งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ

2 แนวทางการบรรยาย  หลักการ แนวคิดของกฎหมาย และนโยบายรัฐบาล
 สาระสำคัญของกฎหมาย  แนวทางและกลไกในการปฏิบัติ  ผลกระทบของกฎหมาย กับหน่วยงานของรัฐ และประโยชน์สาธารณะ

3 1. หลักการ – แนวคิด ของกฎหมาย
1. หลักการ – แนวคิด ของกฎหมาย

4 1. 1 ความเป็นมาของกฎหมาย 1. 2 แนวคิด “สิทธิที่จะรู้” 1
1.1 ความเป็นมาของกฎหมาย แนวคิด “สิทธิที่จะรู้” หลักกฎหมายรัฐธรรมนูญ เหตุผลของกฎหมาย นโยบายรัฐบาล

5 รัฐธรรมนูญ  คุ้มครองศักดิ์ศรี สิทธิ เสรีภาพ ของบุคคล  ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย มี “สิทธิที่จะรู้” ข้อมูลข่าวสารราชการ

6 คุ้มครองศักดิ์ศรี สิทธิ เสรีภาพ ของบุคคล ม.4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ม.34 สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว

7  “สิทธิที่จะรู้”ข้อมูลข่าวสารราชการ
ม อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ม.58 สิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารสาธารณะ ม.59 สิทธิได้รับข้อมูลและคำชี้แจง จากหน่วยงานของรัฐ ม.76 มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบาย และตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

8 เจตนารมณ์ของกฎหมาย  ให้ประชาชนมีโอกาสรับรู้ข่าวสาร
เกี่ยวกับการดำเนินการต่างๆ ของรัฐ  กำหนดข้อยกเว้นให้ชัดเจน  คุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล

9 2. สาระสำคัญของกฎหมาย

10 2. 1 ความหมาย 2. 2 สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารราชการ 2
2.1 ความหมาย 2.2 สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารราชการ 2.3 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล เอกสารประวัติศาสตร์ ความรับผิดของเจ้าหน้าที่

11 2.1 ความหมาย ข้อมูล : ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือหรือ ยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง ข่าวสาร : ข้อความที่ส่งมา เพื่อสื่อสารให้รู้เรื่องกัน

12 ข้อมูลข่าวสาร  สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราว ข้อเท็จจริง ข้อมูล
หรือสิ่งใด ๆ  การสื่อความหมายทำได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเอง หรือโดยผ่านวิธีการใดๆ  จัดทำไว้ในรูปของเอกสาร แฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยคอมพิวเตอร์หรือวิธีที่ทำให้สิ่งที่บันทึกไว้ ปรากฏได้

13 ข้อมูลข่าวสาร ของราชการ
ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครอง หรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการ ดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ เอกชน

14 “ เจ้าหน้าที่ ” “ หน่วยงานของรัฐ ”
ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วน ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ศาล เฉพาะในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ หน่วยงานอิสระของ รัฐ และหน่วยงานอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง “ เจ้าหน้าที่ ” ผู้ซึ่งปฏิบัติงานให้แก่หน่วยงานของรัฐ

15 หน่วยงานของรัฐในประเทศไทย
ส่วนกลาง กระทรวง / ทบวง กรม หน่วยราชการอิสระ รัฐวิสาหกิจ

16 ภูมิภาค จังหวัด อำเภอ 794

17 เทศบาล 1,129 อบจ. 75 กทม. 1 เมืองพัทยา 1 อบต. 6,397 ท้องถิ่น

18 องค์กรที่ใช้อำนาจตามกฎหมาย  องค์กรควบคุมการประกอบวิชาชีพ  สภาทนายความ  แพทยสภา  คณะกรรมการควบคุมการประกอบ  อาชีพวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม  เนติบัณฑิตยสภา  สภาผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

19 2.2 สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารของราชการ
2.2 สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารของราชการ

20 1) การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 7) 2) การจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) 3) การจัดหาให้เอกชนเฉพาะราย (มาตรา 11)

21 1) การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 7). (1) โครงสร้างและการจัดองค์กร
1) การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 7) (1) โครงสร้างและการจัดองค์กร (2) อำนาจหน้าที่และวิธีดำเนินงาน (3) สถานที่ติดต่อขอรับข้อมูลข่าวสาร (4) กฎ มติ ค.ร.ม. ข้อบังคับ คำสั่งฯ (5) ข้อมูลข่าวสารอื่น

22 2) การจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) (1) ผลการพิจารณาที่มีผลต่อเอกชนโดยตรง (2) นโยบายและการตีความ (3) แผนงาน โครงการและงบประมาณ (4) คู่มือหรือ คำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงาน (5) สิ่งพิมพ์ที่มีการอ้างอิงถึงใน ราชกิจจานุเบกษา

23 (6) สัญญาสำคัญของรัฐ.  สัญญาสัมปทาน.  สัญญาผูกขาดตัดตอน
(6) สัญญาสำคัญของรัฐ  สัญญาสัมปทาน  สัญญาผูกขาดตัดตอน  สัญญาร่วมทุนกับเอกชน ในการจัดทำบริการสาธารณะ (7) มติ ค.ร.ม. มติคณะกรรมการ ที่แต่งตั้งโดยกฎหมาย และคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดย มติ ค.ร.ม. (8) ข้อมูลข่าวสารอื่น

24 วิธีการจัดให้ตรวจดู ประกาศคณะกรรมการฯ 24 ก. พ
วิธีการจัดให้ตรวจดู ประกาศคณะกรรมการฯ 24 ก.พ.41 (1) จัดให้มีสถานที่ (2) จัดทำดรรชนี (3) ประชาชนสามารถค้นหาได้เอง (4) คำนึงถึงความสะดวก (5) อาจเป็นห้องสมุดหรือ ห้องในหน่วยงานอื่น

25 3) การจัดหาให้เอกชนเป็นการ เฉพาะราย (มาตรา 11) (1) มีการยื่นคำขอระบุข้อมูล ข่าวสารที่ต้องการในลักษณะที่อาจ เข้าใจได้ตามควร (2) ต้องไม่ขอจำนวนมาก หรือ บ่อยครั้งโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร

26 ลักษณะข้อมูลที่จัดให้ (1) ข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่แล้ว (2) ไม่ต้องจัดทำขึ้นใหม่ เว้นแต่การแปรสภาพเป็น เอกสาร แต่หากเห็นว่ามิใช่เป็นการแสวงหาประโยชน์ทางการค้า และเพื่อปกป้องสิทธิเสรีภาพ หรือเพื่อประโยชน์แก่สาธารณะ อาจจัดหาให้ก็ได้

27 ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ (มาตรา 14)

28 ข้อมูลข่าวสารที่อาจไม่ต้องเปิดเผย ต้องเข้าข้อยกเว้นต่อไปนี้ (มาตรา 15 ) (1) ความมั่นคงของประเทศ (2) การบังคับใช้กฎหมาย (3) ความเห็นภายใน (4) ความปลอดภัยของบุคคล (5) ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล (6) กฎหมายหรือบุคคลเจ้าของข้อมูลกำหนดมิให้เปิดเผย

29 ข้อมูลข่าวสารที่อาจไม่ต้องเปิดเผย ใช้ดุลพินิจโดยคำนึงถึงเรื่องต่อไปนี้ ประกอบกัน 1) การปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ 2) ประโยชน์สาธารณะ 3) ประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้อง

30 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ ประเด็นพิจารณา 1) วิธีการเปิด - เปิดอย่างไร (ขอดู-ขอสำเนา-ให้รับรองสำเนา) 2) เนื้อหาที่เปิด - เปิดแค่ไหน (ทั้งหมด - บางส่วน) 3) เวลาที่เปิด - เปิดเมื่อใด (กรณีความสำคัญของข้อมูลขึ้นกับเงื่อนเวลา)

31 ข้อมูลไม่อยู่ในครอบครอง ข้อมูลข่าวสารไม่อยู่ในครอบครองของหน่วยงานและเห็นว่าเป็นของหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น ให้แนะนำไปยื่นคำขอที่หน่วยงานของรัฐที่ครอบครองข้อมูลนั้นๆ (มาตรา 12)

32 2.3 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
2.3 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล

33 ความหมาย “ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล” (ม. 4 วรรคที่ห้า)
“ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล” (ม. 4 วรรคที่ห้า) ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ __________ ของบุคคล เช่นการศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือประวัติการทำงาน บรรดาที่มีชื่อของผู้นั้น หรือมีเลขหมาย รหัส หรือ ______________ ที่ทำให้รู้ตัวผู้นั้นได้ เช่น ลายพิมพ์นิ้วมือ แผ่นบันทึกลักษณะเสียงของคน หรือรูปถ่าย และให้หมายความรวมถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของผู้ที่ถึงแก่กรรมแล้วด้วย สิ่งเฉพาะตัว สิ่งบอกลักษณะอื่น

34 รับรองสิทธิของประชาชน ตามรัฐธรรมนูญ
หลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (ม. 4) สิทธิส่วนบุคคล (ม.34)

35 รัฐธรรมนูญ ม.4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ และเสรีภาพ ของบุคคล ย่อมได้รับ ความคุ้มครอง

36 ม.34 สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง
ม.34 สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัว ย่อมได้รับความคุ้มครอง การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย ซึ่งข้อความหรือภาพไม่ว่าด้วยวิธีใด ไปยังสาธารณชน อันเป็นการละเมิดหรือกระทบถึงสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัวจะกระทำมิได้ เว้นแต่กรณีที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน

37 4) หน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ
จัดเก็บข้อมูลเท่าที่จำเป็น ต้องยกเลิกเมื่อหมดความจำเป็น ตรวจสอบแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องอยู่เสมอ และ จัดระบบ รปภ.เพื่อมิให้นำไปใช้ไม่เหมาะสม ( ม. 23) พยายามเก็บข้อมูลโดยตรงจากเจ้าของข้อมูล (ม. 23) จะเปิดเผยข้อมูลโดยปราศจากความยินยอมไม่ได้ (ม.24) ยอมให้เจ้าของข้อมูลขอดูข้อมูลเกี่ยวกับตนได้ (ม. 25) แก้ไขข้อมูลให้ตรงความจริงตามที่เจ้าของร้องขอ (ม. 25) จัดให้พิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา ใน 6 ประเด็น (ม. 23)

38 ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่ต้องพิมพ์ในราชกิจจาฯ (ม
ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลที่ต้องพิมพ์ในราชกิจจาฯ (ม. 23) (ก) ประเภทของบุคคลที่มีการเก็บข้อมูลไว้ (ข) ประเภทของระบบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล (ค) ลักษณะการใช้ข้อมูลตามปกติ (ง) วิธีการขอตรวจดูข้อมูลของเจ้าของข้อมูล (จ) วิธีการขอให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล (ฉ) แหล่งที่มาของข้อมูล

39 5) เปิดเผยได้เฉพาะกรณี (มาตรา 24)
5) เปิดเผยได้เฉพาะกรณี (มาตรา 24)  ต่อ จนท.ในหน่วยงานนำไปใช้ตามอำนาจหน้าที่  การใช้ข้อมูลตามปกติ  ต่อ หน่วยงานที่ทำงานด้านแผน/การสถิติ  การใช้เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิจัย  ต่อ หอจดหมายเหตุฯ เพื่อการตรวจดูคุณค่า ม. 26 วรรคหนึ่ง  ต่อ จนท. เพื่อป้องกันการฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตาม กม.  กรณีจำเป็นเพื่อป้องกัน/ระงับอันตรายต่อชีวิต/สุขภาพ  ต่อ ศาล และ จนท. หน่วยงาน /บุคคลที่มีอำนาจตาม กม.  กรณีอื่นตามที่กำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา

40 6) สิทธิของเจ้าของข้อมูล
 สิทธิที่จะเข้าตรวจ/รับสำเนาข้อมูลส่วนบุคคล ตาม ม. 25  สิทธิในการได้รับแจ้งและคัดค้าน (ม. 17)  สิทธิไม่ยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ตาม ม. 24  สิทธิเรียกให้แก้ไข หรือลบข้อมูล ตาม ม. 25  สิทธิให้หน่วยงานของรัฐจัดระบบคุ้มครอง ตาม ม. 23  สิทธิในการร้องเรียน ตาม ม อุทธรณ์ ตาม ม. 18,35  สิทธิเรียกค่าเสียหาย

41 2.4 เอกสารประวัติศาสตร์

42 เอกสาร ที่ต้องส่งให้หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
(1) หน่วยงานของรัฐไม่ประสงค์ จะเก็บรักษา (2) มีอายุครบกำหนด  ปกปิดตาม ม. 14 ได้ 75 ปี  ปกปิดตาม ม. 15 ได้ 20 ปี

43 กรณีขอขยายเวลา (1) หน่วยงานขอเก็บรักษาไว้เอง เพื่อใช้สอย ต้องจัดให้ประชาชน ศึกษาได้ (2) ยังไม่ควรเปิด ต้องขอขยาย เวลาเก็บได้คราวละ ไม่เกิน 5 ปี

44 2.5 ความรับผิดของเจ้าหน้าที่

45 มาตรา 20 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารใดแม้จะเข้าข่าย
ต้องมีความรับผิดตามกฎหมายใด ให้ถือว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ต้องรับผิด หากเป็นการกระทำโดยสุจริตในกรณี …………… (1) ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา ถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐ ได้ดำเนินการโดยถูกต้องตามระเบียบตามมาตรา 16

46 (2) ข้อมูลข่าวสารตามมาตรา 15 ถ้าเจ้าหน้าที่ของรัฐในระดับ
ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง มีคำสั่งให้เปิดเผยเป็นการทั่วไป หรือเฉพาะแก่บุคคลใด เพื่อประโยชน์อันสำคัญยิ่งกว่าที่เกี่ยวกับ ประโยชน์สาธารณะ ชีวิต ร่างกาย สุขภาพ หรือประโยชน์อื่น ของบุคคล และคำสั่งนั้นได้กระทำโดยสมควรแก่เหตุ ในการนี้ จะมีการกำหนดข้อจำกัดหรือเงื่อนไขในการใช้ข้อมูลข่าวสารนั้น ตามความเหมาะสมก็ได้

47 การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ตามวรรคหนึ่ง ไม่เป็นเหตุให้หน่วยงานของรัฐ
พ้นจากความรับผิดตามกฎหมาย หากจะพึงมีในกรณีดังกล่าว

48 3. แนวทาง และ กลไก ในการปฏิบัติตามกฎหมาย
3. แนวทาง และ กลไก ในการปฏิบัติตามกฎหมาย

49 3.3 กลไกในการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.
3.3 กลไกในการปฏิบัติตาม พ.ร.บ. คณะกรรมการ ข้อมูลข่าวสารของราชการ

50 คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ
นรม. ประธานกรรมการ ปลัดกระทรวง….. นร/ กห/กส/กค/กต/ มท/ พณ เลขาธิการ…….. สคก/กพ/สมช/สภาผู้แทนราษฎร ผู้อำนวยการ….. สำนักข่าวกรองฯ /สำนักงบฯ ผู้ทรงคุณวุฒิ……. จากภาครัฐ และเอกชน 9 ท่าน

51 อำนาจหน้าที่ (1) สอดส่อง ดูแล แนะนำการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ (2) ให้คำปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐ (3) เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง หรือระเบียบ (4) พิจารณาและให้ความเห็นเรื่องร้องเรียนตาม ม. 13 (5) จัดทำรายงานการปฏิบัติตาม พรบ. เสนอ ครม. อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง (6) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้ (7) ดำเนินการตามที่ ครม. หรือ นรม. มอบหมาย (ม. 28)

52 คณะกรรมการวินิจฉัย การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
คณะกรรมการวินิจฉัย การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร สาขาต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ซึ่ง ครม. แต่งตั้งคณะหนึ่ง ๆ ประกอบด้วย บุคคลตามความจำเป็น แต่ต้องไม่น้อยกว่าสามคน

53 อำนาจหน้าที่  พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ตาม ม. 14 หรือ ม. 15 หรือคำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้าน ตาม ม. 17 และคำสั่งไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลง หรือลบข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลตาม ม. 28  ให้ กขร. ส่งคำอุทธรณ์ให้คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผย ข้อมูลข่าวสารโดยคำนึงถึงความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ภายใน 7 วันนับแต่วันที่ได้รับคำอุทธรณ์ (เพื่อพิจารณาภายใน 30 วัน)

54 คณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ที่ได้รับการแต่งตั้งแล้ว จำนวน 5 สาขา คณะกรรมการวินิจฉัย การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร 5 คณะ สาขา ด้านต่างประเทศ และความมั่นคงฯ สาขา ด้านสังคมการบริหาร ราชการแผ่นดิน สาขา ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ฯ สาขา ด้านการแพทย์ และสาธารณสุข สาขา ด้านเศรษฐกิจ และการคลัง

55 สำนักงานคณะกรรมการ ข้อมูลข่าวสารของราชการ
สำนักงานคณะกรรมการ ข้อมูลข่าวสารของราชการ มีหน้าที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานธุรการและวิชาการให้แก่คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการและคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารประสานงานกับหน่วยงานของรัฐและให้คำปรึกษาแก่เอกชนเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม พ.ร.บ.นี้

56 มาตรการดำเนินงาน ประสานงานภาครัฐและเอกชน 2) งานวิชาการและพัฒนาระบบ
2) งานวิชาการและพัฒนาระบบ ข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ 4) การสอดส่องดูแลให้คำแนะนำ และประเมินผลการปฏิบัติงาน

57 หน่วยงานของรัฐ ขั้นเตรียมการ
หน่วยงานของรัฐ ขั้นเตรียมการ 1. สร้างระบบการจัดเก็บข้อมูล 2. เตรียมบุคลากร สถานที่ และอุปกรณ์ 3. จำแนกประเภทข้อมูลข่าวสาร  ทั่วไป/ส่วนบุคคล/ประวัติศาสตร์  จำแนกตามวิธีการเปิดเผย  จำแนกข้อมูลที่ไม่อาจเปิดเผย

58 4. กำหนดรายละเอียดการดำเนินการ
 วิธีการและเจ้าหน้าที่  วิธีการคุ้มครองข้อมูลข่าวสาร  ค่าธรรมเนียม 5. วางระเบียบและกำหนดแนวทางอื่น

59 ขั้นดำเนินการ  เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร (ม
ขั้นดำเนินการ  เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร (ม.7, 9, 11)  สั่งเปิดเผย หรือมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสาร (ม.15)  แจ้งให้ผู้มีประโยชน์ได้เสียในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร คัดค้านการเปิดเผยนั้น (ม.17 วรรคแรก)  จัดระบบและ รปภ.ข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล (ม.23 (5))  ส่งมอบข้อมูลข่าวสารที่ไม่เก็บรักษาหรือไม่เปิดเผย แต่ครบอายุการเก็บ ให้หอจดหมายเหตุ เพื่อให้ประชาชน ศึกษาค้นคว้า (ม. 26)

60 4. ผลกระทบของกฎหมายกับหน่วยงานของรัฐ และประโยชน์สาธารณะ
4. ผลกระทบของกฎหมายกับหน่วยงานของรัฐ และประโยชน์สาธารณะ

61 4.1 สิทธิประชาชน สิทธิในการขอคำปรึกษา กับ สขร. ตาม ม. 6
4.1 สิทธิประชาชน สิทธิในการขอคำปรึกษา กับ สขร. ตาม ม. 6 สิทธิเข้าตรวจดูข้อมูลของราชการ ตาม ม. 9 สิทธิขอข้อมูลข่าวสารของราชการ ตาม ม. 11 สิทธิที่จะได้รู้ถึงข้อมูลส่วนบุคคล ตาม ม. 25 สิทธิในการดำเนินการแทนผู้เยาว์ ฯลฯ ตาม ม. 25 สิทธิในการร้องเรียน ตาม ม. 13 สิทธิในการอุทธรณ์ ตาม ม. 18

62 4. 3 ปัญหาทางปฏิบัติของหน่วยงาน  ความสำคัญเชิงนโยบาย
4.3 ปัญหาทางปฏิบัติของหน่วยงาน  ความสำคัญเชิงนโยบาย  หน่วยงานศูนย์กลาง  เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ  การจัดเก็บเอกสาร

63 4.4 ประชาชน  ทัศนคติ  ความไม่คุ้นเคย  ความกลัว
4.4 ประชาชน  ทัศนคติ  ความไม่คุ้นเคย  ความกลัว

64 4.5 เจ้าหน้าที่  ทัศนคติ  ความไม่คุ้นเคย  ความกลัว
4.5 เจ้าหน้าที่  ทัศนคติ  ความไม่คุ้นเคย  ความกลัว

65 มติคณะรัฐมนตรี ในฐานะ มาตรการกำกับการบังคับใช้กฎหมาย

66 มติ ค.ร.ม. 29 ธ.ค.41 กำหนดแนวทางดำเนินการในปีงบฯ 42-43
1. ให้กระทรวง ทบวง กรม ถือเป็นนโยบายสำคัญ ที่ต้องปฏิบัติให้เกิดผล โดยต้องจัดโครงการให้ความรู้ข้าราชการ 2. ให้หน่วยงานของรัฐทุกแห่ง แต่งตั้งบุคคลหรือคณะกรรมการ รับผิดชอบเป็นการเฉพาะ 3. ให้กระทรวง ทบวง คัดเลือกส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ อย่างน้อย 1 แห่ง เพื่อเป็นหน่วยงานตัวอย่าง

67 มติ ค.ร.ม. 9 มี.ค.42 1. เมื่อ กขร.ให้คำแนะนำ หรือให้ความเห็นต่อเรื่องร้องเรียนให้หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด และโดยด่วนที่สุด 2. เมื่อ สขร.ขอความร่วมมือ ขอเอกสาร/ข้อเท็จจริง ให้หน่วยงานของรัฐให้ความสำคัญและให้ความร่วมมือ

68 3. เมื่อมีคำวินิจฉัย ให้ถือปฏิบัติตาม ภายใน 7 วัน
4. หากไม่ปฏิบัติตามโดยไม่มีเหตุผลสมควร ให้ผู้บังคับบัญชาลงโทษทางวินัยทุกกรณี

69 มติ ค.ร.ม. 30 พ.ย. 42 1. ให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติ
1. ให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติ ตาม พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารฯ โดยให้รายงานผลการติดตาม ให้ กขร. ทราบ ในเดือนเมษายน และตุลาคม ้ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นหน่วยงานหลัก โดยกำหนดเป็นแผนการตรวจราชการ ของผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี

70 ประเมินผล โดยมอบหมายผู้ตรวจราชการ กระทรวง / กรม รับผิดชอบ
3. ให้กระทรวง ทบวง กรม เร่งรัดการติดตาม ประเมินผล โดยมอบหมายผู้ตรวจราชการ กระทรวง / กรม รับผิดชอบ 4. ให้ผู้ตรวจราชการกรมการปกครอง ติดตามการ ปฏิบัติของหน่วยงานท้องถิ่น

71 มติ ค.ร.ม. 1 ก.พ. 43 1. ให้หน่วยงานของรัฐเร่งรัดการปฏิบัติตามกฎหมาย
และการให้บริการข้อมูลข่าวสารต่อประชาชน 2. ขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาสนับสนุนงบประมาณ อัตรากำลัง และการพัฒนาบุคลากร ที่เหมาะสมแก่ สขร.

72 3. ให้กรรมการผู้แทนส่วนราชการใน กขร.
ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติงานในฐานะ กรรมการอย่างต่อเนื่อง เป็นเวลาอย่างน้อย 2 ปี เพื่อให้การดำเนินงานในหน่วยงานของรัฐ เป็นไปอย่างต่อเนื่อง และเกิดผลในทางปฏิบัติอย่างจริงจัง

73 4. เพื่อให้การพัฒนาข้อมูลข่าวสารดำเนินไป
อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง ให้สำนักนายกรัฐมนตรี และหน่วยงานของรัฐทุกแห่ง พิจารณากำหนดแนวทางพัฒนางานบริหารข้อมูลข่าวสาร งานสารบรรณ ให้เป็นระบบอ้างอิงทั่วถึงกันได้ทั่วประเทศ

74 5. ให้ ก.พ. พิจารณาวางระบบการประเมินผลงาน
เพื่อเลื่อนระดับเจ้าหน้าที่ของรัฐตั้งแต่ระดับ 7 ขึ้นไป โดยให้คำนึงถึงการพัฒนาความรู้ และความสามารถ ด้านการบริหารงานให้เป็นตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ และ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองฯ

75 และให้ ก.พ.พิจารณาหลักเกณฑ์การสอบแข่งขันบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งนิติกร ต้องผ่านการสอบความรู้วิชากฎหมาย พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ และ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองฯ ในฐานะวิชาบังคับควบคู่กับความรู้กฎหมายว่าด้วยการบริหารราชการแผ่นดิน

76 รัฐรู้อย่างไร ประชาชนรู้อย่างนั้น

77 เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น

78 สำนักงาน คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ โทร
สำนักงาน คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ โทร โทรสาร


ดาวน์โหลด ppt พระราชบัญญัติ ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google