งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการขับเคลื่อนโครงการชุมชนสวัสดิการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการขับเคลื่อนโครงการชุมชนสวัสดิการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการขับเคลื่อนโครงการชุมชนสวัสดิการ
สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน

2 โครงการชุมชนสวัสดิการกรมการพัฒนาชุมชน
ความเป็นมา หลักการพัฒนาชุมชน มุ่งส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชนของตนเอง ให้รู้จักการช่วยเหลือตนเองหรือพึ่งพาตนเอง โดยภาครัฐจะช่วยเหลือในสิ่งที่เกินขีดความสามารถของประชาชน กรมการพัฒนาชุมชน ได้ยึดหลักการพัฒนาชุมชนดังกล่าว เป็นแนวทางในการดำเนินงานตลอดมา ตั้งแต่ ปี พ.ศ โดยมีเป้าหมายที่จะให้ ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได้ ครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความสุข ประกอบกับ กรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสริม และสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกันจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต โดยการสะสมเงินทีละเล็กทีละน้อยไว้รวมกัน เพื่อใช้เป็นเงินทุนในการประกอบอาชีพ โดยยึดหลักการพึ่งพาตนเองและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.2517เป็นต้นมา ปัจจุบัน มีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตเป็นจำนวนมาก ได้จัดสวัสดิการให้กับสมาชิกของกลุ่ม และคนในชุมชน ในรูปแบบต่าง ๆ กัน ตั้งแต่เกิดไปจนถึงการเสียชีวิต ซึ่งเป็นรูปแบบ “ ชุมชนสวัสดิการ ” และได้ขยายผลไปถึงองค์กรการเงินชุมชนอื่น ๆ อาทิ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน เครือข่ายองค์กรการเงินชุมชน

3 วัตถุประสงค์ของโครงการชุมชนสวัสดิการ
เพื่อส่งเสริมให้หมู่บ้านและชุมชนสร้างระบบการพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยการจัดระบบสวัสดิการให้กับประชาชนในหมู่บ้านและชุมชนของตนเอง

4 พื้นที่ดำเนินงานโครงการชุมชนสวัสดิการ
1 2 หมู่บ้านชุมชนสวัสดิการ ดำเนินการ 18 แห่ง ตามเขตตรวจราชการ มอบหมาย ผู้ตรวจราชการฯ เป็นผู้จัดการโครงการ โดยดำเนินการคัดเลือกหมู่บ้านเป้าหมายร่วมกับจังหวัด ตามหลักเกณฑ์ที่กรมฯ กำหนด ซึ่งหมู่บ้านเป้าหมายต้องมี กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต และสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน หมู่บ้านวิจัยเปรียบเทียบ ดำเนินการวิจัยเปรียบเทียบการจัดสวัสดิการชุมชน จำนวน 18 แห่ง กับ หมู่บ้านชุมชนสวัสดิการ ทั้ง 18 แห่ง ตามเขตตรวจราชการ โดยการจัดจ้างทีมวิจัยที่มีความรู้ ความชำนาญ และมีความเชี่ยวชาญ มาดำเนินการ

5 พื้นที่ดำเนินงานโครงการชุมชนสวัสดิการ
หมู่บ้านพื้นที่ดำเนินการโครงการชุมชนสวัสดิการ กำหนดดำเนินการ 18 แห่ง ตามเขตตรวจราชการ มอบหมาย ผู้ตรวจราชการฯ เป็นผู้จัดการโครงการ โดยดำเนินการคัดเลือกหมู่บ้านเป้าหมายร่วมกับจังหวัด ตามหลักเกณฑ์ที่กรมฯ กำหนด ซึ่งหมู่บ้านเป้าหมายต้องมีกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต และสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน พร้อมจัดทำโครงการวิจัยเปรียบเทียบผลการดำเนินงานโครงการชุมชนสวัสดิการ โดยการจัดจ้างทีมวิจัยที่มีความรู้ ความชำนาญ และมีความเชี่ยวชาญ เข้ามาดำเนินการ

6 คณะกรรมการหมู่บ้านสวัสดิการชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ( นายพสันติ์ ประทานชวโน) หัวหน้าคณะทำงาน ผู้ตรวจราชการกรมฯ (ทุกคน) กรรมการ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมอแงค์กรการเงินชุมชน กรรมการ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน เลขานุการ หัวหน้าสำนักงานผู้ตรวจ ผู้ช่วยเลขานุการ นักวิชาการพัฒนาชุมชนสำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน ผู้ช่วยเลขานุการ

7 คณะกรรมการหมู่บ้านชุมชนสวัสดิการ 18 เขตตรวจราชการ
กรมการพัฒนาชุมชน ผู้ตรวจราชการกรมฯ ประธาน หัวหน้ากลุ่มงานฯ จังหวัด เลขานุการ พัฒนาการจังหวัด กรรมการ พัฒนาการอำเภอ กรรมการ พัฒนากรในพื้นที่ กรรมการ คณะกรรมการหมู่บ้านชุมชนสวัสดิการ 18 เขตตรวจราชการ ภาคีการดำเนินงาน ผู้จัดการ ธกส. กรรมการ ผู้จัดการธนาคารออมสิน กรรมการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการ องค์กรการเงินชุมชน ประธานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กรรมการ ประธานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน กรรมการ บทบาทของกรมการพัฒนาชุมชน เป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุน มิใช่ การสั่งการ

8 บทบาทของกรมการพัฒนาชุมชน เป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุน มิใช่ การสั่งการ
กลไกการขับเคลื่อน 1 กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ∆ ข้อมูลปัจจุบัน ,891 กลุ่ม เงินสัจจะ 22,497,611,186 บาท 2 เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต และเครือข่ายกองทุนชุมชน 3 สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ∆ ปี จำนวน 162 แห่ง ∆ ปี จำนวน 150 แห่ง . บทบาทของกรมการพัฒนาชุมชน เป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุน มิใช่ การสั่งการ

9 กลุ่มเป้าหมายในโครงการ
คณะกรรมการ หมู่บ้านชุมชนสวัสดิการ 18 เขตตรวจ คณะกรรมการหมู่บ้านวิจัยเปรียบเทียบชุมชนสวัสดิการ 18 แห่ง โครงการชุมชนสวัสดิการ บุคลากรกรมฯ ในพื้นที่/ประชาชน/สมาชิกองค์กรการเงินชุมชนหมู่บ้านชุมชนสวัสดิการ 18 เขตตรวจ บุคลากรกรมฯ ในพื้นที่/ประชาชน/สมาชิกองค์กรการเงินชุมชนในหมู่บ้านวิจัยเปรียบเทียบชุมชนสวัสดิการ 18 แห่ง

10 กลุ่มเป้าหมายในโครงการ
บุคลากรของกรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่หมู่บ้านชุมชนสวัสดิการ เขตตรวจ คณะกรรมการ หมู่บ้านชุมชนสวัสดิการ 18 เขตตรวจ โครงการชุมชนสวัสดิการ ประชาชน/สมาชิกองค์กรการเงินชุมชนหมู่บ้านชุมชนสวัสดิการ 18 เขตตรวจ

11 กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับประโยชน์
1. สมาชิก ∆ กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ∆ สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ∆ เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต และเครือข่ายกองทุนชุมชน 2. ประชาชนในหมู่บ้านที่มีการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต และสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน

12 กิจกรรมด้านสวัสดิการชุมชน
สวัสดิการเกี่ยวกับเด็กแรกเกิด/คลอดบุตร 1 สวัสดิการเกี่ยวกับการเจ็บป่วย/รักษาพยาบาล 2 สวัสดิการผู้สูงอายุ 3 สวัสดิการกรณีเสียชีวิต 4 สวัสดิการคนด้อยโอกาส/คนพิการ 5 สวัสดิการเพื่อพัฒนาอาชีพ 6 สวัสดิการเพื่อการศึกษา 7 สวัสดิการด้านอุบัติภัย อัคคีภัย วาตะภัย และอุทกภัย 8 อื่น ๆ 9

13 ปัจจัยสนับสนุนการขับเคลื่อน
การดำเนินงาน โครงการชุมชนสวัสดิการ ปัจจัยภายใน ∆ ความรู้ความสามารของกรรมการ ∆ เงินกองทุนในการบริหารงาน ∆ กิจกรรมที่เอื้อต่อชุมชน ∆ วัสดุ / อุปกรณ์ / เครื่องมือที่ใช้ ในการบริหารจัดการ ∆ ความรู้ความเข้าใจของสมาชิก/ คนในชุมชน ∆ ความร่วมมือของสมาชิก/คนใน ชุมชน ปัจจัยภายนอก ∆ นโยบายรัฐบาล ∆ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนผู้ส่งเสริม ∆ ภาคีการพัฒนา ∆ งบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ และภาคเอกชน ∆ กระบวนการส่งเสริมที่ต่อเนื่อง และจริงจังของเจ้าหน้าที่พัฒนา ชุมชน ∆ สถานการณ์/วิกฤติการณ์ปัจจุบัน

14 โครงการชุมชนสวัสดิการ
งบประมาณดำเนินการ กรมการพัฒนาชุมชน โครงการชุมชนสวัสดิการ ผลกำไร หรือ เงินกองทุนขององค์กรการเงินชุมชน (สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน / กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต/ เครือข่ายองค์กรการเงินชุมชน)

15 แนวทางการขับเคลื่อนโครงการชุมชนสวัสดิการ กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการขับเคลื่อนโครงการชุมชนสวัสดิการ กรมการพัฒนาชุมชน เป้าหมาย • หมู่บ้านชุมชนสวัสดิการ18 เขตตรวจๆ ละ 1 แห่ง รวม 18 แห่ง • หมู่บ้านวิจัยเปรียบเทียบ 18 แห่ง กรมการพัฒนาชุมชน • การสร้างความเข้าใจให้กับผู้เกี่ยวข้อง ∆ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ∆ ภาคีการพัฒนา ∆ คณะกรรมการบริหารสถาบันการจัดการ เงินทุนชุมชน กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการ ผลิต และเครือข่ายกองทุนชุมชน • เอกสาร สิ่งพิมพ์ วีดิทัศน์ ∆ แนวทางการขับเคลื่อนโครงการสวัสดิการ ชุมชนของกรมการพัฒนาชุมชน ∆ โปสเตอร์ /แผ่นพับ /วิดีทัศน์ รูปแบบสวัสดิการชุมชน สวัสดิการเกี่ยวกับเด็กแรกเกิด/คลอดบุตร สวัสดิการเกี่ยวกับการเจ็บป่วย/รักษาพยาบาล สวัสดิการผู้สูงอายุ สวัสดิการกรณีเสียชีวิต สวัสดิการคนด้อยโอกาส/คนพิการ สวัสดิการเพื่อพัฒนาอาชีพ สวัสดิการเพื่อการศึกษา สวัสดิการด้านอุบัติภัย อัคคีภัย วาตะภัย และอุทกภัย กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต และเครือข่ายกองทุนชุมชน สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน งบประมาณ • กรมการพัฒนาชุมชน • ผลกำไร หรือ เงินกองทุนขององค์กร การเงินชุมชน

16 โครงสร้างการบริหารจัดการองค์กรการเงินชุมชน
ภาครัฐ พช. / ภาคี สถาบันการเงิน/ธนาคาร ภาคเอกชน / NGOs องค์กรการเงินชุมชน การพัฒนาศักยภาพ กรรมการ สมาชิก คนในชุมชน การลงทุน รายได้/กำไร การจัดสวัสดิการ (ชุมชนสวัสดิการ) รัฐสวัสดิการ - รักษาพยาบาลฟรี เรียนฟรี เบี้ยผู้สูงอายุ โครงสร้างพื้นฐาน การจัดสรรงบประมาณ งบบริหาร ปันผลสมาชิก สาธารณประโยชน์ ตอบแทนกรรมการ (สังคม/ศาสนา/วัฒนธรรม) - งบค่าใช้สอย ประชาธิปไตย งบสำรอง รักษาความปลอดภัย - เอื้ออาทร คุณภาพชีวิต สวัสดิการต่างๆ ตั้งแต่การเกิด การเจ็บป่วย การชรา และการเสียชีวิต การป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด การปรับสภาพแวดล้อมชุมชนเพื่อสุขภาพ การบรรเทาสาธารณภัย

17 แนวทางการดำเนินงาน นำเสนอโครงการฯ ในการประชุมคณะกรรมการอำนวยการยุทธศาสตร์กรมฯ และที่ประชุมกรมฯ เพื่อให้ความเห็นชอบโครงการ 2. บันทึกเสนออธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน เพื่อขออนุมัติโครงการ และขออนุมัติ ดำเนินการตามโครงการ 3. บันทึกเสนอกระทรวงมหาดไทย เพื่อนำเรียนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เพื่อโปรดทราบ 4. จัดทำแนวทางการขับเคลื่อนโครงการชุมชนสวัสดิการ กรมการพัฒนาชุมชน 5. หนังสือแจ้งแนวทางการขับเคลื่อนโครงการชุมชนสวัสดิการ กรมการพัฒนา ชุมชน ให้จังหวัด ทราบ

18 แนวทางการดำเนินงาน ( ต่อ )
6. ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะกรรมการสวัสดิการชุมชนนำร่อง 18 เขตตรวจ ราชการ 3 ระยะ ดังนี้ ( 1 ) ก่อนเริ่มดำเนินการ ( 2 ) ระหว่างดำเนินการ ( 3 ) สรุปผลเมื่อสิ้นสุดโครงการ 7. ประชุมเชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ภาคีการพัฒนาและ คณะกรรมการบริหารองค์กรการเงินชุมชน(สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน /กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต/เครือข่ายองค์กรการเงินชุมชน) 8. เชิญผู้บริหารกรมการพัฒนาชุมชน ตรวจเยี่ยมโครงการนำร่อง “ ชุมชนสวัสดิการ ”

19 แนวทางการดำเนินงาน ( ต่อ )
9. จัดทำระบบฐานข้อมูล ∆ การรายงานผล ∆ การติดตามความก้าวหน้า 10. รายงานผลการดำเนินงาน ให้กระทรวงมหาดไทยทราบเป็นระยะ 11. การประชาสัมพันธ์โครงการ 12. การติดตามและปะเมินผลโครงการ

20 แนวทางการดำเนินงาน ( ต่อ )
13. การประชุมสัมมนาผู้เกี่ยวข้อง เพื่อ ( 1 ) ค้นหาปัญหาอุปสรรค ( 2 ) ค้นหาปัจจัยแห่งความสำเร็จ ( 3 ) ทบทวนบทเรียน 14. การส่งมอบโครงการเข้าสู่งานปกติ และการขยายผลการดำเนินงาน

21 สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน
ขอบคุณครับ สำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการขับเคลื่อนโครงการชุมชนสวัสดิการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google