ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
88620159 Object-Oriented Programming Paradigm
Exception Handling
2
Class Variable vs. Instance Variable
4
Output
6
Exception Exception หมายถึง ข้อผิดพลาดใดก็ตามที่เป็นเหตุให้ โปรแกรมหยุดทำงานจากการทำงานปกติ ซึ่งเมื่อเกิด exception โปรแกรมจะหยุดทำงานและแสดงข้อความ แจ้งข้อผิดพลาดออกมา Exception เกิดขึ้นได้ทั้งขณะ runtime ( runtime exceptions) และ compile-time (Compile-time exceptions)
7
ประเภทของ Exception Checked exceptions ทุก ๆ exceptions ที่นอกเหนือจาก Runtime Exceptions จะเรียกว่า Checked exceptions เพราะจะเกิดขึ้นในขั้นตอนการคอมไพล์ Unchecked exceptions ทุก ๆ exceptions ที่เกิดขณะโปรแกรมทำงานจะเรียกว่า Unchecked exceptions ผู้เขียนโปรแกรมต้องเขียนการจัดการข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น ในขณะที่โปแกรมทำงานเพื่อให้โปรแกรมดำเนินต่อไปตัวอย่าง เช่น ArithmeticException ArrayIndexOutOfBoundsException NullPointerException
8
exception handling exception handling ของภาษาจาวามีรูปแบบการใช้งาน ดังนี้ try { <statements>; } catch (Throwable1 t) { } catch (Throwable2 t) { } catch (Throwable3 t) { }
9
การทำงานของ Exception Handling
คำสั่งที่อยู่ใน try block นั้นจะทำงานตามปกติ หากทำงานจนจบ โดยไม่มีความผิดพลาดเกิดขึ้น ก็จะทำงานที่คำสั่งหลังcatch block สุดท้าย แต่ถ้าหากมี exception เกิดขึ้นใน try block โปรแกรมจะหยุดทำงานที่บรรทัดนั้น แล้วสร้าง instance ของ exception และ throws ไปยังตำแหน่งที่มีความผิดพลาด ถ้า คำสั่งที่มีความผิดพลาดนั้นมี catch block ที่มีค่าพารามิเตอร์ ตรงกับ exception ที่เกิดขึ้น คำสั่งใน catch block นั้นก็ถูก ทำงาน จากนั้นโปรแกรมจะทำงานในคำสั่งหลัง catch block สุดท้าย
10
การทำงานของ Exception Handling (ต่อ)
exception ที่ถูก throws ออกมาจากคำสั่งใน try block หากไม่มี catch block ดักจับ exception จะถูกส่งออกมาจากเมธอดที่เกิดความผิดพลาดไปยังเมธอด ที่เรียกใช้งาน ซึ่งเรียกว่า exception propagation ถ้าเมธอดที่เรียกใช้นั้นมีการ จับ exception ขบวนการจัดการก็สิ้นสุด แต่ถ้าไม่มีก็จะเกิด propagation ไป เรื่อย ๆ จนถ้า exception ออกจาก main แล้วก็จะถูก java จัดการ ดังนี้ พิมพ์ exception พิมพ์ activation stack เพื่อให้รู้ถึงจุดกำเนิดและเส้นทาง propagation หยุดการทำงานของ JVM
19
Throw Statements ใช้สำหรับการโยน exception ในตำแหน่งที่ต้องการออกมาออกมา throw จะตามด้วย instance ของ exception ที่จะถูกโยน หาก instance นั้นมีอยู่ก่อนก็สามารถโยนออกมาได้เลย แต่ถ้าไม่มีต้องทำการสร้างขึ้นมา ด้วยคำสั่ง new ก่อน คำสั่ง throw นั้นอาจอยู่ใน try block ที่มีการดักจับ exception หรือไม่ก็ อยู่ใน method ที่มีการระบุว่าจะส่ง exception นั้นออกมา
21
Method ที่มีการ Throws Exception
คือการระบุหรือคาดหมายว่า method นั้นจะมีการ throws exception ออกมา โดยเราจะใช้คำสั่ง throws หลังวงเล็บของ พารามิเตอร์ตามด้วย class ของ exception ที่อาจถูกโยน ออกมา
23
Finally block เป็นบล็อกที่มีหรือไม่มีก็ได้ แต่ถ้ามี มีได้เพียง 1 block เป็นบล็อกที่ทำงานเสมอ ไม่ว่าโปรแกรมจะผ่าน try หรือ catch block หรือไม่ try { <statements>; } catch (<parameter>) { <statements>; } finally { <statements>; }
26
Quiz
27
28
29
30
31
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.