ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การขึ้นทะเบียน ผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก ปี 2556/57 กรมส่งเสริมการเกษตร 20 มิถุนายน 2556
2
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
ประเด็น ช่วงเวลา 1. ช่วงเก็บเกี่ยว 1 ต.ค. 56 – 30 ก.ย. 57 2. ขึ้นทะเบียน 1 ก.ค มิ.ย. 57 3. ประชาคม 15 ก.ค. 56 – 14 ก.ค. 57 4. ออกใบรับรอง 15 ก.ค. 56 – 15 ก.ย. 57
3
2. มันสำปะหลัง ประเด็น ช่วงเวลา 1. ช่วงเก็บเกี่ยว 1 ต.ค. 56 – 30 ก.ย. 57 2. ขึ้นทะเบียน 17 มิ.ย ก.พ. 57 3. ประชาคม 1 ก.ค. 56 – 15 มี.ค. 57 4. ออกใบรับรอง 1 ก.ค. 56 – 31 มี.ค. 57
4
3. ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ประเด็น ช่วงเวลา 1. ช่วงปลูก ปีการผลิต 2555/56 2. ช่วงเก็บเกี่ยว - 3. ขึ้นทะเบียน 17 มิ.ย ต.ค. 56 4. ประชาคม 1 ก.ค. 56 – 30 พ.ย. 56 5. ออกใบรับรอง 1 ก.ค. 56 – 31 ธ.ค. 56
5
การปรับปรุงการขึ้นทะเบียน ผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจปี 2556/57
6
สิ่งที่ปรับปรุงจากปี 2555/56
กรอบการขึ้นทะเบียนข้าว - รับขึ้นทะเบียนแปลงที่มีการเก็บเกี่ยว ตั้งแต่ 1 ต.ค. 56 – 30 ก.ย. 57 ได้ปีละ 2 ครั้ง/แปลง เอกสารประกอบการขึ้นทะเบียน - ยกเลิกการใช้ แบบ ทบก . 02 กรณีเกษตรกรเช่าไม่มีสัญญา และเช่าไม่ทราบ เลขที่เอกสารสิทธิ์ - ให้ขึ้นทะเบียนเป็นเกษตรกรรายใหม่
7
สิ่งที่ปรับปรุงจากปี 2555/56 (ต่อ)
การประชาคม - ต้องทำประชาคมกลุ่มย่อย 5-10 ราย ต่อกลุ่ม ทุกพื้นที่ การสุ่มตรวจสอบพื้นที่จริง - สุ่มตรวจสอบพื้นที่ปลูกเป็นร้อยละ 20 ของเกษตรกรที่ผ่านประชาคม โดยตรวจทุกแปลงแต่ไม่เกิน 3 แปลง ต่อราย - สุ่มตรวจวัดพื้นที่ปลูกจริง โดยใช้เครื่อง GPS เป็น ร้อยละ 20 ของเกษตรกรที่สุ่มตรวจสอบ โดยตรวจทุกแปลงแต่ไม่เกิน 3 แปลง ต่อราย
8
สิ่งที่ปรับปรุงจากปี 2555/56 (ต่อ)
มาตรการลงโทษ - เพิ่มมาตรการลงโทษ กรณี เกษตรกรแจ้งข้อมูลเท็จและการรับรองข้อมูลเป็นเท็จ ให้เพิกถอนสิทธิ์ การเข้าร่วมโครงการ 3 รอบปีการผลิต
9
สิ่งที่ปรับปรุงจากปี 2555/56 (ต่อ)
พันธุ์ข้าวที่ไม่รับขึ้นทะเบียน 1) พันธุ์ 75 หรือ บีพี ) พันธุ์ซี-75 3) พันธุ์ราชินี ) พันธุ์พวงทอง 5) พันธุ์พวงเงิน ) พันธุ์พวงเงินพวงทอง 7) พันธุ์พวงแก้ว ) พันธุ์ขาวปุทม
10
สิ่งที่ปรับปรุงจากปี 2555/56 (ต่อ)
พันธุ์ข้าวที่ไม่รับขึ้นทะเบียน (ต่อ) 9) พันธุ์สามพราน 1 10) พันธุ์ 039 หรือ เจ้าพระยา หรือ PSLCo ) 11) พันธุ์โพธิ์ทอง ) พันธุ์ขาวคลองหลวง 13) พันธุ์มาเลเซีย ) พันธุ์เตี้ยมาเล 15) พันธุ์ขาวมาเล ) พันธุ์มาเลแดง 17) พันธุ์ เบตง ) พันธุ์อีแล็ป หรือ อีเล็ป
11
สิ่งที่ต้องทำและระมัดระวัง
1. การประชาสัมพันธ์ ให้เกษตรกรรับทราบถึงบทลงโทษที่จะได้รับเมื่อมีการแจ้งข้อมูลอันเป็นเท็จ หรือการรับรองข้อมูลเท็จ 2. ต้องตรวจสอบเอกสารหลักฐานด้วยความละเอียดรอบคอบ 3. การบันทึกข้อมูลให้บันทึกแยกเป็นรายแปลง/ รายพันธุ์ / วันปลูก/วันเก็บเกี่ยว 4. การบันทึกประเภทเอกสารสิทธิ์ และเลขที่ เอกสารสิทธิ์ ต้องบันทึกให้ถูกต้อง เพราะมีผลต่อการตรวจสอบสิทธิ์การขึ้นทะเบียน
12
สิ่งที่ต้องทำและระมัดระวัง (ต่อ)
5. ต้องจัดทำประชาคมกลุ่มย่อยกลุ่มละ 5-10 คน และลงลายมือชื่อรับรองข้อมูลภายในกลุ่มก่อนประชาคมภาพรวม 6. ในเวทีประชาคม ต้องเน้นย้ำให้เกษตรกรตรวจสอบข้อมูล ของตนเองให้ถูกต้อง หากมีข้อผิดพลาดจะไม่สามารถ แก้ไขได้ 7. ในการประชาคม ต้องแจ้งให้เกษตรกรรับทราบถึงโทษ ตามประมวลกฎหมายอาญา ในการให้ข้อมูลเป็นเท็จ การรับรองข้อมูลเป็นเท็จ
13
สิ่งที่ต้องทำและระมัดระวัง (ต่อ)
8. การจัดทำสรุปผลการประชาคม ต้องตรวจสอบให้ 8.1 จำนวนผู้เข้าร่วมประชาคมต้องเท่ากับจำนวนเกษตรกรที่ ลงลายมือชื่อไว้ 8.2 จำนวนผู้ไม่ผ่านประชาคมต้องเท่ากับจำนวนรายชื่อผู้ไม่ ผ่านประชาคม 8.3 จำนวนผู้ผ่านประชาคม = จำนวนผู้เข้าร่วมประชาคม - ผู้ไม่ผ่านการประชาคม
14
คำถาม-คำตอบที่ต้องทำความเข้าใจ
1. รอบที่ และครั้งที่ ต่างกันอย่างไร 1.รอบที่ ใช้กับฤดูการผลิต ( นาปี/นาปรัง) ครั้งที่ ใช้กับการทำนาในแปลงนั้นๆเป็นครั้งที่1 หรือ ครั้งที่ 2 2. การนับ ปีละ 2 ครั้ง ต่อแปลง คิดอย่างไร 2. นับ 2 ครั้งโดยคิดจาก วันเก็บเกี่ยวที่แจ้ง ระหว่าง วันที่ 1 ต.ค. 56 ถึง 30 ก.ย. 57 3. การตรวจสอบสิทธิ์ ปีละ 2 ครั้ง ทำอย่างไร 3. ตรวจด้วยโปรแกรมโดย ล็อค เลขที่ และ ประเภทเอกสารสิทธิ์ ที่ตั้งแปลง
15
คำถาม-คำตอบที่ต้องทำความเข้าใจ (ต่อ)
4. กรณีเกษตรกร แจ้งปลูกไม่เต็ม พื้นที่ในเอกสาร สิทธิจะนับครั้ง อย่างไร 4. กรณีนี้ ระบบจะให้ จนท. ยืนยัน ครั้งที่ใน ระบบบันทึก ตัวอย่างเช่น 4.1 ถ้าพื้นที่เต็ม 50 ไร่ แบ่งปลูก 2 ผืน โดยปลูก ข้าวเหนียว 30 ไร่ ต่อมาปลูกข้าวเจ้าเพิ่ม 20 ไร่ หากเป็นการปลูกครั้งแรก ให้ยืนยันเป็นครั้งที่ 1 4.2 ถ้าพื้นที่เต็ม 50 ไร่ ปลูกครั้งแรก 30 ไร่ ต่อมา ปลูกข้าวเจ้า 20 ไร่ แต่อยู่ในแปลงเดิม (30ไร่) ให้ยืนยันเป็นครั้งที่ 2
16
คำถาม-คำตอบที่ต้องทำความเข้าใจ (ต่อ)
5. กรณีไม่มีเลขที่ หรือ เอกสารสิทธิ์ ตรวจสอบ ครั้งที่อย่างไร 5. กรณีที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ หรือเช่าโดยไม่มี เอกสารสิทธิ์ เจ้าหน้าที่ จะต้องตรวจสอบ และ คีย์ยืนยันในระบบบันทึก 6. ในกรณีที่โปรแกรม กำหนดสิทธิ ครั้งที่ ไม่ถูกต้อง เพราะเหตุ ใด จะแก้ไขได้หรือไม่ อย่างไร 6. ในการบันทึกประเภทเอกสารสิทธิ เลขที่ เอกสารสิทธิแปลงเดียวกัน แต่การบันทึกทั้ง 2 ครั้ง ไม่เหมือนกัน ทำให้ระบบตรวจสอบ ไม่ได้ ดังนั้น การบันทึกต้องตรวจสอบให้ ถูกต้อง สามารถแก้ไขได้
17
คำถาม-คำตอบที่ต้องทำความเข้าใจ (ต่อ)
7. อายุข้าวนับอย่างไร 7. ข้าวนาหว่าน นับตั้งแต่วันที่หว่าน ข้าวนาดำ นับตั้งแต่วันที่เพาะกล้า 8. พันธุ์ข้าวที่มีอายุต่ำ กว่า 110 วัน สามารถเข้าร่วมโครงการได้หรือไม่ 8. พันธุ์ข้าวที่เข้าร่วมโครงการไม่ได้ มี 18 พันธุ์ ตามที่กรมการข้าวประกาศ เท่านั้น
18
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.