งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารพัสดุ ของหน่วยงานภาครัฐ นำเสนอโดย นายอธิวัฒน์ โยอาศรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารพัสดุ ของหน่วยงานภาครัฐ นำเสนอโดย นายอธิวัฒน์ โยอาศรี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารพัสดุ ของหน่วยงานภาครัฐ นำเสนอโดย นายอธิวัฒน์ โยอาศรี
นำเสนอโดย นายอธิวัฒน์ โยอาศรี นักวิชาการพัสดุชำนาญการพิเศษ

2 ขอบเขตการบรรยาย กฎ ระเบียบ เกี่ยวกับการพัสดุ
1 ข้อควรรู้ เกี่ยวกับการพัสดุ 2 ขั้นตอนดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างแต่ละวิธี 3 บทบาทหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องด้านการพัสดุ 4

3 เป้าหมายการจัดซื้อจัดจ้าง
หน่วยงาน งบประมาณ กฎหมาย ระเบียบ เป้าหมายแผนงานโครงการ บรรลุวัตถุประสงค์ ความถูกต้อง เปิดเผย เป็นธรรม ตรวจสอบได้ ต้นทุนดำเนินการ/ประหยัด/คุ้มค่า ความพึงพอใจในหน่วยงาน

4 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ประเมินผล ปรับปรุงแก้ไข เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ผู้ต้องการใช้พัสดุ/งาน ผู้ดำเนินการจัดหา การจัดการ การติดตามประเมินผล Man Material Management จัดหาเพื่อให้ได้ตามความต้องการ ภายใต้กฎ ระเบียบ กำหนดความต้องการ/รายละเอียด

5 ผู้เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ
หัวหน้า เจ้าหน้าที่พัสดุ ส่วนราชการ ผู้มีอำนาจ อนุมัติ คณะกรรมการ ต่างๆ/ ผู้ควบคุมงาน ผู้ค้า สตง. ปปช. ประชาชน ปปท. สื่อมวลชน อื่นๆ ผู้มีส่วนได้เสีย

6 ต่างคน...ต่างทำหน้าที่ ถูกใจ ไม่ถูกต้อง ไม่ถูกใจ ถูกต้อง

7 กฎ ระเบียบ เกี่ยวกับการพัสดุ
1 องค์ความรู้ กฎ ระเบียบ เกี่ยวกับการพัสดุ

8 วิวัฒนาการของการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ระเบียบพัสดุ พ.ศ. 2498 ระเบียบพัสดุ พ.ศ. 2521 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 3 ก.พ. 58 เรื่อง การจัดหาพัสดุด้วยวิธี e-market และ e-bidding ระเบียบท้องถิ่น และ ข้อบังคับหน่วยงานอื่นๆ ของรัฐ พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ

9 การใช้บังคับ ระเบียบ 49 : ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ
ระเบียบ 35 : ส่วนราชการ การพัสดุ เงินงบประมาณ เงินกู้ เงินช่วยเหลือ ระเบียบ 49 : ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ การพัสดุ (เฉพาะการซื้อ การจ้าง การเช่าสังหาริมทรัพย์) ส่วนราชการ : เงินงบประมาณ เงินกู้ เงินช่วยเหลือ รัฐวิสาหกิจ / หน่วยงานอื่นของรัฐ : เงินที่หน่วยงานใช้ในการจัดซื้อจัดจ้าง ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีฯ : ส่วนราชการนำร่อง การพัสดุ (เฉพาะการซื้อ การจ้าง การเช่าสังหาริมทรัพย์) เงินงบประมาณ เงินกู้ เงินช่วยเหลือ

10 การซื้อ การพัสดุ การเช่า จัดทำเอง ที่ปรึกษา การ แลกเปลี่ยน การจ้าง
ออกแบบ ควบคุมงาน ที่ปรึกษา การซื้อ จัดทำเอง การพัสดุ

11 หลักการบริหารพัสดุหน่วยงานภาครัฐ

12 ระบบการเงินการคลังของหน่วยงาน
งบประมาณ พัสดุ บัญชี การเงิน

13 กฎ / ระเบียบ พัสดุ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535
และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e – market) และ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : : e – bidding) กฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง

14 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคา ต่อหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554 ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำและแสดงบัญชีรายรับรายจ่าย ของโครงการที่บุคคล หรือนิติบุคคลเป็นคู่สัญญากับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.2554 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

15

16 การจ้าง หมายความว่า การจ้างทำของ/ การรับขน/การจ้างเหมาบริการ
การจำแนกพัสดุที่จะซื้อ/หรือจะจ้าง “อะไรเป็นพัสดุ ที่ต้องจัดหาตามระเบียบฯ นี้ อะไรที่ต้องจัดหาด้วยวิธีซื้อ /วิธีจ้าง” การซื้อ หมายความว่า ซื้อพัสดุ ทั้งที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการที่เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ การจ้าง หมายความว่า การจ้างทำของ/ การรับขน/การจ้างเหมาบริการ การจ้างก่อสร้าง

17 ผู้ขายสินค้าได้มีการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของนั้นๆ ไว้แล้วตามตัวอย่าง /แค็ตตาล็อก เมื่อผู้ซื้อสั่งซื้อ ผู้ขายจะดำเนินผลิตตามตัวอย่าง/แค็ตตาล็อก นอกจากนี้ ผู้ซื้อยังสามารถให้ผู้ขายจัดทำรายการใดๆ เพิ่มเติมนอกเหนือไปจากรูปแบบในตัวอย่าง/แค็ตตาล็อกเป็นพิเศษอีกก็ได้ การซื้อ

18 การจ้าง การจ้าง หมายความว่า การจ้างทำของ/ การรับขน/การจ้างเหมาบริการ
การจ้าง หมายความว่า การจ้างทำของ/ การรับขน/การจ้างเหมาบริการ ผู้ว่าจ้างจะเป็นผู้ออกแบบคุณลักษณะเฉพาะของสิ่งของที่จะจ้างทำนั้นๆ ก่อน แล้วจึงจะนำแบบที่คิดไว้นั้นไปจ้างทำตามแบบที่ต้องการ แต่ไม่รวมถึง การจ้างลูกจ้างตามระเบียบของทางราชการ การรับขนในการเดินทางไปราชการตามกฎหมายว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ การจ้างที่ปรึกษา การจ้างแรงงานตามประมลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

19

20 ข้อควรรู้เกี่ยวกับการพัสดุ
2 องค์ความรู้ ข้อควรรู้เกี่ยวกับการพัสดุ

21 การบริหารงานด้านการพัสดุ
ประกอบด้วย บุคลากร

22 หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายงบประมาณ
1 2 รายจ่ายของ ส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ รายจ่ายงบกลาง คำนิยาม ระเบียบพัสดุ ข้อ 5 1.1 งบบุคลากร 1.2 งบดำเนินงาน 1.3 งบลงทุน 1.4 งบเงินอุดหนุน 1.5 งบรายจ่ายอื่น 1.2.1 ค่าตอบแทน 1.2.2 ค่าใช้สอย 1.2.3 ค่าวัสดุ 1.2.4 ค่าสาธารณูปโภค หนังสือที่ นร 0704/ว 68 ลว.29 เมษายน 2558 1.3.1 ค่าครุภัณฑ์ 1.3.2 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หนังสือที่ นร 0704/ว 37 ลว.6 มกราคม 2559

23 ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ตามหลักการจำแนกรายจ่ายงบประมาณ
คำนิยาม “พัสดุ” ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุฯ ข้อ 5 พัสดุ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง วัสดุ ครุภัณฑ์ ตามหลักการจำแนกรายจ่ายงบประมาณ

24 หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายงบประมาณ
อดีต ปัจจุบัน ครุภัณฑ์ ครุภัณฑ์ หลักการจำแนกประเภทรายจ่ายงบประมาณ ลักษณะของสิ่งของ หนังสือที่ นร 0704/ว 68 ลว.29 เมษายน 2558 หนังสือที่ นร 0704/ว33 ลว 18 มกราคม 2553 5,000 บาท หนังสือที่ นร 0704/ว 37 ลว.6 มกราคม 2559 วัสดุ วัสดุ วัสดุคงทุน วัสดุสิ้นเปลือง วัสดุอุปกรณ์และอะไหล่

25 หนังสือสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร 0704/ว 68 ลงวันที่ 29 เมษายน 2558
ค่าวัสดุ หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของที่มีลักษณะโดยสภาพ ไม่คงทนถาวร หรือตามปกติมีอายุการใช้งานไม่ยืนนาน สิ้นเปลือง หมดไป หรือเปลี่ยนสภาพในระยะเวลาอันสั้น รวมถึง รายจ่ายดังต่อไปนี้ (1) รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงวัสดุ (2) รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุด ไม่เกิน 20,000 บาท (3) รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของที่ใช้ในการซ่อมแซมบำรุงทรัพย์สินให้สามารถใช้งานได้ดีตามปกติ (4) รายจ่ายที่ต้องชำระพร้อมกับค่าวัสดุ เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น

26 หนังสือสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร 0704/ว 68 ลงวันที่ 29 เมษายน 2558
ค่าครุภัณฑ์ หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของที่มีลักษณะโดยสภาพคงทนถาวร หรือตามปกติมีอายุการใช้งานยืนนาน ไม่สิ้นเปลืองหมดไป หรือเปลี่ยนสภาพในระยะเวลาอันสั้น รวมถึง รายจ่ายดังต่อไปนี้ (1) รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ (2) รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกิน 20,000 บาท (3) รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะ เป็นต้น ซึ่งไม่รวมถึงค่าซ่อมบำรุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง (4) รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาในการจัดหาหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ (5) รายจ่ายที่ต้องชำระพร้อมกับค่าครุภัณฑ์ เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น

27 หนังสือสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร 0704/ว 68 ลงวันที่ 29 เมษายน 2558
ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง รวมถึงสิ่งต่างๆ ที่ติดตรึงกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง ดังต่อไปนี้ (1) รายจ่ายเพื่อจัดหาที่ดิน สิ่งก่อสร้าง (2) รายจ่ายเพื่อปรับปรุงที่ดิน รวมถึงรายจ่ายเพื่อดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงสิ่งก่อสร้าง ซึ่งทำให้ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง มีมูลค่าเพิ่มขึ้น (3) รายจ่ายเพื่อติดตั้งระบบไฟฟ้าหรือระบบประปา รวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นการติดตั้งครั้งแรกในอาคาร ทั้งที่เป็นการดำเนินการพร้อมกันหรือภายหลังการก่อสร้างอาคาร รวมถึงการติดตั้งครั้งแรกในสถานที่ราชการ (4) รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานที่จ่ายให้แก่เอกชนหรือนิติบุคคล (5) รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาในการจัดหาหรือปรับปรุงที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง (6) รายจ่ายเกี่ยวกับเนื่องกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดิน ค่าชดเชยผลอาสิน เป็นต้น

28 หนังสือสำนักงบประมาณ ที่ นร 0704/ว 37 ลงวันที่ 6 มกราคม 2559
ตัวอย่างแนบท้ายหนังสือเวียน สิ่งของที่จัดเป็นวัสดุ ประเภทวัสดุคงทน ได้แก่ สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะคงทน แต่ตามปกติมีอายุการใช้งานไม่ยืนนาน หรือเมื่อนำไปใช้งานแล้วเกิดความชำรุดเสียหาย ไม่สามารถซ่อมแซมให้ใช้งานได้ดังเดิม หรือซ่อมแซมแล้วไม่คุ้มค่า ประเภทวัสดุสิ้นเปลือง ได้แก่ สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะเมื่อใช้แล้วย่อมสิ้นเปลือง หมดไป แปรสภาพ หรือเปลี่ยนสภาพไปในระยะเวลาอันสั้นหรือไม่คงสภาพ ประเภทวัสดุอุปกรณ์ประกอบและอะไหล่ ได้แก่ สิ่งของที่เป็นอุปกรณ์ประกอบหรืออะไหล่สำหรับการซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สินให้กลับคืนสภาพดังเดิมที่มีลักษณะเป็นการซ่อมบำรุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง

29 + + หนังสือสำนักงบประมาณ ที่ นร 0704/ว 37 ลงวันที่ 6 มกราคม 2559
ครุภัณฑ์ ตัวอย่างแนบท้ายหนังสือเวียน + + สิ่งของที่โดยสภาพมีลักษณะคงทนถาวร มีอายุการใช้งานยืนนาน เมื่อชำรุดแล้วสามารถซ่อมแซมให้ใช้งานได้ดังเดิม

30 หลักการนโยบายบัญชีภาครัฐ
หมายถึง สินทรัพย์ที่หน่วยงานมีไว้เพื่อใช้ในการดำเนินงานตามปกติ โดยทั่วไปมีมูลค่าไม่สูง และไม่มีลักษณะคงทนถาวร วัสดุ ครุภัณฑ์ หมายถึง สินทรัพย์ที่หน่วยงานมีไว้เพื่อใช้ในการดำเนินงานมีลักษณะคงทนถาวร และมีอายุการใช้งานเกินกว่า 1 ปี มูลค่าตั้งแต่ 5,000 บาทขึ้นไป - บันทึกเป็นสินทรัพย์ถาวร - จัดทำทะเบียนคุมทรัพย์สิน - คำนวณค่าเสื่อมราคาประจำปี มูลค่าไม่ถึง 5,000 บาท - บันทึกเป็นค่าใช้จ่าย ประเภทค่าครุภัณฑ์ต่ำกว่าเกณฑ์ - จัดทำทะเบียนคุมทรัพย์สิน - ไม่ต้องคำนวณค่าเสื่อมราคาประจำปี หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค /ว 48 ลว.13 กย 49

31 ค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ
การเบิกจ่าย ค่าใช้จ่าย เบิกจ่ายจากงบดำเนินงาน ลักษณะค่าตอบแทนใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค หรืองบรายจ่ายอื่นที่เบิกจ่ายในลักษณะเดียวกัน ระเบียบ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ.2553 รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายในการบริหารงานประจำตามอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ หรือรายจ่ายที่เป็นผลสืบเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ ตามความจำเป็น เหมาะสม ประหยัด และเพื่อประโยชน์ของทางราชการ อำนาจหัวหน้าส่วนราชการ

32 ขั้นตอนดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างแต่ละวิธี
3 องค์ความรู้ ขั้นตอนดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างแต่ละวิธี

33 วิธีการซื้อหรือจ้าง (ปัจจุบัน)
วิธีการซื้อหรือจ้าง (ปัจจุบัน) 6 2 4 การซื้อหรือการจ้าง จ้างที่ปรึกษา จ้างออกแบบและควบคุมงาน วิธีตกลงราคา วิธีสอบราคา วิธีประกวดราคา วิธี e-Auction วิธีพิเศษ วิธีกรณีพิเศษ วิธีตกลง วิธีคัดเลือก วิธีตกลง วิธีคัดเลือก วิธีคัดเลือกแบบจำกัดข้อกำหนด วิธีพิเศษ e-market e-bidding ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e-market) และด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e-bidding)

34 คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ
คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) ยกเว้นการจัดหาพัสดุตามระเบียบสำนักนายกฯ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และแนวทางปฏิบัติแนบท้ายประกาศสำนักนายกฯ เกี่ยวกับการกำหนดวงเงินการจัดหาพัสดุ ตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) /ว 315 ลงวันที่ 16 สิงหาคม 2559  ว 315 สำหรับการจัดหาพัสดุในปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ออกไปพลางก่อนจนถึงวันที่ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดซื้อจัดจ้างฯ จะมีผลใช้บังคับ

35 การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ แบ่งออกเป็น 5 ระยะ คือ
แบบรูป รายการละเอียด แผนจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะพัสดุ เอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง วิธีการจัดหา เจ้าหน้าที่พัสดุ คณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง ผู้มีอำนาจ (ดำเนินการ/สั่งซื้อสั่งจ้าง) เจ้าหน้าที่พัสดุ คณะกรรมการรับพัสดุ คณะกรรมการตรวจการจ้าง/ผู้ควบคุมงาน หน่วยงานการเงิน หน่วยงานทดสอบวัสดุ วัสดุ/ครุภัณฑ์/ที่ดินสิ่งก่อสร้าง การรับ-เบิกจ่าย การตรวจสอบพัสดุประจำปี การจำหน่ายพัสดุ

36 ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง
จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้างตามระเบียบเสนอ หัวหน้าส่วนราชการ ดำเนินการจัดหาตามระเบียบฯ จนได้ตัว ผู้ชนะราคา ขออนุมัติสั่งซื้อ/สั่งจ้างจากผู้มีอำนาจ ตามระเบียบฯ ทำสัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง ควบคุมพัสดุ เจ้าหน้าที่พัสดุ เหตุผลความจำเป็นที่ต้องซื้อหรือจ้าง รายละเอียดของพัสดุที่จะซื้อ/งานที่จะจ้าง ราคามาตรฐาน หรือราคากลางของทางราชการ หรือราคาที่เคยซื้อหรือจ้างครั้งหลังสุดภายในระยะเวลา 2 ปีงบประมาณ วงเงินที่จะซื้อหรือจ้าง กำหนดเวลาที่ต้องการใช้พัสดุนั้น หรือให้งานแล้วเสร็จ วิธีที่จะซื้อหรือจ้าง ข้อเสนออื่นๆ รายละเอียด งบประมาณ เตรียมการ แบบรูปรายการ ราคากลาง แผนจัดซื้อจัดจ้าง รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ เอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง เป็นต้น ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง

37 ราคากลาง พัสดุ/บริการ ที่มีคุณภาพ คู่สัญญา ที่มีศักยภาพ คุณสมบัติ
ประโยชน์สูงสุด ที่ราชการ จะได้รับ ราชการ ไม่ซื้อ/จ้าง ราคาสูงเกินจริง งานซื้อ : รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ งานจ้าง : รายละเอียดของงาน งานก่อสร้าง : แบบรูป รายการละเอียด คุณสมบัติ ผู้เสนอราคา เงื่อนไข ในการจัดซื้อจัดจ้าง ราคากลาง สอดคล้องงบประมาณและความต้องการของผู้ใช้ / ไม่เกินความจำเป็น ไม่ขัดกับกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติ ครม. ที่เกี่ยวข้อง ความหมายชัดเจน ไม่กำกวม / ศัพท์เทคนิคหรือศัพท์เฉพาะ ให้อธิบายความให้ชัดเจน / มีความยืดหยุ่น กำหนดให้ผู้เสนอราคายื่นเอกสารสำหรับใช้ในการตรวจสอบ ให้ครบถ้วน ถูกต้องตามแนวทางปฏิบัติของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ถูกต้องตามมติ ครม.

38 ระเบียบฯ + หนังสือเวียน
เงื่อนไขในการจัดหา ดุลยพินิจ ของหน่วยงาน ระเบียบฯ + หนังสือเวียน กฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง การพิจารณาราคารวม / ราคาต่อรายการ / ราคาต่อหน่วย การยืนราคา การให้หรือขายเอกสาร / แบบรูป ระยะเวลาเข้าทำสัญญา การแบ่งงวดงาน/เงิน การส่งมอบงานข้ามงวด ฯลฯ ค่าปรับ การประกันความชำรุดบกพร่อง การจ่ายเงินล่วงหน้า หลักประกัน การยึดหลักประกันซอง เงื่อนไขตามตัวอย่างเอกสารประกวดราคา ของ กวพ. / กวพ.อ. ฯลฯ วิธีการรับจ่ายเงิน ตามประกาศ ปปช. งวดงาน/เงินต้องสัมพันธ์กัน ฯลฯ

39 การจัดทำ TOR และเงื่อนไขข้อกำหนด
หลักการ การกำหนดคุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือ ผู้เสนองาน และรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุหรืองานจ้าง ตลอดจนการวินิจฉัยตีความคุณสมบัติของผู้เสนอราคา หรือผู้เสนองาน แต่ละรายว่าเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้หรือไม่ เป็นอำนาจของหน่วยงานที่จัดหาพัสดุ สามารถใช้ดุลยพินิจกำหนดและวินิจฉัยได้ตามความต้องการของหน่วยงาน แต่ ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ตามที่กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกำหนดไว้

40

41 ผลของการกำหนด spec. spec. คุณสมบัติ เงื่อนไข
เอื้อประโยชน์ให้ ยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง (งานซื้อ) เอื้อประโยชน์ให้ ผู้ประกอบการรายใดรายหนึ่ง (งานจ้าง) ไม่จำเป็น ทำไม่ได้ จำเป็น ทำได้ ตามวิธีพิเศษ

42 ตัวอย่างการกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ

43 วิธีตกลงราคา (กรณีปกติ)
วิธีตกลงราคา (กรณีปกติ) เจ้าหน้าที่พัสดุ ติดต่อ รายงาน (27) เสนอราคา หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง สั่งซื้อ/จ้าง (39) เห็นชอบ (29) ส่งมอบของ/งาน คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ผู้ตรวจรับพัสดุ / ผู้ตรวจรับการจ้าง หัวหน้าส่วนราชการ

44 วิธีตกลงราคา (ข้อ 39 วรรคสอง)
วิธีตกลงราคา (ข้อ 39 วรรคสอง) ให้ จนท.พัสดุ/จนท.ผู้รับผิดชอบ ในการปฏิบัติงานนั้น จัดซื้อ/จ้างไปก่อนได้ หลักการ จำเป็น เร่งด่วน ไม่อาจคาดหมายไว้ก่อนล่วงหน้า ให้จัดทำรายงานขอซื้อ/จ้าง ขอความเห็นชอบหัวหน้าส่วนราชการในภายหลัง โดยมีสาระสำคัญเท่าที่จำเป็น ให้ใช้รายงานที่หัวหน้าส่วนราชการเห็นชอบนั้นเป็นหลักฐานการตรวจรับโดยอนุโลม

45 วิธีสอบราคา   เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ เผยแพร่การสอบราคา
รายงาน เจ้าหน้าที่พัสดุ ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ให้ความเห็นชอบ พร้อมแต่งตั้งกรรมการ จัดทำร่างประกาศและเอกสารสอบราคา เผยแพร่การสอบราคา การรับและเปิดซอง การพิจารณาผล การขออนุมัติ สั่งซื้อ/จ้าง การทำสัญญา

46 การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ
เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ (1) ทำรายงานขอซื้อขอจ้างเสนอหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อให้ความเห็นชอบพร้อมทั้งเสนอแต่งตั้ง “คณะกรรมการจัดซื้อ/จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ” (2) หัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบและอนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการ ตามที่เจ้าหน้าที่พัสดุเสนอ (3)แจ้งคำสั่งให้แก่คณะกรรมการ เพื่อดำเนินการตามระเบียบฯ (5)เสนอหัวหน้าส่วนราชการเพื่อพิจารณาสั่งการ (4) รายงานผลการพิจารณาและความเห็น พร้อมด้วยเอกสารที่ได้รับไว้ทั้งหมดโดยเสนอผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ

47 การจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ
เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ (1) ทำรายงานขอซื้อขอจ้างเสนอหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อให้ความเห็นชอบ (2) หัวหน้าส่วนราชการให้ความเห็นชอบ ติดต่อตกลงราคากับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง วงเงินเกิน 100,000 บาท หน.ส่วนราชการเป็นผู้สั่งซื้อหรือจ้าง วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท เป็นอำนาจของหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ภายใต้เงื่อนไข 1. เป็นผู้ทำ/ผลิตเอง และนายกรัฐมนตรีอนุมัติให้ซื้อหรือจ้าง 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี กำหนดให้ซื้อ/จ้าง ส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่น ประเภทสิทธิพิเศษ บังคับ ไม่บังคับ

48 วิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Market)
ข้อมูลสินค้า - รหัสสินค้า (UNSPSC) - คุณสมบัติ e-Catalog Market ผู้ค้า ประกาศ ผู้ค้า ตอบกลับ ประกาศ สินค้า - คุณสมบัติสินค้า - จำนวน ผู้ค้า - คุณสมบัติ ฯลฯ ใบเสนอราคา - สินค้า - ราคา ฯลฯ ส่วนราชการ ผู้ชนะการเสนอราคา

49 วิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-Bidding)
ประชาชนทั่วไป ผู้ค้า เสนอราคา ส่วนราชการ เผยแพร่/วิจารณ์ ประกาศ จัดทำ ร่างประกาศ ประกวดราคาฯ ประกาศ ประกวดราคาฯ พิจารณาผล ประกาศผู้ชนะ

50 4 องค์ความรู้ บทบาทหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องด้านการพัสดุ

51 ผู้เกี่ยวข้องในการจัดหาพัสดุ
หัวหน้า เจ้าหน้าที่พัสดุ เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้มีอำนาจ อนุมัติ หัวหน้า ส่วนราชการ คณะกรรมการ ต่างๆ/ ผู้ควบคุมงาน

52 อำนาจหัวหน้าส่วนราชการตามระเบียบพัสดุ
ดำเนินการ ให้ความเห็นชอบ รายงานขอซื้อ / จ้าง /เช่า / ... แต่งตั้งคณะกรรมการต่างๆ และผู้ควบคุมงาน เกี่ยวกับสัญญาหรือ ข้อตกลงเป็นหนังสือ ลงนามก่อนิติสัมพันธ์ แก้ไข เปลี่ยนแปลง การงดหรือลดค่าปรับ หรือการขยายเวลาทำการ การเลิกสัญญา พิจารณา สั่งการเกี่ยวกับ การตรวจรับพัสดุ การตรวจการจ้าง การควบคุมงาน - ฯ - สั่งซื้อสั่งจ้าง

53 คณะกรรมการในการจัดหาพัสดุแต่ละวิธีเพื่อให้ทำหน้าที่ตามที่ระเบียบกำหนด
วิธีจัดหา คณะกรรมการ หน้าที่ 1. วิธีสอบราคา คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา ระเบียบฯ ข้อ 42 2. วิธีประกวดราคา -คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา -คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา ระเบียบฯ ข้อ 49 ระเบียบฯ ข้อ 50 3. วิธีพิเศษ -คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ -คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ ระเบียบฯ ข้อ 57 ระเบียบฯ ข้อ 58 4. ทุกวิธี คณะกรรมการตรวจรับพัสดุใช้กับงานซื้อ/จ้างทำของ ระเบียบฯ ข้อ 71 คณะกรรมการตรวจการจ้างใช้กับงานจ้างก่อสร้าง ระเบียบฯ ข้อ 72 คณะกรรมการกำหนดราคากลาง (งานก่อสร้าง) มติ ครม. 13 มี.ค.55 5. วิธี e-bidding คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ ประกาศสำนักนายกฯ ข้อ 37 6. จ้างที่ปรึกษา คณะกรรมการจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีตกลง/คัดเลือก ระเบียบฯ ข้อ 84 ระเบียบฯ ข้อ 88

54 องค์ประกอบของคณะกรรมการ
(1) ประธาน 1 คน (2) กรรมการอย่างน้อย 2 คน แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ (ระเบียบฯ ข้อ 34) โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบเป็นสำคัญ (3) เพื่อประโยชน์ราชการจะแต่งตั้งกรรมการอื่นตามข้อ (2) เพิ่มได้อีกไม่เกิน 2 คน ให้แต่งตั้งจากผู้มีความรู้/ ชำนาญ ในงานซื้อ,งานจ้างนั้น เข้าร่วมเป็นกก. แต่งตั้งจากลูกจ้างประจำได้ (ตามหนังสือ ว 417 ลงวันที่ 22 ตุลาคม 2553) ข้อยกเว้นการตรวจรับคนเดียว การซื้อหรือจ้าง ไม่เกิน 10,000 บาท เพื่อตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง ให้ข้าราชการ/ลูกจ้างประจำที่มิใช่ ผู้จัดซื้อจัดจ้าง เป็นผู้ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง (ข้อ 35 วรรคท้าย) กรณีมหาวิทยาลัย ให้พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นกรรมการ หรือผู้ตรวจรับพัสดุ/งานจ้างได้ กรณีส่วนราชการอื่น ให้พนักงานราชการเป็นผู้ตรวจรับพัสดุ/งานจ้างได้

55 การลงมติของคณะกรรมการ
วันลงมติ ประธาน/และกรรมการ ต้องมาประชุมลงมติ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด การลงมติ ให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าเท่ากัน ให้ประธานออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงชี้ขาด เว้นแต่ คกก.ตรวจรับพัสดุ/งานจ้าง ให้ถือมติเอกฉันท์ กรรมการคนใดที่ไม่เห็นด้วยกับมติของคณะกรรมการ - ให้ทำบันทึกความเห็นแย้งไว้ด้วย

56 กรณีประธานไม่มาปฏิบัติหน้าที่
เมื่อถึงกำหนดเวลาเปิดซองสอบราคา หรือรับซองประกวดราคาให้กรรมการที่มาเลือกกรรมการคนหนึ่งทำหน้าที่ประธาน โดยให้ถือปฏิบัติหน้าที่เฉพาะข้อ 42(1) หรือข้อ 49 แล้วรายงานประธาน

57 หน้าที่คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ 42)
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา หน้าที่คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ 42) ขั้นที่ 1 ตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ประกาศชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบ ขั้นที่ 2 เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน + อ่านแจ้งราคา บัญชีรายการเอกสารหลักฐาน + ลงชื่อกำกับ ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา แคตตาล็อกหรือแบบรูปรายการละเอียด แล้วคัดเลือก ผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตามเงื่อนไขในเอกสารสอบราคา

58 หน้าที่คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ 42)
ขั้นที่ 3 คัดเลือกพัสดุหรืองานจ้างที่ผ่านขั้นตอนที่ 2 ที่มีคุณภาพและคุณสมบัติเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ ** หนังสือ ที่ นร (กวพ) 0901/ว 48 ลว. 14 ก.ค. 29 การคัดเลือกคุณภาพและคุณสมบัติดังกล่าว มุ่งหมายถึง การพิจารณาจากเกณฑ์ในส่วนที่ ไม่สามารถกำหนดไว้เป็นเงื่อนไขในประกาศ **

59 หน้าที่คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ 42)
ขั้นที่ 4 เสนอให้ซื้อหรือจ้างจากรายที่คัดเลือกไว้แล้วซึ่งเสนอราคาต่ำสุด รายที่เลือกไม่ยอมเข้าทำสัญญา ให้พิจารณารายต่ำถัดไป ราคาเท่ากันหลายราย ให้ผู้ที่เสนอราคาดังกล่าวยื่นซองใหม่ ข้อสังเกต ถูกต้องตามเอกสารสอบราคารายเดียว ให้ดำเนินการตามขั้นที่ 3 โดยอนุโลม ขั้นที่ 5 รายงานผลและความเห็น ต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อสั่งการ

60 กรณีเกินวงเงิน (ข้อ 43) เรียกรายต่ำสุดมาต่อรองให้อยู่ในวงเงินหรือสูงกว่า ไม่เกิน 10 % ให้เสนอซื้อ/จ้าง ถ้าไม่ได้ผลให้เรียกทุกรายมายื่นซองใหม่ - กำหนดเวลา - รายใดไม่มายื่นซอง ให้ถือว่ารายนั้นยื่นราคาที่เสนอไว้เดิม - ผู้เสนอราคาต่ำสุด <10% ให้เสนอซื้อ/จ้าง ถ้าเกิน 10% ต่อรองผู้เสนอราคาทุกรายอีกครั้งหนึ่ง 3) ถ้าไม่ได้ผลอีก ให้เสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อ ** ขอลดรายการ ลดจำนวน หรือลดเนื้องาน ** ขอเงินเพิ่มเติม ** ยกเลิกการสอบราคา

61 ข้อควรรู้ เรื่องการต่อรองราคาตามข้อ 43
ในหลักการ/คณะกรรมการเปิดซองสอบราคาจะดำเนินการต่อรองราคากับผู้เสนอราคารายต่ำสุด แต่ราคาที่เสนอสูงกว่าวงเงินงบประมาณ เกินร้อยละ 10 ตามลำดับในข้อ 43 (1)-(3) แต่ถ้าถึงกรณีใน(3) ต่อรองแล้วไม่ได้ผล การเสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการว่าสมควรจะ ลดรายการ ลดจำนวน หรือลดเนื้องานหรือขอเงินเพิ่ม/หรือยกเลิกเพื่อสอบราคา/ประกวดราคาใหม่/ หากเสนอลดรายการ-จำนวน-เนื้องานลง เป็นผลให้ราคารวมของผู้เสนอราคาต่ำสุดเปลี่ยนแปลงไปจากบริษัท ก เป็น ข. ย่อมเสนอลดรายการไม่ได้ เพราะเกิดการได้เปรียบเสียเปรียบกัน

62 การจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ หน้าที่คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ (ข้อ 57)
เงื่อนไข (ข้อ 23) วิธีการ (ข้อ 57) 1. ขายทอดตลาด เจรจาตกลงราคา 2. เร่งด่วน ช้าเสียหาย 3. พัสดุใช้ในราชการลับ เชิญผู้มีอาชีพขายโดยตรงมาเสนอราคา 4. ซื้อเพิ่ม (Repeat Order) เจรจากับผู้ขายรายเดิม เงื่อนไขราคาเดิมหรือดีกว่า 5. ซื้อจากต่างประเทศ สั่งตรงโดยให้หน่วยงานอื่นในต่างประเทศสืบราคาให้ 6. จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจำหน่าย มาเสนอราคาและต่อรอง 7. ซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เชิญเจ้าของมาตกลงราคา 8. ใช้วิธีอื่นไม่ได้ผลดี สืบราคาจากผู้มีอาชีพขายและผู้เสนอราคาที่ยกเลิก (ถ้ามี) ต่อรองราคา

63 การซื้อหรือจ้างในต่างประเทศ
ส่วนราชการในต่างประเทศ ส่วนราชการที่มีกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติในต่างประเทศ จะซื้อหรือจ้าง “โดยวิธีพิเศษ” ก็ได้ โดยให้ติดต่อซื้อหรือจ้างกับผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้างทำงานนั้นโดยตรง ระเบียบ 2535 ข้อ 25

64 การจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ หน้าที่คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ (ข้อ 57)
เงื่อนไข (ข้อ 24) วิธีการ (ข้อ 58) 1. ช่างฝีมือ/ชำนาญการ 2. จ้างซ่อมพัสดุที่จำเป็นต้องถอดตรวจ 3. เร่งด่วน ช้าเสียหาย 4. ปกปิดเป็นความลับของทางราชการ เชิญผู้มีอาชีพรับจ้างโดยตรงมาเสนอราคา 5. จ้างเพิ่ม (Repeat Order) เจรจากับผู้รับจ้างรายเดิม เงื่อนไขราคาเดิมหรือดีกว่า 6. ใช้วิธีอื่นไม่ได้ผลดี สืบราคาจากผู้มีอาชีพรับจ้างอื่นเปรียบเทียบและผู้เสนอราคาในการสอบราคาหรือประกวดราคาซึ่งถูกยกเลิกไป (ถ้ามี)

65 การซื้อหรือจ้างโดยวิธี e-bidding
คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ 1. ดำเนินการรับเอกสารเสนอราคา ผ่านทางระบบ e-GP เท่านั้น เว้นแต่กรณีการซื้อหรือจ้างที่มีความจำเป็นโดยสภาพของการซื้อหรือจ้างที่ต้องให้ผู้เสนอราคานำพัสดุมาแสดงเพื่อทดลองหรือทดสอบ คณะกรรมการฯ ต้องรับพัสดุ รับฟังคำชี้แจง หรือทดสอบพัสดุ ตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนดในประกาศ โดยต้องจัดทำบันทึกการนำพัสดุมาแสดงหรือการชี้แจงรายละเอียดเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ทุกครั้ง

66 การซื้อหรือจ้างโดยวิธี e-bidding
คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (2) เมื่อพ้นกำหนดเวลารับเอกสารแล้ว ห้ามคณะกรรมการฯ รับเอกสาร และพัสดุตัวอย่าง ตามเงื่อนไขในประกาศฯ จากผู้เสนอราคา ยกเว้น กรณีตามระเบียบสำนักนายกฯ พ.ศ.2535 ข้อ 16 (9) (3) คณะกรรมการฯ ต้องเก็บเอกสารการเสนอราคาของผู้เสนอราคาทุกรายเป็นความลับ และห้ามเปิดเผยเอกสารดังกล่าว ต่อผู้มิได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างครั้งนั้น หรือต่อผู้เสนอราคารายอื่น

67 การซื้อหรือจ้างโดยวิธี e-bidding
คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (4) คณะกรรมการฯ จัดพิมพ์เอกสารการเสนอราคาของผู้เสนอราคาทุกราย ผ่านทางระบบ e-GP จำนวน 1 ชุด โดยให้กรรมการทุกคนลงลายมือชื่อกำกับไว้ในเอกสารการเสนอราคาทุกแผ่น (5) ตรวจสอบเอกสาร และพัสดุตัวอย่าง (ถ้ามี) ของผู้เสนอราคา แล้วคัดเลือกผู้เสนอราคาที่ยื่นเอกสารครบถ้วน มีคุณสมบัติและข้อเสนอถูกต้องตามเงื่อนไขที่ส่วนราชการกำหนด ซึ่งในกระบวนการพิจารณา คณะกรรมการอาจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้เสนอราคารายใดก็ได้ แต่จะให้ผู้เสนอราคาเปลี่ยนแปลงสาระสำคัญที่เสนอไว้แล้วมิได้

68 การซื้อหรือจ้างโดยวิธี e-bidding
คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (6) พิจารณาคัดเลือกสิ่งของหรืองานจ้างตามคุณสมบัติของผู้เสนอราคาที่ตรวจสอบแล้ว และตามหลักเกณฑ์การพิจารณา (Price หรือ Price Performance) แล้วเสนอให้ซื้อหรือจ้างจากผู้เสนอราคาต่ำสุด หรือ ผู้เสนอราคาที่ได้คะแนนรวมสูงสุด

69 คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์

70 ให้ยกเลิก ต่อรองราคา ให้ยกเลิก
มีผู้เสนอราคารายเดียว ผ่านการคัดเลือกเพียงรายเดียว ต่อรองราคา คณะกรรมการฯ เห็นสมควรดำเนินการต่อไป ให้ยกเลิก ไม่มีผู้เสนอราคา หรือ มีแต่ไม่ถูกต้อง

71

72

73 การจัดทำและเผยแพร่ราคากลางการจัดซื้อจัดจ้างของทางราชการ

74 แนวทางปรับปรุงการเปิดเผยราคากลาง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 ส. ค
แนวทางปรับปรุงการเปิดเผยราคากลาง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 ส.ค. 2556 สำหรับการจัดซื้อจัดจ้างที่มีวงเงินเกิน 100,000 บาท ให้หน่วยงาน ของรัฐ ประกาศราคากลาง และรายละเอียดการคำนวณราคากลางไว้ในเว็บไซต์ของหน่วยงาน และ เว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ( สำหรับคู่มือแนวทางการเปิดเผยรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ของ สำนักงาน ป.ป.ช. สามารถดาวน์โหลดได้ที่

75 ให้เปิดเผยราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ
ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว 90 ลงวันที่ 22 สิงหาคม 2555

76 ให้ใช้ราคามาตรฐานที่สำนักงบประมาณกำหนด
แนวทางการเปิดเผยราคากลาง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 ส.ค. 56 และหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว 111 ลว. 17 ก.ย. 56 ครุภัณฑ์ ให้ใช้ราคามาตรฐานที่สำนักงบประมาณกำหนด 1 หากไม่มี ให้ใช้ราคาที่เคยซื้อครั้งหลังสุดภายใน ระยะเวลา ๒ ปี หรือ ให้ใช้ราคาตลาด โดยสืบราคาจากท้องตลาด รวมทั้ง เว็บไซต์ต่างๆ 2 ทั้งนี้ ให้พิจารณาจากความเหมาะสมของประเภทครุภัณฑ์ และเป็นประโยชน์ ต่อทางราชการ

77 แนวทางการเปิดเผยราคากลาง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 ส. ค
แนวทางการเปิดเผยราคากลาง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 ส.ค. 56 และหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว 111 ลว. 17 ก.ย. 56 ยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา ให้ใช้ราคาตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ. 2551 ยาในบัญชียาหลัก 1 ยานอกบัญชี ยาหลัก หากไม่มีให้ใช้ให้ใช้ราคาที่เคยซื้อครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี 2 หากไม่มีให้ใช้ราคาตลาด โดยสืบราคา รวมถึงเว็บไซต์ต่างๆ 3 ให้ใช้ราคามาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุข 1 เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา หากไม่มีให้ใช้ราคาที่เคยซื้อครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี 2 หากไม่มีให้ใช้ราคาตลาด โดยสืบราคา รวมถึงเว็บไซต์ต่างๆ 3

78 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวทางการเปิดเผยราคากลาง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 ส.ค. 56 และหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว 111 ลว. 17 ก.ย. 56 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การพัฒนาซอฟต์แวร์ ประเภทโปรแกรมประยุกต์ ให้ใช้ราคาตามที่ ICT กำหนด หรือให้ใช้ราคาตลาด โดยการสืบจากท้องตลาด รวมทั้งเว็บไซต์ต่างๆ รายการอื่นๆ ให้ใช้ราคาตลาด โดยสืบราคา รวมทั้งเว็บไซต์ต่างๆ

79 แนวทางการเปิดเผยราคากลาง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 ส. ค
แนวทางการเปิดเผยราคากลาง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 6 ส.ค. 56 และหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว 111 ลว. 17 ก.ย. 56 ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ที่ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะกำหนด การจ้างที่ปรึกษา 1 หากไม่มี ให้พิจารณาจากคุณวุฒิการศึกษา และประสบการณ์ของที่ปรึกษาเป็นสำคัญ 2 การจ้างงานวิจัย หรือให้ทุนการวิจัย ให้พิจารณาจากคุณวุฒิการศึกษา และประสบการณ์ของที่ปรึกษาเป็นสำคัญ การจ้างออกแบบ และควบคุมงาน ให้ใช้อัตราตามระเบียบว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม หรือของหน่วยงานนั้นๆ กำหนด

80 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับ การจัดทำราคากลางวัสดุ
ไม่มีแนวทางกำหนด ใช้แนวทางตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว 111 ลงวันที่ 17 กันยายน 2556 มาใช้โดยอนุโลม

81 ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร และราคากลางในงานจ้างก่อสร้าง
ตาราง ปปช. ๐๑ ๑. ชื่อโครงการ ………………………………………………………………………………………… ……………… /หน่วยงานเจ้าของโครงการ ๒. วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร บาท ๓. ลักษณะงาน โดยสังเขป ๔. ราคากลางคำนวณ ณ วันที่ เป็นเงิน บาท ๕. บัญชีประมาณการราคากลาง ๕.๑ ๕.๒ ๖. รายชื่อคณะกรรมการกำหนดราคากลาง ๖.๑ ๖.๒ ๖.๓

82 ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับและรายละเอียด
ตาราง ปปช. ๐๒ ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับและรายละเอียด ค่าใช้จ่ายในการจ้างควบคุมงาน ๑. ชื่อโครงการ ………………………………………………………………………………………… ………… ………….…………….. /หน่วยงานเจ้าของโครงการ ๒. วงเงินงบประมาณที่ได้รับ บาท ๓. วันที่กำหนดราคากลาง (ราคาอ้างอิง) เป็นเงิน บาท ๔. ค่าตอบแทนบุคลากร บาท ๔.๑ ระดับหัวหน้าโครงการ คน ๔.๒ ระดับผู้ดำเนินงาน คน ๔.๓ ระดับผู้ช่วย คน ๕. ค่าวัสดุอุปกรณ์ (ถ้ามี) บาท ๖. ค่าใช้จ่ายอื่น (ถ้ามี) บาท ๗. รายชื่อผู้รับผิดชอบในการกำหนดค่าใช้จ่าย/ดำเนินการ/ขอบเขตดำเนินการ (TOR) ๗.๑ ๗.๒ ๘. ที่มาของการกำหนดราคากลาง ๘.๑ ๘.๒

83 ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและ
ตาราง ปปช. ๐๓ ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและ รายละเอียดค่าใช้จ่ายในการจ้างออกแบบ ๑. ชื่อโครงการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………….. /หน่วยงานเจ้าของโครงการ ๒. วงเงินงบประมาณที่ได้รับ บาท ๓. วันที่กำหนดราคากลาง เป็นเงิน บาท ๔. ค่าตอบแทนบุคคลากร บาท ๔.๑ ระดับหัวหน้าโครงการ คน ๔.๒ ระดับผู้ดำเนินงาน คน ๔.๓ ระดับผู้ช่วย คน ๕. ค่าวัสดุอุปกรณ์ บาท ๖. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ บาท ๗. รายชื่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ (ผู้รับผิดชอบ) ในการกำหนดค่าใช้จ่าย/การดำเนินการ/ขอบเขตดำเนินการ (TOR) ๗.๑ ๗.๒ ๘. ที่มาของการกำหนดราคากลาง (ราคาอ้างอิง) ๘.๑ ๘.๒

84 ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและ
ตาราง ปปช. ๐๔ ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและ รายละเอียดค่าใช้จ่ายในการจ้างที่ปรึกษา ๑. ชื่อโครงการ ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……..…………………………………………………………….. /หน่วยงานเจ้าของโครงการ ๒. วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร บาท ๓. วันที่กำหนดราคากลาง(ราคาอ้างอิง) เป็นเงิน บาท ๔. ค่าตอบแทนบุคคลากร บาท ๔.๑ ประเภทที่ปรึกษา ๔.๒ คุณสมบัติที่ปรึกษา ๔.๓ จำนวนที่ปรึกษา คน ๕. ค่าวัสดุอุปกรณ์ บาท ๖. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปต่างประเทศ (ถ้ามี) บาท ๗. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ บาท ๘. รายชื่อผู้รับผิดชอบในการกำหนดค่าใช้จ่าย/ดำเนินการ/ขอบเขตดำเนินการ (TOR) ๘.๑ ๘.๒ ๙. ที่มาของการกำหนดราคากลาง(ราคาอ้างอิง) ๙.๑ ๙.๒

85 ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและรายละเอียด
ตาราง ปปช. ๐๕ ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและรายละเอียด ค่าใช้จ่ายในการจ้างงานวิจัยหรือสนับสนุนให้ทุนการวิจัย ๑. ชื่อโครงการ ………………………………………………………………………………………………………………...………….…………….……………………………………………………………. /หน่วยงานเจ้าของโครงการ ๒. วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรในการจ้างหรือเงินสนับสนุนให้ทุนการวิจัย บาท ๓. วันที่กำหนดราคากลาง เป็นเงิน บาท ๔. หมวดค่าตอบแทน บาท ๔.๑ ประเภทนักวิจัย ๔.๒ คุณสมบัตินักวิจัย ๔.๓ จำนวนนักวิจัย คน ๕. หมวดค่าจ้าง บาท ๖. หมวดค่าใช้สอย บาท ๗. ค่าวัสดุ บาท ๘. ค่าครุภัณฑ์ บาท ๙. ค่าใช้จ่ายในการศึกษาดูงานหรือค้นคว้าข้อมูลในต่างประเทศ (ถ้ามี) ๙.๑ จำนวน คน ๙.๒ จำนวน บาท ๑๐. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ บาท ๑๑. รายชื่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ(ผู้รับผิดชอบ) ที่เกี่ยวกับการจ้างงานวิจัยหรือสนับสนุนทุนวิจัยและ TOR ๑๒. ที่มาของการกำหนดราคากลาง (ราคาอ้างอิง)

86 ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและรายละเอียดค่าใช้จ่าย
ตาราง ปปช. ๐๖ ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและรายละเอียดค่าใช้จ่าย ในการจ้างพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ๑. ชื่อโครงการ ……………………………………………………………………………………………………………….… ………… /หน่วยงานเจ้าของโครงการ ๒. วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร บาท ๓. วันที่กำหนดราคากลาง(ราคาอ้างอิง) เป็นเงิน บาท ๔. ค่า Hardware บาท ๕. ค่า Software บาท ๖. ค่าพัฒนาระบบ บาท ๗. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ บาท ๘. รายชื่อผู้รับผิดชอบในการกำหนดค่าใช้จ่าย/ดำเนินการ/ขอบเขตดำเนินการ (TOR) ๘.๑ ๘.๒ ๘.๓ ๙. ที่มาของการกำหนดราคากลาง(ราคาอ้างอิง) ๙.๑ ๙.๒ ๙.๓

87 ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและราคากลาง
ตาราง ปปช. ๐๗ ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและราคากลาง (ราคาอ้างอิง) ในการจัดซื้อจัดจ้างที่มิใช่งานก่อสร้าง ๑. ชื่อโครงการ ……………………………………………………………………………………………………………………….…………….…………… /หน่วยงานเจ้าของโครงการ ๒. วงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรร บาท ๓. วันที่กำหนดราคากลาง(ราคาอ้างอิง) เป็นเงิน บาท ราคา/หน่วย(ถ้ามี) บาท ๔. แหล่งที่มาของราคากลาง(ราคาอ้างอิง) ๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๕. รายชื่อเจ้าหน้าที่ผู้กำหนดราคากลาง(ราคาอ้างอิง) ทุกคน ๕.๑ ๕.๒ ๕.๓

88 การเปิดเผยราคากลางในระบบ e-GP
2. ระยะเวลาที่ประกาศราคากลาง 2.1 การจัดหาที่มีการแข่งขันที่ต้องประกาศเชิญชวน ประกอบด้วย วิธีสอบราคา ประกวดราคา ประกวดราคาด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ การจ้างออกแบบและ ควบคุมโดยวิธีคัดเลือก การจ้างออกแบบและควบคุมโดยวิธีคัดเลือกแบบจำกัด ข้อกำหนด และการจ้างออกแบบและควบคุมโดยวิธีพิเศษแบบประกวดแบบ (1) กรณีมีการประกาศ tor ให้ประกาศพร้อมกับการประกาศ tor (2) กรณีไม่มีการประกาศ tor ให้ประกาศพร้อมกับการประกาศจัดซื้อจัดจ้าง ระยะเวลาปลดประกาศ เมื่อหน่วยงานของรัฐได้ดำเนินการประกาศรายละเอียดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดซื้อ จัดจ้าง ราคากลาง และการคำนวณราคากลาง หน่วยงานของรัฐอาจปลดประกาศได้ดังนี้ 1. เมื่อผู้มีอำนาจอนุมัติการสั่งซื้อสั่งจ้างได้มีคำสั่งรับคำเสนอซื้อหรือจ้างแล้ว หรือ 2. เมื่อพ้น 30 วัน นับแต่วันที่คณะกรรมการพิจารณาผลหรือผู้มีอำนาจหน้าที่พิจารณาผลเสนอความเห็นต่อผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง ทั้งนี้ แล้วแต่ระยะเวลาใดถึงกำหนดก่อน

89 การเปิดเผยราคากลางในระบบ e-GP
2. ระยะเวลาที่ประกาศราคากลาง 2.2 การจัดหาที่ไม่มีการประกาศเชิญชวน : (1) ให้ประกาศภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันที่ผู้มีอำนาจได้ให้ความเห็นชอบหรือ อนุมัติรายงานขอซื้อขอจ้าง (2) กรณีไม่มีรายงานขอซื้อขอจ้างให้ประกาศภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันอนุมัติ การจัดซื้อจัดจ้าง หรืออนุมัติให้เงินสนับสนุนทุนการวิจัย (3) ในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย หรือเหตุจำเป็นอื่นอันมิอาจก้าวล่วงได้ อันเป็นเหตุให้ ไม่สามารถดำเนินการตามข้างต้นได้ ให้ประกาศภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีการจัดซื้อจัดจ้าง กรณีนี้หน่วยงานของรัฐอาจนำใบสั่งซื้อสั่งจ้างหรือเอกสารซึ่งมีรายการแสดงเกี่ยวกับรายละเอียดค่าใช้จ่ายดังกล่าวแนบพร้อมกับการประกาศด้วยก็ได้ ระยะเวลาปลดประกาศ ให้หน่วยงานของรัฐประกาศเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน ดังนั้น อาจปลดประกาศ เมื่อได้ประกาศครบ 30 วัน แล้ว

90 Q หลักเกณฑ์การจัดทำราคากลาง หากเป็นงานประชาสัมพันธ์หรืองานโครงการ จะต้องทำราคากลางอย่างไร จะต้องแจกราคาเป็นราคาต่อรายการด้วยหรือไม่

91 A การจ้างให้จัดทำกิจกรรมหรือจัดงาน อาจระบุราคาในแต่ละรายการตามขอบเขตการดำเนินงาน ตามตัวอย่างดังต่อไปนี้ (1) งานเวที แสง สี เสียง และการแสดง (2) งานสถานที่ พร้อมการตกแต่งสถานที่ (3) งานออกแบบ ติดตั้งบูท บอร์ด นิทรรศการ (4) งานประชาสัมพันธ์ (5) งานอภิปราย เสวนา (6) งานบันทึกภาพ และเสียง (7) ค่าเอกสารประกอบการจัดกิจกรรม (8) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นต้น

92 A แหล่งที่มาของราคากลาง ให้ระบุแหล่งที่มาของราคาหรือวิธีคำนวณราคาที่ใช้ในการจัดซื้อจัดจ้างตามแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานของรัฐนั้นๆ เช่น กรณีส่วนราชการอาจใช้วิธีการคำนวณราคาตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีหรือกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังกำหนด

93 การตรวจรับพัสดุ และงานจ้าง

94 งานซื้อ/จ้างทำของ งานก่อสร้าง
กก.ตรวจรับพัสดุ งานซื้อ/จ้างทำของ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ กก.ตรวจการจ้าง งานก่อสร้าง คณะกรรมการการจ้าง + ผู้ควบคุมงาน ห้ามแต่งตั้งคณะกรรมการเปิดซองสอบราคา หรือคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา หรือคณะกรรมการประกวดราคา เป็น คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ

95 ส่วนราชการจะแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ เป็นคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ได้หรือไม่ ตามหลักการของระเบียบฯ พัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม กำหนดให้ ในการซื้อหรือการจ้างครั้งเดียวกัน ห้ามแต่งตั้งกรรมการพิจารณาผลประกวดราคาเป็นกรรมการตรวจรับพัสดุ ดังนั้น กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ จึงไม่สามารถเป็นกรรมการตรวจรับพัสดุ ได้        สำหรับการแต่งตั้งกรรมการพิจารณาผลประกวดราคาเป็นกรรมการตรวจการจ้าง นั้น ถึงแม้จะไม่ขัดต่อหลักการระเบียบฯ ส่วนราชการก็จะต้องพิจารณาถึงความจำเป็น เหมาะสม และเพื่อประโยชน์ของทางราชการเป็นสำคัญ  เนื่องจากปัจจุบันบุคลากรของหน่วยงานภาครัฐที่มีความรู้ความสามารถทางด้านวิศวกรรม หรือสถาปัตยกรรม มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ถาม-ตอบ จาก

96 การตรวจรับพัสดุ คู่สัญญาซื้อขาย แจ้งกำหนดส่งมอบล่วงหน้าตามเวลาที่กำหนด
แจ้งกรรมการ เจ้าหน้าที่พัสดุ คณะกรรมการ ตรวจรับ ส่งพัสดุให้เจ้าหน้าที่พัสดุ ถูกต้องรับไว้ ทำใบตรวจรับ ทำการตรวจรับ ในวันนัดหมาย ไม่ถูกต้อง คืนส่งมอบใหม่ ผู้ขาย

97

98 การตรวจรับงานจ้างก่อสร้าง ไม่ถูกต้อง รายงานหัวหน้าส่วนราชการ
ผู้ควบคุม งานก่อสร้าง คณะกรรมการ ตรวจการจ้าง รายงานกรรมการ ตรวจผลงานที่ส่งมอบ ถูกต้องรับงาน ทำใบตรวจรับ ทำการตรวจรับ ภายใน 3 วัน ไม่ถูกต้อง รายงานหัวหน้าส่วนราชการ

99 ผู้เกี่ยวข้องดำเนินการตามสั่ง จนท.พัสดุดำเนินการต่อ
ขั้นตอนในการตรวจการจ้าง ผู้รับจ้างส่งงาน ผู้ควบคุมงานตรวจสอบ ประธานฯ นัด เริ่มดำเนินการใหม่ ผู้รับจ้างแก้ไข คณะกรรมการตรวจสอบ ไม่ถูกต้อง ไม่แล้วเสร็จ หน.ส่วนราชการทราบ กรรมการที่ไม่เห็นด้วย ทำบันทึกแย้ง ถูกต้องแล้วเสร็จ รับรองผลงาน ผู้เกี่ยวข้องดำเนินการตามสั่ง สั่งการให้รับได้ หน.ส่วนราชการสั่งการ จนท.พัสดุดำเนินการต่อ สั่งการเป็นอย่างอื่น จบขั้นตอน

100 ระยะเวลาในการตรวจการจ้างงานก่อสร้าง และการตรวจรับพัสดุ
ระยะเวลาในการตรวจการจ้างงานก่อสร้าง และการตรวจรับพัสดุ หนังสือสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร 1305/ว ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2544 1. ระยะเวลาในการตรวจการจ้างก่อสร้าง 1.1 งานจ้างก่อสร้างแบบราคาเหมารวม (LUMP Sum) (วันทำการ) ราคาค่างาน ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการตรวจการจ้าง งวดงาน งวดสุดท้าย ทุกค่าราคางาน 3 วัน 5 วัน

101 คณะกรรมการตรวจการจ้าง
1.2 งานจ้างก่อสร้างแบบราคาต่อหน่วย (Unit Cost) (วันทำการ) ราคาค่างาน ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการตรวจการจ้าง รายงวด ครั้งสุดท้าย ตรวจรับงาน ไม่เกิน 30 ล้านบาท ไม่เกิน 60 ล้านบาท ไม่เกิน 100 ล้านบาท เกิน 100 ล้านบาท 4 วัน 8 วัน 12 วัน 16 วัน 20 วัน 3 วัน 5 วัน

102 หลักเกณฑ์การตรวจการจ้างก่อสร้าง
ผู้ควบคุมงานและคณะกรรมการตรวจการจ้างจะต้องเร่งรัดตรวจการจ้าง ให้แล้วเสร็จไปโดยเร็วที่สุด และต้องไม่เกินระยะเวลาตรวจการจ้าง ก่อสร้างตามตารางดังกล่าวข้างต้น ผู้รับจ้างต้องมีหนังสือแจ้งส่งมอบให้แก่ส่วนราชการ (ส่งงานสารบรรณ/เจ้าหน้าที่พัสดุ/ผู้ควบคุมงาน) ผู้รับหนังสือส่งมอบงานต้องนำหนังสือไปให้งานสารบรรณ ลงรับในวันนั้นทันที (ไม่ทัน/วันทำการถัดไป) แล้วส่งมอบให้ผู้ควบคุมงาน ต่อไป

103 หลักเกณฑ์การตรวจการจ้างก่อสร้าง (ต่อ)
การนับวันดำเนินการของผู้ควบคุมงาน จะเริ่มนับจากวันถัดจากวันที่ ผู้ควบคุมงานได้รับมอบหนังสือส่งงานแล้ว ในกรณีที่ผู้ควบคุมงานไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายใน กำหนดเวลา ให้รายงานประธานกรรมการตรวจการจ้างพร้อมด้วยเหตุผล ความจำเป็น 6. การนับวันดำเนินการของคณะกรรมการตรวจการจ้าง จะเริ่มนับถัดจาก วันที่ผู้ควบคุมงานได้ดำเนินการเสร็จและรายงานให้ประธานกรรมการ ตรวจการจ้างทราบ 7. ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจการจ้างไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จ ภายในกำหนดเวลา ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการ+เหตุผล+สำเนาแจ้งผู้ รับจ้างทราบ

104 2. ระยะเวลาในการตรวจรับพัสดุ
ตรวจรับในวันที่คู่สัญญานำพัสดุมาส่ง ให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว ที่สุด แต่อย่างช้าไม่เกิน 5 วันทำการ นับแต่วันที่คู่สัญญานำ พัสดุมาส่ง ไม่รวมระยะเวลาตรวจทดลอง หรือตรวจสอบ ในทางเทคนิค กรณีที่ไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลา ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการ+เหตุผล+สำเนาแจ้งให้ คู่สัญญาทราบ

105

106 การดำเนินการตามสัญญา
การบริหารสัญญา การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาหรือข้อตกลง การงด หรือลดค่าปรับ หรือขยายระยะเวลา การบอกเลิกสัญญา การสั่งทิ้งงาน

107 ใคร ? เป็นผู้มีหน้าที่บริหารสัญญา
ใคร ? เป็นผู้มีหน้าที่บริหารสัญญา คำวินิจฉัย กวพ. ด่วนที่สุด ที่ กค(กวพ) /28514 ลว.12 ต.ค.48 เจ้าหน้าที่พัสดุ/ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ คณะกรรมการตรวจการจ้าง โดยปกติ ต้องมีหน้าที่บริหารสัญญา กล่าวคือ เมื่อสัญญา ครบกำหนด จะต้องแจ้งให้ผู้ขายหรือรับจ้างส่งมอบงาน ตามสัญญา เจ้าหน้าที่ดังกล่าว จะต้องเสนอหัวหน้าส่วนราชการ ให้มี หนังสือแจ้งเตือน แจ้งปรับ แล้วแต่กรณี หากมิได้ดำเนินการ จะถือว่าละเลยไม่ดำเนินการตามหน้าที่

108 การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา
หลัก ห้ามแก้ไข เปลี่ยนแปลง ข้อยกเว้น กรณีจำเป็น ไม่ทำให้ราชการเสียประโยชน์ กรณีแก้ไขเพื่อประโยชน์ของทางราชการ อำนาจอนุมัติแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา : หัวหน้าส่วนราชการ ** หลักการแก้ไขฯ ** การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา สามารถที่จะพิจารณาดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญาในช่วงเวลาใดก็ได้ แม้จะล่วงเลยกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จตามสัญญาก็ตาม แต่อย่างช้าจะต้องดำเนินการแก้ไขเปลี่ยนแปลงก่อนที่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ตรวจการจ้าง ได้ทำการตรวจรับพัสดุหรืองานจ้างไว้ใช้

109 การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสัญญา
การแก้ไขสัญญา ถ้าจำเป็นต้อง เพิ่ม/ลดวงเงิน/ขยายเวลาการส่งมอบ ให้ตกลงไปพร้อมกัน กรณีงานเกี่ยวกับความมั่นคงแข็งแรง/งานเทคนิคเฉพาะอย่าง ต้องได้รับการรับรองจากสถาปนิก/ วิศวกรฯ ที่รับผิดชอบก่อนการแก้ไข

110 การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลาทำการ
ตามสัญญา อำนาจอนุมัติ หัวหน้าส่วนราชการ สาเหตุ (1) เหตุเกิดจากความผิด ความบกพร่องของส่วนราชการ (2) เหตุสุดวิสัย (3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย

111 การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลาทำการ
ตามสัญญา วิธีการ - คู่สัญญาต้องแจ้งเหตุให้ส่วนราชการทราบภายใน 15 วัน นับแต่เหตุนั้นได้สิ้นสุดลง หากไม่แจ้งตามที่กำหนด จะยก มากล่าวอ้างเพื่อขอลดหรืองดค่าปรับ หรือขยายเวลามิได้ เว้นแต่กรณีความผิดความบกพร่องของส่วนราชการ ซึ่งมี หลักฐานชัดแจ้งหรือส่วนราชการทราบดีอยู่แล้วตั้งแต่ต้น - พิจารณาได้ตามจำนวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง

112 การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลาทำการ
ตามสัญญา การพิจารณางด หรือลดค่าปรับ จะเป็นการพิจารณาอนุมัติให้ในเวลาที่ล่วงเลยกำหนดระยะเวลาของสัญญาหรือข้อตกลงไปแล้ว และเป็นกรณีที่มีค่าปรับเกิดขึ้นแล้ว การพิจารณาขยายเวลาทำการ จะเป็นการพิจารณาให้ก่อนที่จะครบกำหนดสัญญา และค่าปรับยังไม่เกิดขึ้น

113 Q การขยายเวลาสัญญา -หากจะขยายสัญญาให้ผู้รับจ้าง ในสัญญาจะบอกว่าผู้รับจ้างต้องแจ้งเป็นหนังสือภายใน 15 วัน นับจากวันเกิดเหตุสุดวิสัย มิฉะนั้นจะถือว่าสละสิทธิ์ ถ้าผู้รับจ้างไม่แจ้งจะขยายสัญญาให้ได้หรือไม่ หากแจ้งเป็นหนังสือแล้ว ถ้าคณะกรรมการยังไม่พิจารณาให้ขยาย มาพิจารณาตอนใกล้สัญญาสิ้นสุดได้หรือไม่

114 การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลาทำการ
ตามสัญญา อำนาจอนุมัติ หัวหน้าส่วนราชการ สาเหตุ (1) เหตุเกิดจากความผิด ความบกพร่องของส่วนราชการ (2) เหตุสุดวิสัย (3) เหตุเกิดจากพฤติการณ์ ที่คู่สัญญาไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย

115 การงด ลดค่าปรับ หรือการขยายเวลาทำการ
ตามสัญญา วิธีการ - คู่สัญญาต้องแจ้งเหตุให้ส่วนราชการทราบภายใน 15 วัน นับแต่เหตุนั้นได้สิ้นสุดลง หากไม่แจ้งตามที่กำหนด จะยกมากล่าวอ้างเพื่อขอลดหรืองดค่าปรับ หรือขยายเวลามิได้ เว้นแต่กรณีความผิดความบกพร่องของส่วนราชการ (ข้อ 139 (1) ซึ่งมีหลักฐานชัดแจ้งหรือส่วนราชการทราบดีอยู่แล้วตั้งแต่ต้น - พิจารณาได้ตามจำนวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง

116 Q เมื่อสิ้นสุดสัญญาแต่บริษัทไม่ส่งมอบงาน หรือส่งมอบไม่ครบ จะต้องดำเนินการอย่างไร (ในหน้าที่ของคณะกรรมการ) คณะกรรมการตรวจรับทำหนังสือแจ้งเรื่องค่าปรับได้หรือไม่ หรือว่าต้องให้หัวหน้าส่วนราชการลงนามในหนังสือแจ้งค่าปรับ

117 A 1. เมื่อครบกำหนดสัญญา/ข้อตกลง ยังไม่มีการส่งมอบต้องแจ้งการปรับ
1. เมื่อครบกำหนดสัญญา/ข้อตกลง ยังไม่มีการส่งมอบต้องแจ้งการปรับ 2. เมื่อมีการส่งมอบพัสดุเกินกำหนดสัญญา/ข้อตกลง ต้องสงวนสิทธิการปรับ 3. การนับวันปรับ นับถัดจากวันครบกำหนดสัญญา/ข้อตกลง จนถึงวันที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างสิ่งมอบสิ่งของถูกต้องครบถ้วน หรือจนวันที่บอกเลิกสัญญา/ข้อตกลง (หักด้วยระยะเวลาที่คณะกรรมการตรวจรับใช้ไปในการตรวจรับออกจากจำนวนวันที่ต้องถูกปรับด้วย) 4. สิ่งของประกอบกันเป็นชุด ให้ปรับทั้งชุด 5. สิ่งของรวมติดตั้ง/ทดลอง ให้ปรับตามราคาของทั้งหมด

118 แจ้งการปรับ

119 แจ้งสงวนสิทธิการปรับ

120 แจ้งชำระค่าปรับ

121 การบอกเลิก / ตกลงกันเลิกสัญญา หรือข้อตกลง
หลักการ : ให้เป็นดุลพินิจของหัวหน้าส่วนราชการเป็นผู้พิจารณา 1. การใช้สิทธิบอกเลิกสัญญาจ้าง เมื่อผู้รับจ้างผิดสัญญา มีเหตุเชื่อได้ว่า ผู้รับจ้างไม่สามารถทำงานให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่กำหนด 2. การตกลงเลิกสัญญาต่อกัน ให้ทำได้เฉพาะ ที่เป็นประโยชน์แก่ทางราชการ หรือ เพื่อแก้ไขข้อเสียเปรียบของราชการ (หากปฏิบัติตามสัญญา/ข้อตกลงต่อไป)

122 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ คณะกรรมการตรวจการจ้าง
ใคร ? เป็นผู้เสนอความเห็นต่อหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อ แก้ไข/เปลี่ยนแปลงสัญญา หรือข้อตกลง การงด ลดค่าปรับ/ขยายเวลาสัญญา/ข้อตกลง หนังสือแจ้งเวียนของสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ นร (กวพ) 1305/ ว ลว.13 ธันวาคม ข้อ 3 กำหนดให้เป็นหน้าที่ของ :- คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ หรือ คณะกรรมการตรวจการจ้าง แล้วแต่กรณีเป็นผู้เสนอความเห็นในแต่ละครั้งด้วย

123 การควบคุมและ จำหน่ายพัสดุ

124 แผนภูมิแสดงขั้นตอนการดำเนินการควบคุมและการจำหน่ายพัสดุ
พัสดุของส่วนราชการไม่ว่าจะได้มาด้วยประการใด ดำเนินการในกรณีที่ พัสดุเกิดการชำรุด เสื่อมคุณภาพหรือ สูญไป หรือไม่จำเป็น ต้องใช้ในราชการต่อไป ก่อนการตรวจสอบ พัสดุ ประจำปี ตามข้อ 161 การให้ส่วนราชการอื่น หรือบุคคลยืมพัสดุ ไปใช้ในกิจการที่เป็น ประโยชน์ต่อ ทางราชการ ตามข้อ ดำเนินการควบคุมและเก็บรักษา ตามข้อ หน่วยงานที่ต้องการใช้พัสดุและหน่วยพัสดุที่ควบคุม ดำเนินการเบิก – จ่าย ตามข้อ ส่วนราชการหรือหน่วยงานที่มีพัสดุไว้จ่าย ดำเนินการตรวจสอบพัสดุประจำปี ตามข้อ ดำเนินการจำหน่ายในกรณีที่ปรากฏว่า มีพัสดุหมดความจำเป็น หรือหากใช้ในราชการต่อไปจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก หรือสูญไป โดยไม่มีผู้รับผิด ตามข้อ ลงจ่ายพัสดุที่จำหน่ายแล้วออกจากบัญชีหรือ ทะเบียนควบคุม ตามข้อ 160

125 การลงทะเบียนควบคุมพัสดุของทางราชการ วัสดุ
อาคาร สิ่งปลูกสร้าง ครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง บัญชีวัสดุ (ระเบียบฯ ข้อ152 + ที่ นร(กวพ) 1202/ว 116 ลว. 1 เม.ย. 35) ทะเบียนคุมทรัพย์สิน (ระเบียบฯ ข้อ152 + ที่ นร(กวพ) 0408.4/ว 129 ลว. 20 ต.ค. 49) ทะเบียนที่ราชพัสดุ (ตาม พรบ. ที่ราชพัสดุ) ตามที่ กวพ. กำหนด ตามที่กรมบัญชีกลาง กำหนด ตามที่กรมธนารักษ์ กำหนด

126

127 แบบฟอร์มบัญชีวัสดุ

128 การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ ไม่ใช่เจ้าหน้าที่พัสดุ
ก่อนสิ้นเดือนกันยายนทุกปี ตรวจสอบการรับ-จ่ายพัสดุ ในรอบปีงบประมาณที่ผ่านมา หัวหน้า ส่วนราชการ แต่งตั้ง ตรวจนับพัสดุคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน เจ้าหน้าที่ ตรวจสอบพัสดุ สภาพของพัสดุ ชำรุด เสื่อมสภาพ เพราะเหตุใด หมดความจำเป็นต้องใช้ราชการ หน่วยงาน ขอเบิก ไม่ใช่เจ้าหน้าที่พัสดุ ตรวจสอบให้เสร็จสิ้น ภายใน 30 วันทำการ ส่งรายงานให้หัวหน้าส่วนราชการ และสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

129 การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ
เมื่อมีพัสดุชำรุด เสื่อมสภาพ หรือสูญไป หรือไม่จำเป็นต้องใช้ราชการต่อไป ต้องมีผู้รับผิดหรือไม่ เพราะเหตุใด ถ้าต้องมีผู้รับผิดชอบ ให้หัวหน้าส่วนราชการ ดำเนินการตามกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง แต่งตั้ง หัวหน้า ส่วนราชการ คณะกรรมการ สอบข้อเท็จจริง ถ้าไม่ต้องมีผู้ต้องรับผิด ให้สั่งการจำหน่าย สั่งการ จำหน่าย เว้นแต่เสื่อมสภาพจากการใช้งานตามปกติ หรือสูญไปตามธรรมชาติ

130 การจำหน่ายสามารถดำเนินการได้ 4 วิธี
วิธีจำหน่าย ขาย ขายทอดตลาดก่อน ถ้าไม่ได้ผลดี ให้นำวิธีการซื้อมาใช้โดยอนุโลม แลกเปลี่ยน แลกเปลี่ยนตามระเบียบ โอน โอนให้ส่วนราชการ หน่วยงานบริหารท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การสถานสาธารณกุศล แปรสภาพ หรือทำลาย แปรสภาพหรือทำลายตามหลักเกณฑ์ที่ส่วนราชการกำหนด

131 การจำหน่ายโดยวิธีการขาย โดยวิธีขายทอดตลาดก่อน
ให้ดำเนินการขาย โดยวิธีขายทอดตลาดก่อน ถ้าขายทอดตลาดไม่ได้ผล ให้นำวิธีที่กำหนดเกี่ยวกับการซื้อมาใช้โดยอนุโลม การขาย โดยวิธีตกลงราคา การขายพัสดุครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาซื้อหรือได้มารวมกันไม่เกิน 100,000 บาท กรณีขายให้แก่ส่วนราชการ/หน่วยงานท้องถิ่น/รัฐวิสาหกิจ/องค์การสถานสาธารณกุศลตามประมวลรัษฎากร

132 ขั้นตอนการขายทอดตลาด
1. จัดทำประกาศขายทอดตลาด รายละเอียดพัสดุที่จะขายทอดตลาด วัน เดือน ปี เวลาที่จะดูสภาพพัสดุ กำหนด วัน เดือน ปี เวลาที่จะขายทอดตลาด สถานที่จะขายทอดตลาด เกณฑ์การตัดสิน การชำระเงินสดค่ามัดจำและกำหนดจำนวนวันชำระส่วนที่เหลือ เงื่อนไขอื่นๆ 2. ส่งใบประกาศขายทอดตลาดเผยแพร่ไปยังผู้สนใจ 3. รายงานผลการจำหน่าย โดยวิธีการขายทอดตลาดเสนอต่อหัวหน้าส่วนราชการ

133 การแลกเปลี่ยน มีหลักเกณฑ์ ดังนี้
เป็นการแลกเปลี่ยนครุภัณฑ์กับครุภัณฑ์ประเภทและชนิดเดียวกัน ครุภัณฑ์บางชนิดหรือกรณีต้องจ่ายเงินเพิ่ม ต้องขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณก่อน กรณีเป็นครุภัณฑ์ต่างประเทศหรือต่างชนิดกัน ให้ขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณก่อนทุกกรณี การแลกเปลี่ยนวัสดุกับวัสดุประเภทและชนิดเดียวกัน ที่ไม่ต้องจ่ายเงินเพิ่ม หากต้องจ่ายเงินเพิ่ม ให้ขอตกลงกับกระทรวงการคลังก่อน

134 การโอนพัสดุของส่วนราชการ จะทำได้ก็ต่อเมื่อ
1. เป็นการโอนให้กับ ส่วนราชการ/หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น/หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น/รัฐวิสาหกิจ/องค์การสถานสาธารณกุศลตามมาตรา 47(7) แห่งประมวลรัษฎากร 2. เป็นพัสดุที่หมดความจำเป็น หรือ หากใช้ราชการต่อไปจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก

135 การแปรสภาพหรือทำลาย ในกรณีพัสดุของส่วนราชการเกิดการชำรุด หรือเสื่อมสภาพอย่างมากจนไม่สามารถใช้การได้ และไม่อาจจำหน่ายโดยวิธีอื่นใดได้ สามารถจะดำเนินการโดยวิธีแปรสภาพ หรือทำลายตามหลักเกณฑ์ที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น

136 การจำหน่ายเป็นสูญ หมายถึง การลงจ่ายพัสดุออกจากบัญชีหรือทะเบียนคุมพัสดุ ส่วนราชการจะจำหน่ายเป็นสูญได้ในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี้ พัสดุสูญไปโดยไม่ปรากฏตัวผู้รับผิด พัสดุสูญไปโดยมีตัวผู้รับผิดแต่ไม่สามารถชดใช้ได้ มีตัวพัสดุอยู่แต่ไม่สามารถ ขาย แลกเปลี่ยน โอน แปรสภาพ หรือ ทำลายได้

137 การลงจ่ายออกจากบัญชีหรือทะเบียน
เมื่อได้ดำเนินการตามข้อ 157 แล้ว ให้เจ้าหน้าที่พัสดุลงจ่ายพัสดุนั้นออกจากบัญชีหรือทะเบียนทันที แล้วแจ้งให้สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินทราบ ภายใน 30 วัน นับแต่วันลงจ่ายพัสดุนั้น เมื่อได้ดำเนินการตามข้อ 159 แล้ว ให้เจ้าหน้าที่พัสดุลงจ่ายพัสดุนั้นออกจากบัญชีหรือทะเบียนทันทีแล้วแจ้งให้กระทรวงการคลังหรือส่วนราชการที่กระทรวงการคลังมอบหมาย และ สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินทราบภายใน 30 วัน นับแต่วันลงจ่ายพัสดุนั้น สำหรับพัสดุซึ่งต้องจดทะเบียนตามกฎหมาย ให้แจ้งแก่นายทะเบียนภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดด้วย

138 กรณีก่อนการตรวจสอบพัสดุประจำปี
กรณีที่พัสดุชำรุด เสื่อมคุณภาพ หรือสูญไป หรือไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการต่อไป ก่อนมีการตรวจสอบตามข้อ 155 และได้ดำเนินการตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้อง หรือระเบียบนี้โดยอนุโลม แล้วแต่กรณีเสร็จสิ้นแล้ว ถ้าไม่มีระเบียบอื่นใดกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ ให้ดำเนินการตาม ข้อ 157 ข้อ 158 ข้อ 159 ข้อ 160 โดยอนุโลม

139 แลกเปลี่ยนเรียนรู้

140

141 นายอธิวัฒน์ โยอาศรี เกี่ยวกับวิทยากร
นายอธิวัฒน์ โยอาศรี ตำแหน่ง นักวิชาการพัสดุชำนาญการพิเศษ ทำหน้าที่ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาระบบพัสดุที่ 1 ส่วนพัฒนาระบบพัสดุ กองพัสดุ กรมชลประทาน การติดต่อ โทรศัพท์ อีเมล์ : เว็บไซต์ : เพจองค์ความรู้ด้านการพัสดุ


ดาวน์โหลด ppt การบริหารพัสดุ ของหน่วยงานภาครัฐ นำเสนอโดย นายอธิวัฒน์ โยอาศรี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google