ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยแก้วเก้า พิศาลบุตร ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
บทบาทของ สถ. ในการสนับสนุน การดำเนินงานถ่ายโอนภารกิจ
นายยงยุทธ สิงห์ธวัช กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
2
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.) ตามนโยบายการปฏิรูประบบราชการ
จัดตั้งวันที่ 3 ตุลาคม 2545 ตามนโยบายการปฏิรูประบบราชการ
3
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
“ เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้มแข็ง เพื่อสร้างความมั่นคง และประโยชน์สุข ของประชาชนอย่างยั่งยืน"
4
สรุปภารกิจของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2545
สรุปภารกิจของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ตามกฎกระทรวง พ.ศ. 2545 1. ส่งเสริมให้องค์กรปกครองท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง มีการบริหารจัดการ ที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น และมีการบูรณาการ การแก้ไขปัญหา และพัฒนาท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. พัฒนาระบบการกำกับดูแลภาคประชาชนต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึ้น 3. สร้างกลไกตรวจสอบความโปร่งใสในการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
5
โครงสร้างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
6 กอง สำนัก หน่วยงานภายใน สำนักงานเลขานุการกรม กองการเจ้าหน้าที่ กองคลัง สำนักกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถิ่น ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศท้องถิ่น สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น สำนักบริหารการคลังท้องถิ่น สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น สำนักประสานการส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร หน่วยงานตรวจสอบภายใน สำนักพัฒนาระบบรูปแบบและโครงสร้าง สำนักส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและการมีส่วนร่วม สำนักมาตรฐานการบริหารงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น
6
บุคลากร ส่วนกลาง 524 ภูมิภาค 2,968 รวมข้าราชการ สถ. 3,492
7
กระบวนการถ่ายโอนภารกิจ
กกถ.จัดทำ แผนกระจายอำนาจ แผนปฏิบัติการ - ครม.เห็นชอบ - รายงานรัฐสภา - ประกาศใช้ ส่วนราชการ ถ่ายโอน คน งาน เงิน หน้าที่ อปท.
8
หลักทั่วไปในการถ่ายโอนภารกิจ
1. พิจารณาถึงผลกระทบ / ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับประชาชน ในพื้นที่ของท้องถิ่น 2. งานที่ครอบคลุมมากกว่า 1 จังหวัด ให้รัฐทำ เว้นแต่ อบจ จะตกลงกัน โดย กกถ. เห็นชอบด้วย 3. หลักการพิจารณาความพร้อม (รายได้, บุคลากร, ค่าใช้จ่าย, คุณภาพของบริการ) 4. ความคุ้มค่า / การร่วมมือกันทำงานของท้องถิ่น
9
5. คุณภาพของบริการที่ประชาชนจะได้รับ
6. ถ้าท้องถิ่นใดยังไม่พร้อม ให้รัฐทำแทนไปก่อน หรือร่วมกับรัฐ / ท้องถิ่นอื่นดำเนินการ 7. ระยะแรกให้ถ่ายโอนงานด้านโครงสร้างพื้นฐาน และคุณภาพชีวิตก่อน 8. โอนทรัพย์สินให้ ยกเว้นที่ดิน
10
ผลการถ่ายโอน ที่ ด้านภารกิจ ภารกิจที่ถ่ายโอน ผลการดำเนินการ หมายเหตุ
ถ่ายโอนแล้ว ทยอยถ่ายโอน ยังไม่ถ่ายโอน 1 โครงสร้างพื้นฐาน 87 58 13 16 2 งานส่งเสริมคุณภาพชีวิต 103 67 34 3 การจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรียบร้อย 17 7 8 4 การวางแผน การส่งเสริมการลงทุน พาณิชยกรรม และการท่องเที่ยว 19 11 5 การบริหารจัดการและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม 14 ถอนไป 1 เรื่อง เนื่องจากไม่มีภารกิจถ่ายโอน 6 วัฒนธรรม จารีตประเพณี และ ภูมิปัญญาท้องถิ่น - รวม 245 157 23 64
11
สัดส่วนรายได้ของ อปท. ต่อรายได้ของรัฐบาลปี 2544 - 2549
หน่วย : ล้านบาท รายการ ปี รายได้ท้องถิ่น รายได้รัฐบาล สัดส่วนรายได้ท้องถิ่นต่อรายได้รัฐบาล (ร้อยละ) 2543 2544 99,936 156,531 749,948 772,574 13.33 20.57 2545 176,155 803,651 21.99 2546 184,066 829,496 22.19 2547 241,947 1,063,600 22.75 2548 293,750 1,250,000 23.50 2549 327,113 1,360,000 24.10
12
หลักการถ่ายโอนบุคลากร
สอดคล้องกับภาระหน้าที่และความพร้อมของ อปท. คำนึงถึงภาระค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นกับ อปท. ระบบถ่ายโอนมีความคล่องตัว และจูงใจ มีหลักประกันเรื่องสิทธิประโยชน์และความก้าวหน้า
13
ผลการถ่ายโอน ระยะที่ 1 (2546/2547) 4, คน ระยะที่ 2 (2548) คน
14
บทบาทของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ต่อการกระจายอำนาจให้แก่ อปท.
ด้านการพัฒนาบุคลากรของ อปท. (ฝ่ายการเมือง / พนักงาน) การจัดฝึกอบรมหลักสูตรต่างๆ โดยสถาบันพัฒนาบุคลกรท้องถิ่น การจัดฝึกอบรมโดยร่วมมือกับสถาบันการศึกษาเครือข่าย - การส่งเสริมการศึกษาต่อเนื่อง (ป.ตรี - ป.โท)
15
ด้านการปรับปรุงระเบียบ / กฎหมาย
- การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายให้เลือกตั้งนายกโดยตรง การแก้ไขระเบียบ มท. เรื่องค่าตอบแทนของนายก อปท. และฝ่ายสภา เพิ่มขึ้น การแก้ไขระเบียบว่าด้วยการพัสดุ การแก้ไขระเบียบว่าด้วยการเก็บรักษาเงินและการตรวจเงิน ของ อปท.
16
ด้านการส่งเสริม อปท. ให้มีความเข้มแข็ง
การจัดทำมาตรฐานการบริหาร มาตรฐาน การจัดทำมาตรฐานการบริการ มาตรฐาน รวม มาตรฐาน การจัดประกวด อปท. ที่มีการบริหารจัดการที่ดีและ มีความพยายามในการจัดเก็บภาษี
17
ด้านการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการปกครองท้องถิ่น
การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น การจัดซื้อ – จัดจ้าง การร่วมประชุมสภาท้องถิ่น โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วม
18
ด้านการกำกับดูแล อปท. การกำกับดูแลโดย มท. (ตามกฎหมายว่าด้วย อปท.)
- การอนุมัติข้อบัญญัติท้องถิ่น - การยับยั้งการปฏิบัติที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายของ อปท. - การสอบสวนและสั่งให้ผู้บริหารท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่ง - การสั่งยุบสภาท้องถิ่น
19
ด้านการกำกับดูแล อปท. การกำกับดูแลโดยประชาชน (ตามรัฐธรรมนูญ)
- การลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาหรือผู้บริหาร - การเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น - การขอให้มีการออกข้อบัญญัติ / เทศบัญญัติท้องถิ่น
20
ส่วนส่งเสริมการกระจายอำนาจ สำนักพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสร้าง
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น โทรศัพท์ ต่อ โทรสาร Address :
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.