใช้ 2. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต - ปริมาณผลผลิตสูงขึ้น – ผลผลิตมีคุณภาพ 3. เพิ่มช่องทางการตลาด - มีตลาดรับซื้อแน่นอน - มีสัญญาการซื้อขายผลผลิตล่วงหน้า 4. เพิ่มมูลค่า - ลดความชื่นเมล็ดข้าวโพดฯ ทำให้คุณภาพดีไม่เกิด เชื้อรา ราคาผลผลิตเพิ่มขึ้น 5. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - ไม่เผาตอซังและซังข้าวโพด ส่งผลให้ อากาศดี สิ่งแวดล้อมดี สุขภาพดี เศรษฐกิจดี - ตอซังและซังข้าวโพดและหญ้าจะแห้งตอนฤดูแล้ง และเมื่อไถกลบจะให้ธาตุอาหารต่อพืชที่ปลูก ประโยชน์ที่เกษตรกรได้รับ 1. ลดต้นทุน - ลดต้นทุนค่าไม้ค้ำและค่าสูบน้ำ 2. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต - คุณภาพลำไยสูงขึ้น - ตัดแต่งช่อ ทำให้ผลโต ผลติดสม่ำเสมอ 3. เพิ่มช่องทางการตลาด - มีตลาดรับซื้อแน่นอน - สัญญาการซื้อขายผลผลิตล่วงหน้า - ตลาดผู้ซื้อผู้ขายวางแผนการผลิตร่วมกัน (PPP.) - ตลาดสัญญาการซื้อขายผลผลิตล่วงหน้า - มีตลาดรับซื้อสำหรับนำลำไยไปแปรรูป 4. การเพิ่มมูลค่า - ลำไยแปรรูป 5. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - ไม่เผาใบลำไย ส่งผลให้ อากาศดี สิ่งแวดล้อมดี สุขภาพดี เศรษฐกิจดี - นำใบลำไยมาทำปุ๋ยหมักใต้ต้นลำไย

3 การดำเนินงานรูปแบบ แปลงใหญ่
INPUTS PROCESS OUTPUTS การดำเนินงานรูปแบบ แปลงใหญ่ ข้อมูลพื้นที่ - ข้อมูลพื้นฐาน, กลุ่ม/สถาบัน - ข้อมูล (Zoning) - ข้อมูลรายแปลง 1. ลดต้นทุน บาท/ไร่ - พันธุ์ แรงงาน - ปุ๋ยเคมี/สารเคมี 2. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต - คุณภาพ/ความปลอดภัย(จำนวนแปลงที่ได้รับการรับรอง) - ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ เพิ่มขึ้น (กำหนดเป้าหมายว่าเพิ่มจากเท่าใดเป็นเท่าใด) - ร้อยละเกรด AA ต่อไร่เพิ่มขึ้น - ลดพื้นที่ปลูกที่ไม่เหมาะสม 3. เพิ่มมูลค่า - ผลิตสินค้าตรงตามความต้องการของตลาด - แปรรูป และพัฒนาผลิตภัณฑ์ 4. ลดความเสี่ยงด้านการตลาด - ตลาด PPP / CF / ตลาดทั่วไป 5. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - การทำปุ๋ยหมักใต้ต้นลำไย 6. กลุ่ม/เครือข่ายเกษตรกร (เครือข่ายการผลิต/การตลาด) - เข้มแข็ง - สร้างอำนาจต่อรอง การรวมกลุ่มของเกษตรกร รายย่อย เกษตรกรต้นแบบ ในพื้นที่ - รวบรวมองค์ความรู้ในพื้นที่ การจัดเวทีชุมชน - ประชามติ การบริหารจัดการแปลงใหญ่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีส่วนร่วม (รัฐ+ราษฎร์) เทคโนโลยีที่เหมาะสม - กำหนดแนวทางพัฒนา กำหนดแนวทาง และ แผนการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วม แปลงเรียนรู้/ ศูนย์เรียนรู้ - ช่องทางการถ่ายทอด เทคโนโลยีในพื้นที่ ยุทธศาสตร์การพัฒนา สินค้าในพื้นที่ ผู้จัดการ /ผู้ช่วย ผจก. คณะกรรมการ - ติดตามสถานการณ์ - แนวทางการบริหารจัดการแปลงใหญ่ทั้งด้านการผลิต การตลาดและ บุคคลากร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - บูรณาการคน/ โครงการ และ งบประมาณ SINGLE COMMAND หมายเหตุ 1) PPP =Public Private Partnership 2) CF หมายถึง CF = Contract Farming

4 การส่งเสริมเทคโนโลยี ตามเขต Zoning ( รายพืช ) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ลำไย เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนการผลิต เพิ่มช่องทางการตลาด เพิ่มมูลค่า อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 1. การตัดแต่งช่อลำไยให้เหลือ ผล/ช่อ - ผลโตสม่ำเสมอ - ป้องกันผลร่วง/ผลแตก 2. ใช้เทคโนโลยีให้ปุ๋ย และฮอร์โมน ที่มีความเที่ยงตรง และเหมาะสม เช่น พ่นฮอร์โมนทางใบ ก่อนใส่ปุ๋ยทางดิน 3.มีน้ำเพียงพอและให้น้ำถูกวิธีในปริมาณที่เหมาะสม 4. ใช้เทคโนโลยีเด่นของ Smart Farmer 1. ทำปุ๋ยหมักใต้ต้นลำไย (ลดต้นทุนปุ๋ยเคมีลงได้ ประมาณ 400 บาท/ไร่) 2. ตัดแต่งกิ่ง/แต่งทรงพุ่ม/ลดไม้ค้ำ (ลดต้นทุนลงได้ประมาณ 200 บาท/ไร่) 3. ใช้สารชีวภัณฑ์ (ลดต้นทุนลงได้ประมาณ 400 บาท/ไร่) 4. ใช้ปุ๋ยสั่งตัด (ลดต้นทุนลงได้ประมาณ 390 บาท/ไร่ ) 5. ผสมปุ๋ยรอง ลดต้นทุนได้ กระสอบละ 200 บาท 1. ประสานกับพ่อค้าผู้รวบรวมผลผลิต ทั้งภายในประเทศและผู้ส่งออก 2. กระจายสินค้าโดย หน่วยงาน/องค์กร เช่น สหกรณ์การเกษตร กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ฯลฯ 3. ใช้ช่องทางไปรษณีย์ไทย 4. Contract Farming 5. ตลาดออนไลน์ 6. ตลาด PPP 7. เลือกช่องทางการตลาด เลือกช่องทางการผลิต เพื่อกำหนดต้นทุนการผลิต 1. ยกระดับคุณภาพ (เกรดเพิ่มขึ้น ให้ได้ เกรด AA+A 80 % ) 2. แปรรูปผลผลิต - อบแห้งสีทอง - อบแห้งทั้งเปลือก 3. ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เช่น - น้ำลำไย - น้ำตาลลำไย - เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจากลำไย - ขนมจากลำไย - เครื่องสำอาง - ครีมแก้ข้อเข่าอักเสบ ฯลฯ 1. จัดทำปุ๋ยหมักใต้ต้นลำไย โดยใช้วัสดุจากใบและกิ่งลำไยหลังการตัดแต่งกิ่ง 2. ลดปัญหาหมอกควันโดย ไม่เผา กิ่งและใบลำไยหลังการตัดแต่งทรงพุ่ม 3. การใช้สารชีวภัณฑ์ เพื่อทดแทนสารเคมี 4. ใช้ปุ๋ยหมัก ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อลดหรือทดแทนปุ๋ยเคมี

5 การบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับ สินค้าเกษตรที่สำคัญ ( Zoning )
( S1 S2 S3 และN ) ( รายพืช ) - เขต - จังหวัด - อำเภอ จัดทำแผน ที่ พื้นที่ ปลูกจริง ทับซ้อน พื้นที่ ปลูกจริง พื้นที่ปลูกใน S1 N S3 S2 การบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับ สินค้าเกษตรที่สำคัญ ( Zoning ) เทคโนโลยีที่ใช้ - เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต - เพิ่มปริมาณต่อไร่ - พัฒนาคุณภาพเพิ่มขึ้น - ลดต้นทุนการผลิต - เพิ่มมูลค่า - เพิ่มช่องทางการตลาด - อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม / ทำปุ๋ยอินทรีย์ - เพิ่มผลผลิต - ยกระดับคุณภาพ - ส่งเสริมตามแนว ทฤษฎีใหม่ - พัฒนาแหล่งน้ำ /ปรับปรุงดิน - ไร่นาสวนผสม - ปรับเปลี่ยนพืช - ลดพื้นที่ปลูก - เกษตรผสมผสาน / ไร่นาสวนผสม ประโยชน์ที่เกษตรกรจะได้รับ - ปริมาณต่อไร่เพิ่มขึ้น - ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ลูกโต ผิวสวย - ต้นทุนการผลิตลดลง ได้กำไรมากขึ้น - ได้รายได้เพิ่มขึ้น - แก้ไขปัญหาด้านการตลาดได้ - ผลผลิตเพิ่มขึ้น / ยกระดับคุณภาพ (เกรดเพิ่มขึ้น) - ทราบแนวทางการ พัฒนา และการแก้ไข ปัญหา - ได้รับทราบข้อมูลด้านการผลิต ถ้าหากไม่ปรับเปลี่ยนแล้ว จะได้รับผลกระทบ เช่น - เสี่ยงต่อผลผลิตต่ำ - คุณภาพผลผลิตต่ำ เช่นลูกเล็กแคระแกรน - ลงทุนสูงเสี่ยงต่อการขาดทุน - เสี่ยงต่อการตลาด จว. อภ. จว. อภ. จว. อภ. จว. อภ.

6 กระบวนการหลัก (Process) โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ปัจจัยนำเข้า (Input) กระบวนการหลัก (Process) ผลผลิตย่อย (Output) ตัวชี้วัด (KPI) - จัดกระบวนการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) สมาชิกแปลงใหญ่ (จ) - จัดกระบวนการพัฒนาและสร้างเครือข่าย Smart Farmer ต้นแบบ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (จ) - จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young Smart Farmer (จ) - ถอดบทเรียนและจัดทำสื่อการถ่ายทอดความรู้ (ข) - จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเครือข่าย Smart Farmer ต้นแบบ และ Young Smart Farmer ระดับเขต 1) ร้อยละของเกษตรกร มีคุณสมบัติเกษตรกรปราดเปรื่อง(Smart Farmer) ดังนี้ มีรายได้รวมทางการเกษตรไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี มีความรู้ในเรื่อง ที่ทำอยู่ มีข้อมูล ประกอบการ ตัดสินใจ มีการบริหาร จัดการผลผลิต และการตลาด มีความตระหนัก ถึงคุณภาพสินค้า และความ ปลอดภัยของ ผู้บริโภค มีความ รับผิดชอบต่อ สิ่งแวดล้อมและ สังคม มีความ ภาคภูมิใจใน ความเป็น เกษตรกร ผลผลิต (Output) 1.เกษตรกรได้รับการพัฒนาเป็น Smart Farmer และ Smart Farmer ต้นแบบ 2. เกษตรกรรุ่นใหม่ได้รับการ พัฒนาเป็น Young Smart Farmer 3. เกิดเครือข่ายเกษตรกรปราดเปรื่องในทุกระดับ 4. สื่อถ่ายทอดความรู้ 5. แนวทางการขับเคลื่อนและ ดำเนินงานการบูรณาการ โครงการพัฒนาเกษตรกร ปราดเปรื่อง (Smart Farmer) สัญลักษณ์หน่วยงานดำเนินการ ก = ส่วนกลาง ข = เขต จ = จังหวัด โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) 1. พัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) 1.1 พัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) สมาชิกแปลงใหญ่ 1.2 พัฒนาและสร้างเครือข่าย Smart Farmer ต้นแบบ 1.3 พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young Smart Farmer 1.4 ถอดบทเรียนและจัดทำสื่อการถ่ายทอดความรู้ 2. สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เครือข่าย Smart Farmer ต้นแบบ และ Young Smart Farmer ระดับเขต 50 ราย 1. เกษตรกรในพื้นที่แปลงใหญ่มีแผนพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) รายบุคคล และได้รับการพัฒนาเป็น Smart Farmer (ร้อยละ 90 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ) 2. เกษตรกรที่เป็นเจ้าของศูนย์เรียนรู้ฯ ได้รับการพัฒนาเป็น Smart Farmer ต้นแบบ 3. เกษตรกรรุ่นใหม่ ได้รับการพัฒนาให้เป็น Young Smart Farmer (ร้อยละ 60 ของเกษตรกรรุ่นใหม่ที่เข้าร่วมโครงการ) 4. สื่อถ่ายทอดความรู้ Smart Farmer ต้นแบบ และ Young Smart Farmer จำนวน 1 ชุด 5. เครือข่าย Smart Farmer ต้นแบบ ของศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร และ Young Smart Farmer ระดับเขต ผลลัพธ์ (Outcome) 1. รายได้รวมทางการเกษตรไม่ต่ำกว่า 180,000 บาทครัวเรือน/ปี 2.สามารถวิเคราะห์การวางแผนการผลิตได้ 3. มีระบบเครือข่าย

7 กระบวนการพัฒนาเกษตรกรและ องค์กรเกษตรกร
Smart Farmer - มีความรู้เรื่องที่ทำ - มีข้อมูลตัดสินใจ - มีการจัดการผลผลิต/ตลาด - ใส่ใจคุณภาพ/ปลอดภัย - รับผิดชอบสิ่งแวดล้อม/สังคม - ภาคภูมิใจที่เป็นเกษตรกร หลักการทำงาน พัฒนาเกษตรกร และองค์กร เกษตรกร “เกษตรกรเป็นศูนย์กลาง ของการพัฒนา” บนหลักการของ การเรียนรู้ตลอดชีวิต การมีส่วนร่วม การพึงพาตนเองได้อย่างยั่งยืน โดยมีเจ้าหน้าที่เป็น “ผู้จัดการเรียนรู้”และ ใช้กระบวนการกลุ่ม เป็นกลไกขับเคลื่อน การพัฒนา เป้าหมายและคุณสมบัติ เกษตรกรทั่วไป ผู้ประกอบอาชีพการเกษตรเป็นอาชีพหลัก เกษตรกรรุ่นใหม่ คนรุ่นใหม่เริ่มทำการเกษตร มีความมุ่งมั่นตั้งใจ ต้องการพัฒนาศักยภาพในอาชีพ เป้าหมาย ๒๔๐ คน (ปี ๕๙ สสก๖) กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร กลุ่มของเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าเกษตรชนิดเดียวกัน หรือเกี่ยวเนื่องกัน เป้าหมาย ๒๔ กลุ่ม (ปี ๕๙ สสก๖) กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร กลุ่มของสตรีที่อยู่ในครอบครัวเกษตรหรือชุมชนเกษตร เป้าหมาย ๒๔ กลุ่ม (ปี ๕๙ สสก๖) กลุ่มยุวเกษตรกร กลุ่มของเด็กและเยาวชน อายุ ๑๐-๒๕ปี ที่สนใจการเกษตรเป้าหมาย ๒๔ กลุ่ม (ปี ๕๙ สสก๖) Smart Product - มีคุณภาพ - มีมาตรฐาน - ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ตัว บ่งชี้ Smart Group - การจัดการองค์กร - การจัดการความรู้ - การจัดการเทคโนโลยี - การจัดการทุน - การจัดการตลาด ผลการพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร - เกษตรกรปราดเปรื่อง Smart Farmer ทำการเกษตรสอดคล้องกับพื้นที่และสินค้า เชื่อมโยงเครือข่ายและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน - เกษตรกรรุ่นใหม่ Young Smart Farmer ทำการเกษตรสมัยใหม่ มีความภาคภูมิใจ พึ่งพาตนเองได้และเป็นที่พึ่งแก่เพื่อนเกษตรกร - กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร เป็นผู้นำในอาชีพสอดคล้องกับพื้นที่และสินค้า เชื่อมโยงเครือข่ายและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน - กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นผู้นำในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสร้างรายได้ให้ครอบครัวเกษตร - กลุ่มยุวเกษตรกร มีใจรักการเกษตร มีความรู้และทักษะเกษตรขั้นพื้นฐาน กระบวนการพัฒนาเกษตรกรและ องค์กรเกษตรกร วิเคราะห์ตนเอง/กลุ่ม จัดทำแผนความต้องการ เชื่อมโยงเครือข่าย สรุปบทเรียน พัฒนาขยายผล เรียนรู้และพัฒนา


ดาวน์โหลด ppt Zoning แปลงใหญ่ ระบบตลาด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google