งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎหมายอาญา(Crime Law)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎหมายอาญา(Crime Law)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎหมายอาญา(Crime Law)
เป็นกฎหมายที่รัฐบัญญัติขึ้นเพื่อกำหนดลักษณะของการกระทำที่ถือว่าเป็นความผิด และกำหนดบทลงโทษทางอาญาสำหรับความผิดนั้น เป็นกฎหมายที่บัญญัติว่าการกระทำหรือไม่กระทำการอย่างใดเป็นความผิดกฎหมายที่รวมเอาลักษณะความผิดต่าง ๆ และกำหนดบทลงโทษมาบัญญัติขึ้น

2 กฎหมายอาญา กฎหมายที่รวมเอาลักษณะความผิดต่าง ๆ และกำหนดบทลงโทษซึ่งบัญญัติขึ้นโดยมีจุดประสงค์ที่จะรักษาความสงบเรียบร้อยภายในสังคม การกระทำที่มีผลกระทบกระเทือนต่อสังคมหรือคนส่วนใหญ่ของประเทศ โดยถือว่าเป็นความผิดทางอาญาหากปล่อยให้มีการดำเนินการเอง หรือปล่อยให้มีผู้กระทำผิดแล้วไม่มีการลงโทษจะทำให้มีการกระทำผิดมากขึ้น สังคมก็จะวุ่นวายขาดความสงบสุข

3 คำที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายอาญา
เจตนา  การกระทำผิดทางอาญาที่ผู้กระทำรู้อยู่แล้วว่าสิ่งที่ตนทำนั้นเป็นความผิดแต่ยังทำลงไปทั้งที่รู้สำนึกในการกระทำ

4 ไม่เจตนา  การกระทำที่ผู้กระทำมิได้ตั้งใจทำ เพื่อให้เกิดผลอย่างหนึ่ง
ประมาท  การกระทำที่ผู้กระทำมิได้ตั้งใจให้เกิดผลร้ายแก่ใคร แต่เนื่องจากกระทำโดยไม่ระมัดระวัง หรือระมัดระวังไม่เพียงพอ ทำให้เกิดผลร้ายแก่ผู้อื่น ไม่เจตนา  การกระทำที่ผู้กระทำมิได้ตั้งใจทำ เพื่อให้เกิดผลอย่างหนึ่ง

5 หยิบของผู้อื่นไปเป็นของตน ฉกฉวยของผู้อื่นไปซึ่งหน้า
ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ การลักทรัพย์ หยิบของผู้อื่นไปเป็นของตน 2. วิ่งราวทรัพย์ ฉกฉวยของผู้อื่นไปซึ่งหน้า ใช้กำลังประทุษร้ายเพื่อให้ได้ทรัพย์ของผู้อื่น 3. ชิงทรัพย์ ร่วมกันกระทำความผิดตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปเพื่อชิงทรัพย์ผู้อื่น 4. ปล้นทรัพย์

6 ใช้กำลังประทุษร้าย ขู่เข็ญผู้อื่นว่า จะทำอันตรายต่อ ชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ และชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของผู้อื่น บีบบังคับผู้อื่นให้มอบทรัพย์สินให้ตน หากไม่ปฏิบัติตามจะเปิดเผยความลับที่มีต่อกัน 6. รีดเอาทรัพย์

7 7. ฉ้อโกง ทรัพย์ 8. ยักยอก ทรัพย์
ใช้กลวิธี กลอุบายหลอกลวง ปกปิดข้อเท็จจริงเพื่อให้ได้ทรัพย์สินผู้อื่น 7. ฉ้อโกง ทรัพย์ 8. ยักยอก ทรัพย์ เบียดบังทรัพย์สินของผู้อื่นมาเป็นของตน รับของโจร ทำให้เสียทรัพย์ การบุกรุก

8 ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย
1. ความผิดเกี่ยวกับชีวิต เป็นความผิดที่ทำให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย จะโดยเจตนา หรือ ประมาท ถือเป็นความผิดทั้งสิ้น ลักษณะ เช่น ความผิดฐานฆ่าคนตาย

9 ทำร้ายร่างกาย  2. ความผิดเกี่ยวกับร่างกาย ถึงแก่ชีวิต ไม่มีอันตราย
ได้รับอันตรายสาหัส

10 การกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้
3.ความผิดที่ทำโดยประมาทต่อชีวิตและร่างกาย การกระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่ร่างกายและจิตใจ ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บสาหัส

11 ลักษณะสำคัญของกฎหมายอาญา
กฎหมายอาญาต้องชัดเจนแน่นอน กฎหมายอาญาไม่มีผลย้อนหลัง ลักษณะสำคัญของกฎหมายอาญา ห้ามใช้จารีตประเพณีลงโทษทางอาญาแก่บุคคล ห้ามใช้กฎหมายอื่นลงโทษทางอาญาแก่บุคคล

12 โทษทางอาญาหรือสภาพบังคับ
มี 5 สถาน 5.ประหารชีวิต 1.ริบทรัพย์ โทษทางอาญาหรือสภาพบังคับ 4.จำคุก 2.ปรับ 3.กักขัง

13  ลักษณะของโทษทางอาญา 1. ริบทรัพย์
เป็นโทษที่บังคับเอากับทรัพย์สินโดยบุคคลใดมี หรือ ครอบครองไว้หรือ มีไว้เพื่อกระทำความผิดซึ่งของผิดกฎหมาย เช่น เงิน ยาเสพติด ( กัญชา ฝิ่น เฮโรอีน โคเคน) ปืนเถื่อน สัตว์สงวน สัตว์ที่เป็นส่วนประกอบที่ใช้กระทำความผิด เป็นต้น 1. ริบทรัพย์ ศาลอาจพิพากษาให้ริบทรัพย์นั้นให้ตกเป็นแผ่นดิน หรือ ทำลายทรัพย์สินนั้นเสีย

14 เป็นการบังคับเอาทรัพย์สินของผู้กระทำผิด และต้องโทษปรับตาม
คำพิพากษาของศาลแล้ว 2. ปรับ กระทำโดย กรณีผู้กระทำไม่มีค่าปรับตามคำพิพากษาให้กักขังแทนจนกว่าจะครบจำนวนค่าปรับ …. ทั้งนี้..การกักขังแทนการปรับต้องไม่เกิน ปี ยกเว้นกรณีปรับตั้งแต่ 20,000 บาทขึ้นไป ศาลอาจให้สั่งกักขังแทนค่าปรับเกิน 1 ปีได้ แต่ไม่เกิน 2 ปี ..

15 การนำตัวผู้กระทำผิดไปกักขังในสถานที่กักขัง ก่อนการพิพากษาของศาล ที่ยังมิใช่เรือนจำ เช่น สถานีตำรวจธรรมศาลา 3. กักขัง การนำตัวผู้ที่ต้องคำพิพากษาของศาลไปคุมขังหรือจำคุกในเรือนจำตามกำหนดเวลาที่ศาลมีคำพิพากษา เช่น ต้องโทษคดีค้ายาเสพติดให้ได้รับโทษจำคุก 10 ปี ที่เรือนจำเขาบิน จังหวัดราชบุรี 4. จำคุก 4

16 การนำผู้กระทำผิดที่ศาลพิพากษาให้ประหารชีวิตไปประหารตามหลักการประหารที่กำหนด เช่น ประเทศไทยประหารชีวิตนักโทษด้วยการฉีดยา เป็นต้น 5. ประหารชีวิต

17 โมฆะ หมายถึง เปล่า, ว่าง; ไม่มีประโยชน์, ไม่มีผล, เช่น สัญญาเป็นโมฆะ; (กฎ) เสียเปล่า ไม่มีผลบังคับหรือผูกพันตามกฎหมาย. (ป., ส.).โมฆกรรม (กฎ) น. นิติกรรมที่เสียเปล่า ไม่มีผลบังคับหรือผูกพันตามกฎหมาย ไม่อาจให้สัตยาบันแก่กันได้ และผู้มีส่วนได้เสียคนหนึ่งคนใด จะยกความเสียเปล่าขึ้นกล่าวอ้างก็ได้, กฎหมายเขียนเป็น โมฆะกรรม.โมฆสัญญา น. สัญญาที่ไม่มีผลบังคับ.

18 โมฆกรรมและโมฆียกรรม การทำนิติกรรมใด ๆ ที่มีผลของนิติกรรมที่ได้ทำขึ้นนั้นเสียเปล่า ไม่มีผลอันใดเกิดขึ้น กฎหมายไม่ให้การรับรองผลไว้ ความหมาย โมฆกรรม 1. การทำนิติกรรมนั้นไม่ชอบด้วยกฎหมาย ขัดต่อศีลธรรมอันดี 2. นิติกรรมนั้นไม่เป็นไปตามความประสงค์ของผู้แสดงเจตนา สาเหตุ 3. การทำนิติกรรมผิดไปจากแบบแผนที่กฎหมายกำหนด 4. กฎหมายกับการบัญญัติสิทธิของผู้กระทำนิติกรรม

19 นิติกรรมซึ่งอาจบอกล้าง เพิกถอน หรือให้สัตยาบันได้ ถ้าบอกล้างก็เป็นโมฆะมาแต่เริ่มแรก ถ้าให้สัตยาบันก็มีผลสมบูรณ์มาแต่เริ่มแรก, กฎหมายเขียนเป็น โมฆียะกรรม. โมฆียกรรม

20


ดาวน์โหลด ppt กฎหมายอาญา(Crime Law)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google