ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยธีรภัทร สโตเกอร์ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา
2
ประวัติผู้วิจัย นางสุภาวรัตน์ ภุมมาลี ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการสำนักงานฝ่ายประกันคุณภาพ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา
3
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และปัจจัยที่สนับสนุนการดำเนินงาน ประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556
4
ประชากร ที่ใช้คือ ผู้บริหาร ครู และบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา จำนวน 107 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ใช้แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในฯ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ ความถี่ , ค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย ( x ) และ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
5
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื่องจากการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง และจากผลการประกันคุณภาพภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ในปีการศึกษา 2556 ยังมีบางมาตรฐานที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ผู้วิจัยซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานประกันคุณภาพ จึงมีแนวความคิดที่จะวิเคราะห์ปัจจัยที่จะส่งผลให้การประกันคุณภาพภายในของทางวิทยาลัย มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน ของหน่วยงานต้นสังกัด
6
กรอบแนวคิดการวิจัย
7
ด้านประสิทธิภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
ผลการวิจัย ด้านประสิทธิภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน (ตัวอย่าง) ข้อ ประเด็น ระดับความคิดเห็น ด้านประสิทธิภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน X S.D. ระดับ 1 การจัดหน่วยงานรับผิดชอบงานประกันคุณภาพ 4.17 0.68 มาก 2 การกำหนดแผนปฏิบัติงานประกันคุณภาพ 4.08 0.61 3 การจัดบุคลากรรับผิดชอบด้านงานประกันคุณภาพ 4.21 0.64 4 สถานที่สำหรับหน่วยงานประกันคุณภาพ 4.04 0.67 5 งบประมาณในการสนับสนุนการดำเนินงานประกันคุณภาพเพียงพอ 3.75 0.90 6 เครื่องมือ อุปกรณ์ สนับสนุนงานประกันคุณภาพเพียงพอ 3.71 0.93
8
สรุปผลการวิจัย ประชากร. ประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 57. 01
สรุปผลการวิจัย ประชากร *ประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ *อายุประชากรส่วนใหญ่อยู่ในช่วง ปี ร้อยละ รองลงมาคือ ปี ร้อยละ *บทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงานส่วนใหญ่เป็น ครู ร้อยละ รองลงมาคือ บุคลากร ร้อยละ *วุฒิการศึกษาสูงสุดส่วนใหญ่เป็น ระดับปริญญาตรี ร้อยละ รองลงมาคือ ระดับปริญญาโท ร้อยละ *ประสบการณ์การทำงานส่วนใหญ่อยู่ในช่วง ปี ร้อยละ รองลงมาคือ 1-8 ปี ร้อยละ 33.64
9
สรุปผลการวิจัย ประสิทธิภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
สรุปผลการวิจัย ประสิทธิภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน *ผลการวิจัย พบว่า โดยรวมของประสิทธิภาพการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.03 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน *เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าอยู่ในระดับมากทุกข้อ จากทั้งหมด 10 ข้อ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ประเด็นคำถามที่ว่า การจัดบุคลากรรับผิดชอบด้านงานประกันคุณภาพ มีค่าเฉลี่ย 4.21 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ประเด็นคำถามที่ว่า เครื่องมือ อุปกรณ์ สนับสนุนงานประกันคุณภาพเพียงพอ มีค่าเฉลี่ย 3.71 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .93
10
สรุปผลการวิจัย ประสิทธิผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
สรุปผลการวิจัย ประสิทธิผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน *ผลการวิจัย พบว่า โดยรวมของประสิทธิผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.91 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน *เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าอยู่ในระดับมากทุกข้อ จากทั้งหมด 10 ข้อ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ประเด็นคำถามที่ว่า วิทยาลัย มีการสรุปและจัดทำรายงานการประเมินตนเอง(SAR)ส่งต้นสังกัด เป็นประจำทุกปี มีค่าเฉลี่ย 4.19 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ประเด็นคำถามที่ว่า วิทยาลัย มีการปรับปรุงแก้ไข จุดอ่อน เพื่อให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด มีค่าเฉลี่ย 3.80 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .72
11
สรุปผลการวิจัย ปัจจัยที่สนับสนุนการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน
สรุปผลการวิจัย ปัจจัยที่สนับสนุนการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน *ผลการวิจัย พบว่า โดยรวมของปัจจัยที่สนับสนุนการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.73 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน * เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าอยู่ในระดับมากทุกข้อ จากทั้งหมด 10 ข้อ โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ประเด็นคำถามที่ว่า วิทยาลัย มีการกำหนดนโยบายด้านการประกันคุณภาพภายในไว้อย่างชัดเจน มีค่าเฉลี่ย 3.94 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ประเด็นคำถามที่ว่า มีบุคลากรในการดำเนินงานประกันคุณภาพอย่างเพียงพอ มีค่าเฉลี่ย 3.52 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
12
ข้อเสนอแนะ *ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้ ให้บุคลากรและครู ได้รับความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในอย่างสม่ำเสมอ * ควรศึกษาการประเมินผลการ ดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของทางวิทยาลัย เป็นประจำทุกปีอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำผลมาปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.