งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมของ ส่วนราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมของ ส่วนราชการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมของ ส่วนราชการ
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ (แต่ 23 กันยายน 2549) และ ฉบับที่ 2 พ.ศ (แต่ 23 ธันวาคม 2552) และ ฉบับที่ 3 พ.ศ (แต่ 17 กันยายน 2555) สุวสา ภูออม สำนักงานคลังเขต 4 อุดรธานี

2 มติคณะรัฐมนตรี/หนังสือสั่งการ
1. มาตรการประหยัดในการเบิกค่าใช้จ่าย (ว. 205) ลงวันที่ 30 พฤศจิกายน (มติคณะรัฐมนตรี) 2. มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำปี 2556 (ว. 5) ลงวันที่ 14 มกราคม (ส. กระทรวงการคลัง) 3. มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ (ว. 24) ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ์ (มติคณะรัฐมนตรี)

3 นิยาม การฝึกอบรม อบรม ประชุม / สัมมนา (วิชาการ/เชิงปฏิบัติการ)
อบรม ประชุม / สัมมนา (วิชาการ/เชิงปฏิบัติการ) บรรยายพิเศษ ฝึกศึกษา ฝึกงาน ดูงาน มีโครงการ / หลักสูตร เพื่อพัฒนาบุคคล / เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไม่มีการรับปริญญา / ประกาศนียบัตรวิชาชีพ * ไม่ใช่หลักสูตรการเรียนการสอน ไม่ใช่การประชุมหารือ ประชุมทำงาน ดูงานอย่างเดียวเฉพาะใน ปท. ดูงานต่าง ปท. ไม่มีการฝึกอบรม เบิกตาม พรฎ.เดินทางไปราชการ

4 “ บุคลากรของรัฐ” : ข้าราชการทุกประเภท รวมทั้งพนักงาน ลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ “ เจ้าหน้าที่” บุคลากรของรัฐที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานตามระเบียบนี้ “ เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานลักษณะพิเศษ” บุคคลซึ่งมิได้เป็นบุคลากรของรัฐและได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานในการประชุมระหว่างประเทศ

5 การฝึกอบรมแบ่งเป็น 3 ประเภท
การฝึกอบรม ประเภท ก ผู้เข้าอบรมเกินกึ่งหนึ่ง เป็นบุคลากรของรัฐ ซึ่งเป็นข้าราชการตำแหน่งประเภท (ระดับสูง) ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ, ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น, สูง การฝึกอบรม ประเภท ข ผู้เข้าอบรมเกินกึ่งหนึ่ง เป็นบุคลากรของรัฐซึ่งเป็นข้าราชการตำแหน่งประเภท (ต้น/กลาง) ทั่วไป : ปฏิบัติงาน, ชำนาญงาน, อาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ, ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ต้น บุคคลภายนอก : ผู้เข้าอบรมเกินกึ่งหนึ่งมิใช่บุคลากรของรัฐ

6 ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมแบ่งเป็น 2 ส่วน
ค่าใช้จ่ายของส่วนราชการที่จัดการฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายของผู้เข้ารับการฝึกอบรม

7 ค่าใช้จ่ายของส่วนราชการที่จัดการฝึกอบรม
ส่วนที่ 1 ค่าใช้จ่ายของส่วนราชการที่จัดการฝึกอบรม โครงการ / หลักสูตร การฝึกอบรมที่ส่วนราชการจัด /จัดร่วมกับหน่วยงานอื่น ต้องได้รับอนุมัติจาก หน.สรก. การฝึกอบรมบุคคลภายนอกจัดได้เฉพาะในประเทศ

8 วิธีดำเนินงาน ทราบระดับการอบรม ประมาณการค่าใช้จ่าย
ขออนุมัติหลักสูตร / โครงการ ขออนุมัติจัด เดินทางไปจัด เข้ารับอบรมดูงาน ยืมเงิน เดินทางล่วงหน้าเพื่อจัด ไปสำรวจสถานที่

9 * ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น เหมาะสม และประหยัด
ข้อ 8 (ต่อ) * ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น เหมาะสม และประหยัด ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้และตกแต่งสถานที่ฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายในพิธีเปิด – ปิด การฝึกอบรม ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ ค่าประกาศนียบัตร ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสารและสิ่งพิมพ์ ค่าหนังสือสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร ค่าเช่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝึกอบรม ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม มติ ครม. (6 ก.พ. 56) ราชการ ไม่เกิน 35 บ./คน/มื้อ เอกชน ไม่เกิน 50 บ./คน/มื้อ

10 ** ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราใบละ 300 บาท
ข้อ 8 (ต่อ) ** ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราใบละ บาท ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม *** ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง แห่งละไม่เกิน 1,500 บาท ค่าของสมนาคุณในการดูงาน **** ให้เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์และอัตราตามที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ค่าสมนาคุณวิทยากร ค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก ค่ายานพาหนะ

11 ค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม (ต่อ)
ค่าใช้จ่ายที่ไม่ต้องดำเนินการตามระเบียบพัสดุ ค่าอาหาร ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าเช่าที่พัก หลักฐานการจ่าย ใบเสร็จรับเงิน / ใบรับรองการจ่ายเงิน / ใบสำคัญรับเงิน

12 บุคคลที่จะเบิกค่าใช้จ่ายได้ (ข้อ 10)
บุคคลที่จะเบิกค่าใช้จ่ายได้ (ข้อ 10) 1. ประธานในพิธีเปิด-ปิด แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม 2. เจ้าหน้าที่ 3. วิทยากร 4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 5. ผู้สังเกตการณ์ พนักงานขับรถยนต์ ไปกับผู้จัดอบรม ไปกับคนเข้าอบรม “ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมให้ส่วนราชการผู้จัดเป็นผู้เบิกจ่าย แต่ถ้าจะเบิกจากต้นสังกัด ให้ส่วนราชการผู้จัดฝึกอบรมร้องขอ และส่วนราชการต้นสังกัดตกลงยินยอม

13 อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร (ข้อ 14)
อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร (ข้อ 14) อัตรา (บาท : ชั่วโมง) ประเภทวิทยากร ประเภท ก ประเภท ข บุคคลภายนอก 1. วิทยากรเป็นบุคลากรของรัฐ ไม่เกิน 800 ไม่เกิน 600 2. วิทยากรที่มิใช่บุคลากรของรัฐ ไม่เกิน 1,600 ไม่เกิน 1,200 พระ ผู้รับบำนาญ (ไม่ถือเป็นบุคลากรของรัฐ)

14 ค่าสมนาคุณวิทยากร (ข้อ 14)
ค่าสมนาคุณวิทยากร (ข้อ 14) หลักเกณฑ์การจ่าย บรรยาย ไม่เกิน 1 คน อภิปราย/สัมมนาเป็นคณะ (รวมผู้ดำเนินการอภิปราย) ไม่เกิน 5 คน แบ่งกลุ่ม - ฝึกภาคปฏิบัติ - อภิปราย /สัมมนา - ทำกิจกรรม วิทยากรเกินที่กำหนดให้เฉลี่ยจ่าย นับชั่วโมงการฝึกอบรม ไม่ต้องหักเวลาที่พักรับประทานอาหารว่างฯ ไม่เกินกลุ่มละ 2 คน

15 ค่าสมนาคุณวิทยากร (ข้อ 14)
ค่าสมนาคุณวิทยากร (ข้อ 14) กรณีใช้วิทยากรที่มีความรู้ และประสบการณ์เป็นพิเศษ รับค่าสมนาคุณสูงกว่าได้ อยู่ในดุลยพินิจ หน.สรก.เจ้าของ งปม. ส่วนราชการจัด หรือจัดร่วมกับหน่วยงานอื่น ถ้าวิทยากรได้รับค่าสมนาคุณจากหน่วยงานอื่นแล้ว ให้ส่วนราชการที่จัดฝึกอบรมงดเบิกค่าสมนาคุณ เว้นแต่ ตกลง กค. เป็นอย่างอื่น

16 การจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรให้ใช้แบบใบสำคัญรับเงินสำหรับวิทยากร
เอกสารหมายเลข 1 ใบสำคัญรับเงิน สำหรับวิทยากร ชื่อส่วนราชการผู้จัดฝึกอบรม โครงการ / หลักสูตร วันที่ เดือน พ.ศ ข้าพเจ้า อยู่บ้านเลขที่ ตำบล/แขวง อำเภอ/เขต จังหวัด ได้รับเงินจาก ดังรายการต่อไปนี้ รายการ จำนวนเงิน รวม จำนวนเงิน ( ) (ลงชื่อ) ผู้รับเงิน (ลงชื่อ) ผู้จ่ายเงิน

17 ค่าอาหาร (บาท : วัน : คน) (ข้อ 15)
สถานที่ราชการ/รัฐวิสาหกิจ สถานที่เอกชน - ครบทุกมื้อ ไม่เกิน ไม่เกิน 1,200 ประเภท ก - ไม่ครบทุกมื้อ ไม่เกิน ไม่เกิน 850 - ครบทุกมื้อ ไม่เกิน ไม่เกิน 950 ประเภท ข - ไม่ครบทุกมื้อ ไม่เกิน ไม่เกิน 700 - ครบทุกมื้อ ไม่เกิน ไม่เกิน 800 บุคคลภายนอก - ไม่ครบทุกมื้อ ไม่เกิน ไม่เกิน 600 มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ปี 2556 (กค /ว5 ลว. 14 ม.ค. 56)

18 อัตราค่าเช่าที่พัก (บาท : วัน : คน) (ข้อ 16)
อัตราค่าเช่าที่พัก (บาท : วัน : คน) (ข้อ 16) พักคนเดียว พักคู่ ประเภท ก ไม่เกิน 2, ไม่เกิน 1,300 ประเภท ข ไม่เกิน 1, ไม่เกิน 900 บุคคลภายนอก ไม่เกิน 1, ไม่เกิน 750 มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ปี 2556 (กค /ว5 ลว. 14 ม.ค. 56)

19 ค่าเช่าที่พัก การฝึกอบรมประเภท ข และการฝึกอบรมบุคคลภายนอก
ผู้เข้ารับการฝึกอบรม / ผู้สังเกตการณ์ / เจ้าหน้าที่ ให้พัก 2 คนต่อห้อง (ระดับ 8 ลงมา) เว้นแต่ เป็นกรณีไม่เหมาะสม / มีเหตุจำเป็นไม่อาจพักรวมกับผู้อื่นได้ จัดให้พักห้องพักคนเดียวได้

20 ค่าเช่าที่พัก (ต่อ) ประเภททั่วไป ระดับทักษะพิเศษ
การฝึกอบรมประเภท ก (ระดับ 9 ขึ้นไป) ผู้เข้ารับการฝึกอบรม / ผู้สังเกตการณ์ / เจ้าหน้าที่ ประเภททั่วไป ระดับทักษะพิเศษ ประเภทวิชาการ ระดับวิชาการ , เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ ประเภทอำนวยการ ระดับสูง ประเภทบริหาร ระดับต้น ระดับสูง ให้พัก 2 คนต่อห้องก็ได้ หรือจัดให้พักห้องพักคนเดียวก็ได้ 20

21 ค่าเช่าที่พัก (ต่อ) การจัดที่พักสำหรับประธานในพิธีเปิดหรือปิด / แขกผู้มีเกียรติและผู้ติดตาม / วิทยากร ให้พักห้องพักคนเดียว หรือพักห้องพักคู่ก็ได้ และเบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินอัตราค่าเช่า ที่พักตามบัญชีหมายเลข 2 / 3 21

22 ค่ายานพาหนะ ® ใช้ยานพาหนะของส่วนราชการผู้จัด ยืมจากส่วนราชการอื่น / หน่วยงานอื่น เบิกค่าน้ำมันเท่าที่จ่ายจริง ® ใช้ยานพาหนะประจำทาง/เช่าเหมายานพาหนะ เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น และประหยัด ให้จัดยานพาหนะ ตามประเภทการฝึกอบรม ดังนี้ ประเภท ก จัดตามสิทธิข้าราชการ ประเภทบริหารระดับสูง(ระดับ 10 เดิม) ยกเว้น เครื่องบินใช้ชั้นธุรกิจ แต่ถ้าเดินทางไม่ได้ให้ใช้ชั้นหนึ่ง ประเภท ข จัดตามสิทธิข้าราชการ ประเภททั่วไประดับชำนาญงาน บุคคลภายนอก จัดตามสิทธิข้าราชการ ประเภททั่วไประดับปฏิบัติงาน กรณีเช่าเหมายานพาหนะต้องดำเนินการตามระเบียบพัสดุด้วย ® ค่าพาหนะรับจ้าง ไป – กลับ ให้วิทยากรแทนการจัดรถรับส่งวิทยากร ใช้ใบสำคัญรับเงินสำหรับวิทยากรเป็นหลักฐานการจ่าย (เอกสารหมายเลข 1)

23 การเบิกจ่ายค่าพาหนะ ไป – กลับ แต่ละวัน
ที่อยู่ ที่พัก ที่ทำงาน สถานที่จัดฝึกอบรม ให้อยู่ในดุลยพินิจของหัวหน้าส่วนราชการที่จัด / ต้นสังกัด

24 ยกเว้น ค่าเช่าที่พัก ให้เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์และอัตราตามระเบียบ
กรณีส่วนราชการผู้จัดฝึกอบรมไม่จัดอาหาร / ที่พัก /ยานพาหนะทั้งหมดหรือจัดให้บางส่วน ให้ส่วนราชการผู้จัดเบิกจ่ายค่าใช้จ่าย ให้แก่ - ประธานในพิธีเปิด/ปิด แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม - เจ้าหน้าที่/วิทยากร/ผู้เข้ารับการฝึกอบรม/ผู้สังเกตการณ์ สำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรมและผู้สังเกตการณ์ ถ้าเป็นบุคลากร ของรัฐให้เบิกจ่ายจากต้นสังกัด ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ในพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ยกเว้น ค่าเช่าที่พัก ให้เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์และอัตราตามระเบียบ ค่าเบี้ยเลี้ยง ผู้จัดเลี้ยงอาหารบางมื้อให้หักเบี้ยเลี้ยงมื้อละ 1 ใน 3

25 กรณีผู้จัดไม่จัดอาหาร / ที่พัก / ยานพาหนะ (ข้อ 19) (บุคคลภายนอก)
กรณีผู้จัดไม่จัดอาหาร / ที่พัก / ยานพาหนะ (ข้อ 19) (บุคคลภายนอก) ให้จ่ายเงินให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ดังนี้ 1. ค่าอาหาร - จัดอาหารให้ 2 มื้อ ไม่เกิน บาท/วัน - จัดอาหารให้ 1 มื้อ ไม่เกิน 160 บาท/วัน - ไม่จัดอาหารให้ทั้ง 3 มื้อ ไม่เกิน 240 บาท/วัน 2. ค่าเช่าที่พัก เหมาจ่ายไม่เกิน 500 บาท/วัน 3. ค่าพาหนะ ตามสิทธิข้าราชการตำแหน่งระดับปฏิบัติงาน 4. ใช้แบบใบสำคัญรับเงินท้ายระเบียบฯ

26 แบบใบสำคัญรับเงินค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมบุคคลภายนอก
ชื่อส่วนราชการผู้จัดฝึกอบรม โครงการ / หลักสูตร วันที่ เดือน พ.ศ ถึงวันที่ เดือน พ.ศ จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม / ผู้สังเกตุการณ์ รวมทั้งสิ้น คน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม / ผู้สังเกตุการณ์ ได้รับเงินจากกรม กระทรวง ปรากฎรายละเอียดดังนี้ ลำดับ ชื่อ - สกุล ที่อยู่ ค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ รวมเป็นเงิน วัน เดือน ปี ลายมือชื่อ ที่ (บาท) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ลงชื่อ ผู้จ่ายเงิน ( ) ตำแหน่ง

27 การคำนวณเบี้ยเลี้ยง ถ้าในการฝึกอบรมมีการจัดเลี้ยงอาหาร
* นับเวลาตั้งแต่ออกจากที่อยู่ ที่ทำงาน จนถึงที่อยู่ ที่ทำงาน แล้วคำนวณเบี้ยเลี้ยง 24 ชม. = 1 วัน เศษเกิน 12 ชม. = 1 วัน * หักเบี้ยเลี้ยงที่คำนวณได้ในอัตรามื้อละ 1 ใน 3 ของอัตราเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย (มื้อที่จัดอาหารให้แล้ว) (ข้อ 20 วรรคแรก) * ไม่มีเบี้ยเลี้ยงครึ่งวัน *

28 ค่าใช้จ่ายของผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ส่วนที่ 2 ค่าใช้จ่ายของผู้เข้ารับการฝึกอบรม

29 ค่าใช้จ่ายของผู้เข้ารับการฝึกอบรม
♥ การส่งบุคลากรเข้ารับการฝึกอบรมให้ส่วนราชการต้นสังกัดอนุมัติเฉพาะผู้ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องหรือเป็นประโยชน์ ต่อส่วนราชการนั้น ตามจำนวนที่เห็นสมควร โดยคำนึงถึงความจำเป็น และเหมาะสมในการปฏิบัติงาน

30 ค่าใช้จ่ายของผู้เข้ารับการฝึกอบรม (ต่อ)
♥ ค่าลงทะเบียน / ค่าธรรมเนียม เบิกเท่าที่จ่ายจริง ตามที่ส่วนราชการหน่วยงานจัดฝึกอบรมเรียกเก็บ ♥ ถ้าค่าลงทะเบียนรวมค่าอาหาร ที่พัก พาหนะในการฝึกอบรม ไว้หมดแล้ว หรือผู้จัดออกให้ทั้งหมด ต้องงดเบิก ♥ ถ้าค่าลงทะเบียนไม่รวมค่าอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ หรือ ผู้จัดไม่ออกค่าใช้จ่าย ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเบิกในส่วนที่ไม่ได้ออกให้ตามหลักเกณฑ์และอัตราตามระเบียบ

31 การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ นอกเหนือจาก ที่กำหนดไว้หรือกำหนดไว้แล้วไม่สามารถปฏิบัติได้ให้หัวหน้าส่วนราชการขอทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง

32 ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน
จัดงานตามแผนงาน / โครงการตามภารกิจปกติ / ตามนโยบายของทางราชการให้หัวหน้าส่วนราชการพิจารณาอนุมัติการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงานได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด

33 ค่าใช้จ่ายในการจัดงาน
กรณีจัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะให้แก่ ประธานในพิธี แขกผู้มีเกียรติ ผู้ติดตาม เจ้าหน้าที่ / ผู้เข้าร่วมงาน ให้ใช้หลักเกณฑ์/อัตรา ตามข้อ 15 /16 /17 มาใช้บังคับ ♥ กรณีส่วนราชการที่จัดงาน ไม่จัดอาหาร ที่พัก ยานพาหนะ ให้แก่ ประธาน/แขกผู้มีเกียรติ/ผู้ติดตาม เจ้าหน้าที่หรือผู้ร่วมงาน ให้นำข้อ 18 มาใช้บังคับ

34 กรณีจ้างจัดงาน ส่วนราชการจ้างจัดงานไม่ว่าทั้งหมด/บางส่วน
ให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และอัตราตามระเบียบฯ วิธีการจัดจ้างทำตามระเบียบพัสดุ ใช้ใบเสร็จรับเงินของผู้รับจ้างเป็นหลักฐานการจ่าย

35 (ตัวอย่าง - 1) ถาม ! ไปราชการกี่วัน กี่ชั่วโมง เบิกเบี้ยเลี้ยงกี่บาท
ข้าราชการระดับปฏิบัติงาน ไปอบรมที่ ห้องประชุม ศาลากลาง จ.อุดรธานี (ออกจากที่พัก เวลา น. กลับถึงที่พัก เวลา น.) ผู้จัดอบรมไม่ได้จัดเลี้ยงอาหาร ถาม ! ไปราชการกี่วัน กี่ชั่วโมง เบิกเบี้ยเลี้ยงกี่บาท

36 ระเบียบฝึกอบรมไม่มีเบี้ยเลี้ยงครึ่งวัน
ตอบ 08.00 17.00 9 ชม. จันทร์ จันทร์ 9 ชั่วโมง = 0 ระเบียบฝึกอบรมไม่มีเบี้ยเลี้ยงครึ่งวัน ตามข้อ 18 (2)

37 (ตัวอย่าง - 2) ถาม ! ไปราชการกี่วัน กี่ชั่วโมง เบิกเบี้ยเลี้ยงกี่บาท
ข้าราชการระดับชำนาญการ ไปอบรมที่โรงแรมโฆษะ จ.ขอนแก่น (ออกจากที่พัก เวลา น. กลับถึงที่พัก เวลา น.) ผู้จัดอบรมจัดเลี้ยงอาหารกลางวัน 1 มื้อ ถาม ! ไปราชการกี่วัน กี่ชั่วโมง เบิกเบี้ยเลี้ยงกี่บาท

38 เบี้ยเลี้ยง 240 บ. หัก อาหาร 1 มื้อ (80 บ.) = 160 บ.
ตอบ 06.00 18.30 12 ชม. 30 นาที จันทร์ จันทร์ เกินกว่า 12 ชั่วโมง = วัน เบี้ยเลี้ยง 240 บ. หัก อาหาร 1 มื้อ (80 บ.) = 160 บ. เบี้ยเลี้ยง = บาท

39 (ตัวอย่าง 3) ขรก.ระดับชำนาญการ ไปอบรมที่กรุงเทพฯ วันจันทร์ – อังคาร
(เดินทาง น. วันอาทิตย์ กลับถึงบ้าน น. วันพุธ) ผู้จัด เลี้ยงอาหารกลางวัน 2 มื้อ ถาม ! ไปราชการกี่วัน กี่ชั่วโมง เบิกเบี้ยเลี้ยงกี่บาท

40 ตอบ 08.00 08.00 08.00 07.00 24 ชม. 23 ชม. 24 ชม. อาทิตย์ อังคาร พุธ จันทร์ 2 วัน 23 ชั่วโมง = 3 วัน 3 วัน x 240 บ. = 720 – 160 (80 บ. * 2 มื้อ) เบี้ยเลี้ยง = บาท


ดาวน์โหลด ppt ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมของ ส่วนราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google