งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม
“สัมมาชีพชุมชน” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม คำนึงถึง ความเป็นธรรมทางสังคม

2 นิยามศัพท์ที่สำคัญ... สัมมาชีพ หมายถึง อาชีพที่ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม และมีรายได้มากกว่ารายจ่าย เป็นความพยายามที่จะปรับจากการ “ทำมาหากิน”เป็น “ทำมาค้าขาย” โดยไม่ได้เอากำไรสูงสุดเป็นตัวตั้ง หรือเป็นเป้าหมายสุดท้าย และต้องคำนึงถึงความเป็นธรรมทางสังคม ปราชญ์ชุมชน หมายถึง ผู้ที่ประกอบสัมมาชีพ จนมีความรู้ความชำนาญในการประกอบอาชีพ หรือมีความเชี่ยวชาญในอาชีพนั้นๆ ประสบความสำเร็จและมีความมั่นคงในอาชีพเป็นที่ยอมรับของคนในชุมชน พร้อมมีจิตอาสาที่จะถ่ายทอดและขยายผลไปยังบุคคลอื่นๆ ในชุมชน

3 นิยามศัพท์ที่สำคัญ... วิทยากรสัมมาชีพชุมชน หมายถึง ปราชญ์ชุมชนที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตร “วิทยากรผู้นำสัมมาชีพ” จากศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ทั้ง 11 แห่ง ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมายถึง ทีมปราชญ์ชุมชนของหมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน ประกอบด้วย 1) วิทยากรผู้นำสัมมาชีพ 1 คน และ 2) ปราชญ์ชุมชนที่เข้าร่วมเป็นทีมเพิ่มเติมอีกหมู่บ้านละ 4 คน

4 นิยามศัพท์ที่สำคัญ... ผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล หมายถึง วิทยากรสัมมาชีพชุมชนที่ผ่านการพัฒนาตามระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน (มชช.) ตำบลละ 1-2 คน ครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพ หมายถึง ครัวเรือนในหมู่บ้านตามยุทธศาสตร์ที่ 1 (23,589 หมู่บ้าน) จำนวนหมู่บ้านละ 20 ครัวเรือน ที่แสดงความประสงค์ต้องการเข้ารับ การฝึกอาชีพตามแบบสำรวจความต้องการฝึกอาชีพของคนในชุมชน

5 นิยามศัพท์ที่สำคัญ... ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน หมายถึง ครัวเรือนในหมู่บ้านตามยุทธศาสตร์ที่ 1 (23,589 หมู่บ้าน) จำนวนหมู่บ้านละ 20 ครัวเรือนที่ผ่านการอบรมส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน จำนวน 5 วัน และหมายความรวมถึงครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนเพิ่มเติมอีกอย่างน้อย 10 ครัวเรือน ที่ขยายผลตามโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง หมายถึง ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนที่ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ที่กำหนดในระดับจังหวัด หรือระดับภาค

6 นิยามศัพท์ที่สำคัญ... กลุ่มอาชีพ หมายถึง กลุ่มที่จัดตั้งขึ้นใหม่จากการรวมตัวของผู้แทนครัวเรือนในหมู่บ้านตามยุทธศาสตร์ที่ 1 (23,589 หมู่บ้าน) ตั้งแต่ 5 ครัวเรือนขึ้นไป ซึ่งผ่านการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน จำนวน 5 วันที่มีการประกอบอาชีพเดียวกันหรือประเภทอาชีพเดียวกันมาร่วมกันดำเนินการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการประกอบอาชีพ

7 นิยามศัพท์ที่สำคัญ... ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน หมายถึง กลุ่มองค์กรเครือข่ายพัฒนาชุมชน 4 องค์กร ได้แก่ 1) คณะกรรมการบริหารสำนักงานกลางศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนหรือ ศอช.จ/ศอช.อ. /ศอช.ต. 2) สมาคมผู้นำสตรีพัฒนาชุมชนไทยหรือกพสจ./กพสอ./กพสต. 3) สมาคมผู้นำอาสาพัฒนาชุมชนไทยหรือคณะกรรมการชมรมอาสาพัฒนาชุมชน ระดับจังหวัด/อำเภอ 4) สมาคมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตหรือคณะกรรมการเครือข่าย กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตระดับจังหวัด/อำเภอหรือผู้แทน คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต

8 เป้าหมาย>> ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้
กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เป้าหมาย>> ประชาชนได้รับการพัฒนาอาชีพและมีรายได้ ร้อยละ 85 ของ แผนชุมชน มีการนำไปใช้ในการพัฒนาอาชีพ ประชาชนที่ได้รับ การส่งเสริมอาชีพ 471,780 ราย/ครัวเรือน กลุ่มอาชีพ ที่ได้รับการพัฒนา 2,360 กลุ่ม หน่วยดำเนินการ โครงการหลัก โครงการ ยกระดับต่อยอด โครงการสนับสนุน สพช. (ศูนย์ศึกษาฯ) ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับประเทศ ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ ส่วนกลาง พัฒนาผู้นำสัมมาชีพ 23,589 หมู่บ้าน (คน) ประชุมเชิงปฏิบัติการวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด 23,589 หมู่บ้าน (คน) เตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน 23,589 หมู่บ้านๆ ละ 5 คน ส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชน ในระดับหมู่บ้าน 23,589 หมู่บ้านๆละ 20 คน สนับสนุนการจัดตั้งและ พัฒนากลุ่มอาชีพ จำนวน 2,360 กลุ่ม ประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างเครือข่าย นักจัดการความรู้ชุมชน ไตรมาส 1 จำนวน 76 จังหวัดๆ ละ 2 คน จำนวน 3 วัน ส่วนกลาง ไตรมาส 1-2 จำนวนรุ่นละ 4 วัน ไตรมาส 1,3 จำนวน 4 รุ่นละ 3 วัน ประชุมเชิงปฏิบัติการ องค์กรสตรีระดับภาค ส่งเสริมครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ไตรมาส 1,3 จำนวน 4 ภาคๆ ละ 2 วัน ระดับจังหวัด ระดับจังหวัด จังหวัด พัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล ไตรมาส 2,4 จำนวน 6,095 คน เฉลี่ยตำบลๆ ละ 1 คน ไตรมาส 1-2 จำนวน 1 วัน ไตรมาส 1,3 จำนวน 1 วัน ระดับหมู่บ้าน พัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ไตรมาส 1 จำนวน 76 จังหวัด ๆ ละ 1 รุ่นๆ ละ 3 วัน จำนวน 20 คน/รุ่น ระดับอำเภอ อำเภอ ไตรมาส 1-2 จำนวน 3 วัน บูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล ไตรมาส 1 จำนวน 6,095 ตำบลๆ ละ 1 วัน ระดับหมู่บ้าน ไตรมาส 1,3 จำนวน 1 วัน อำเภอ สนับสนุนสัมมาชีพ แก่ครัวเรือนยากจน ไตรมาส 2 จำนวน 10,054 ครัวเรือน ไตรมาส 1-2 จำนวน 5 วัน ระดับหมู่บ้าน พัฒนาหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ไตรมาส 3 จำนวน 878 หมู่บ้าน อำเภอ ไตรมาส 3-4 จำนวน 1 วัน

9 กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน :
เป้าหมาย >> ครัวเรือนเป้าหมายในหมู่บ้าน ได้รับการพัฒนาอาชีพและ มีรายได้เฉลี่ยเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 โครงการหลัก 5 โครงการ ดังนี้ สนับสนุนการจัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพ 2,360 กลุ่ม (กลุ่มละ 1 วัน) 5 4 3 เตรียมความพร้อม ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน (หมู่บ้านละ 3 วัน) ส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 20 คน (หมู่บ้านละ 5 วัน) 2 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการ วิทยากรสัมมาชีพระดับจังหวัด 23,589 คน ( จังหวัดละ 1 วัน) พัฒนาผู้นำสัมมาชีพ เป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชน 23,589 คน (รุ่นละ 4 วัน)

10 ดำเนินการรุ่นละ 4 วัน กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินการ
1. โครงการพัฒนาผู้นำสัมมาชีพ... กลุ่มเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ระยะเวลาดำเนินการ ปราชญ์ชุมชน มีทักษะ การถ่ายทอดองค์ความรู้และสามารถกลับไปสอน อาชีพได้ จำนวน 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 1 คน รวมทั้งสิ้น 23,589 คน หน่วยดำเนินการ ไตรมาส 1-2 (ต.ค.59-มี.ค.60) ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน 11 แห่ง สถาบันการพัฒนาชุมชน ดำเนินการรุ่นละ 4 วัน วิทยากรสัมมาชีพชุมชน จำนวน 23,589 คน/หมู่บ้าน ผลผลิต

11 เงื่อนไข : จังหวัด : กรณีเปลี่ยนแปลง :
1. โครงการพัฒนาผู้นำสัมมาชีพ... กรณีเปลี่ยนแปลง : ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขฐานข้อมูลและแจ้งให้กรมฯ ทราบตามแบบทะเบียนข้อมูลทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน จังหวัด : ตรวจสอบปราชญ์ชุมชนเป้าหมายที่จะเข้ารับการอบรมตามหลักสูตร “วิทยากรผู้นำสัมมาชีพ” เงื่อนไข : เป็นบุคคลเดียว กับฐานข้อมูล ตามแบบรายงานปราชญ์ชุมชนฯ

12 สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ดำเนินการจังหวัดละ 1 วัน
2. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ วิทยากรสัมมาชีพระดับจังหวัด... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย สร้างทีมปราชญ์ชุมชนตามประเภทอาชีพและวางแผนปฏิบัติการ ฝึกอาชีพให้กับประชาชน ในหมู่บ้าน จำนวน 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 1 คน รวมทั้งสิ้น 23,589 คน ระยะเวลาดำเนินการ หน่วยดำเนินการ ไตรมาส 1-2 (ต.ค.59-มี.ค.60) สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด ดำเนินการจังหวัดละ 1 วัน วิทยากรสัมมาชีพชุมชน จำนวน 23,589 คน/หมู่บ้าน ผลผลิต

13 เงื่อนไข : จังหวัด : จัดทำฐานข้อมูล :
2. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ วิทยากรสัมมาชีพระดับจังหวัด... เงื่อนไข : ดำเนินการเมื่อกลุ่มเป้าหมาย ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร “วิทยากรผู้นำสัมมาชีพ”ครบทั้งจังหวัด หรือครบ ทั้งอำเภอ (กรณีมีจำนวนกลุ่มเป้าหมายปริมาณมาก) โดยสามารถจัดประชุม เป็นรุ่นได้ จัดทำฐานข้อมูล : วิทยากรสัมมาชีพชุมชน ตามแบบฟอร์ม ที่กรมฯ กำหนด จังหวัด : ดำเนินการประชุมฯ ตามกรอบการเรียนรู้ ในเล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 6-8

14 ดำเนินการหมู่บ้านละ 3 วัน สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ
3. โครงการเตรียมความพร้อม ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย สร้างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านให้มีความพร้อม สามารถจัดการฝึกอบรมอาชีพ ให้กับประชาชนในหมู่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำนวน 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 5 คน รวมทั้งสิ้น 117,945 คน ระยะเวลาดำเนินการ ไตรมาส 1-2 (ต.ค.59-มี.ค.60) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการหมู่บ้านละ 3 วัน สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ 1. ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน จำนวน 117,945 คน (หมู่บ้านละ 5 คน) 2. ครัวเรือนเป้าหมายฯ 20 ครัวเรือนพร้อมฝึกอาชีพ ผลผลิต

15 3. โครงการเตรียมความพร้อม ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน
จังหวัด : ดำเนินการเตรียมความพร้อมตามกรอบการเรียนรู้ ในเล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 10-13 เงื่อนไข : ) ดำเนินการหลังจากปราชญ์ชุมชนหมู่บ้านละ 1 คน ผ่านการประชุมเชิงปฏิบัติการ วิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัดเรียบร้อยแล้ว 2) ดำเนินการ 3 วัน ดังนี้ 3) จัดทำฐานข้อมูลทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านตามแบบฟอร์ม ที่กรมฯ กำหนด วันที่ สร้างความรู้ ความเข้าใจการสร้างสัมมาชีพชุมชน - สร้างทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน การวิเคราะห์สถานการณ์ความต้องการอาชีพของของครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการ ฝึกอาชีพ วันที่ การเตรียมความพร้อมครัวเรือนเป้าหมาย ที่ต้องการฝึกอาชีพ

16 4. โครงการส่งเสริมการสร้าง สัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน...
กลุ่มเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวน 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 20 คน รวมทั้งสิ้น 471,780 คน ระยะเวลาดำเนินการ ส่งเสริมอาชีพตามแนวทางสัมมาชีพชุมชนแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ไตรมาส 1-2 (ต.ค.59-มี.ค.60) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการหมู่บ้านละ 5 วัน สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ ครัวเรือนเป้าหมายที่ได้รับ การส่งเสริมอาชีพ 471,780 ครัวเรือน ผลผลิต

17 4. โครงการส่งเสริมการสร้าง สัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน...
อำเภอ : ดำเนินการส่งเสริมฯ ตามกรอบการเรียนรู้ในเล่มแนวทาง การสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 15-16 เงื่อนไข : ) ดำเนินการหลังจากดำเนินโครงการเตรียมความพร้อมทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ระดับหมู่บ้านเรียบร้อยแล้ว 2) ดำเนินการ 5 วัน ดังนี้ วันที่ สร้างความรู้ ความเข้าใจในเรื่องอาชีพที่ต้องการเรียนรู้ (ความรู้ทางวิชาการ ประกอบด้วย แนวคิด ทฤษฎี หลักการและการสาธิตอาชีพในเบื้องต้น) วันที่ ศึกษาดูงาน วันที่ ฝึกปฏิบัติภายในครัวเรือนเป้าหมายที่ต้องการฝึกอาชีพ

18 4. โครงการส่งเสริมการสร้าง สัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน...
อำเภอ : ดำเนินการส่งเสริมฯ ตามกรอบการเรียนรู้ในเล่มแนวทาง การสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 15-16 เงื่อนไข : 3) คัดเลือกครัวเรือนเป้าหมายที่เข้าร่วมฝึกอาชีพ จำนวนหมู่บ้านละ 20 ครัวเรือน (ครัวเรือนละ 1 คน) ให้พิจารณาจาก ทะเบียนครัวเรือนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นอันดับแรก แบบสำรวจความต้องการฝึกอาชีพของคนในชุมชนที่สมัครใจและตั้งใจฝึกอาชีพ ฯ (คัดเลือกให้แล้วเสร็จในช่วง 3 วันของโครงการเตรียมความพร้อมฯ) 4) ทั้ง 20 ครัวเรือนต้องมีการจัดเก็บจปฐ.ในปี ) การวิเคราะห์ประเภทอาชีพเพื่อฝึกอบรมและกำหนดสถานที่ศึกษาดูงาน ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จในช่วง 3 วันของโครงการเตรียมความพร้อมทีมวิทยากรฯ) กรณีเปลี่ยนแปลง : ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขฐานข้อมูลและแจ้งให้กรมฯ ทราบตามแบบทะเบียนข้อมูลครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน

19 4. โครงการส่งเสริมการสร้าง สัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน...
เงื่อนไข : ) ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านต้องรวบรวมข้อมูล (ตามข้อ 5) และประสาน สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอจัดซื้อวัสดุฝึกอาชีพ เพื่อดำเนินการสนับสนุน การฝึกอาชีพ ให้ครัวเรือนเป้าหมายนำไปฝึกอาชีพได้จริง ก่อนเริ่มดำเนินการฝึกอบรม 7) กรณีวิทยากรสัมมาชีพชุมชนในหมู่บ้านไม่มีความรู้ในเรื่องที่ครัวเรือนเป้าหมาย ต้องการฝึกอาชีพ ให้พิจารณาคัดเลือกจาก 8) การศึกษาดูงานให้เน้นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ หรือศูนย์เรียนรู้ชุมชน หรือ บ้านปราชญ์ชุมชนในอำเภอ 9) กรณีงบประมาณไม่เพียงพอหรือต้องการรวมทำเป็นลักษณะกลุ่ม ก็ให้ดำเนินการฝึกปฏิบัติในรูปของกลุ่ม 10) ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ต้องติดตามเยี่ยมเยียน และ รายงานผลการประกอบอาชีพตามแบบฟอร์มการติดตามครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน ทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน ประสานขอรับการสนับสนุนจากวิทยากรสัมมาชีพชุมชนที่จังหวัดได้จัดกลุ่ม ประเภทอาชีพไว้

20 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ ดำเนินการกลุ่มละ 1 วัน
5. โครงการสนับสนุน การจัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพ... กลุ่มเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จัดตั้งกลุ่มอาชีพใหม่2,360 กลุ่ม (ร้อยละ 10 ของจำนวนหมู่บ้านเป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินการ ส่งเสริมและสนับสนุน ให้ครัวเรือนสัมมาชีพ ที่ผ่านการพัฒนามี การรวมกลุ่มจัดตั้งและพัฒนาเป็นกลุ่มอาชีพ ที่ก่อให้เกิดรายได้ หน่วยดำเนินการ ไตรมาส 3-4 (เม.ย.-ก.ย.60) สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ ดำเนินการกลุ่มละ 1 วัน กลุ่มอาชีพที่ได้รับการพัฒนา 2,360 กลุ่ม ผลผลิต

21 5. โครงการสนับสนุน การจัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพ...
อำเภอ : ดำเนินการส่งเสริมฯ ตามกรอบการเรียนรู้ในเล่มแนวทางสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 19-20 เงื่อนไข : ) ดำเนินการหลังจากดำเนินหลังจากโครงการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชน ในระดับหมู่บ้าน เรียบร้อยแล้ว 2) การจัดตั้งและพัฒนากลุ่มอาชีพให้พิจารณาคัดเลือกจากหมู่บ้านยุทธศาสตร์ที่ โดยมีหลักเกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกที่สำคัญ ดังนี้ 3) จัดทำฐานข้อมูลกลุ่มอาชีพตามแนวทางสัมมาชีพชุมชนตามแบบฟอร์มที่กรมฯ กำหนด 4) จดทะเบียนกลุ่มอาชีพกับสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีครัวเรือนในหมู่บ้านตามยุทธศาสตร์ที่ 1 ตั้งแต่ 5 ครัวเรือนขึ้นไป ซึ่งผ่านการส่งเสริมการสร้าง สัมมาชีพชุมชนใน ระดับหมู่บ้าน จำนวน 5 วัน ที่มีการประกอบอาชีพเดียวกันหรือประเภทอาชีพ เดียวกันมาร่วมกันดำเนินการ อาชีพตามข้อ 1) มีโอกาสที่จะสำเร็จได้สามารถสร้างรายได้จริง และมีความเชื่อมโยงกับการตลาด ตามข้อมูลและแผนของจังหวัด เป็นกลุ่มอาชีพที่จัดตั้งขึ้นใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการประกอบอาชีพ และสร้างรายได้

22 กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน :
โครงการสนับสนุน 3 โครงการ ดังนี้ 1 2 3 ประชุม เชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุน การขับเคลื่อน สัมมาชีพชุมชนระดับประเทศ ประชุม เชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด ประชุม เชิงปฏิบัติการ ทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ

23 วัตถุประสงค์ ดำเนินการประชุม 4 ครั้งๆละ 3 วัน กลุ่มเป้าหมาย
1. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับประเทศ... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย สมาพันธ์องค์การ พัฒนาชุมชน 6 องค์กร รวมทั้งสิ้น 100 คน ผู้นำเครือข่ายองค์กรชุมชนระดับประเทศ มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถสนับสนุนการขับเคลื่อนกิจกรรมสัมมาชีพชุมชนได้ ระยะเวลาดำเนินการ ไตรมาส 1-3 (ต.ค.59-มิ.ย.60) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการประชุม 4 ครั้งๆละ 3 วัน สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน ร้อยละ 85 ของผู้นำเครือข่ายองค์กรชุมชนระดับประเทศสามารถเป็นกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับประเทศได้ ผลผลิต

24 ไตรมาส 1,3 (ต.ค. -ธ.ค. 59 และเม.ย.-มิ.ย.60) สำนักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัด
2. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย 4 องค์กร 1) ศอช.จ. 2) กพสจ. 3) ชมรมอาสาพัฒนาชุมชน ระดับจังหวัด 4) เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ ฯ ระดับจังหวัด รวมทั้งสิ้น 50 คน ระยะเวลาดำเนินการ องค์กรที่เป็นทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด สามารถเป็นกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน ระดับจังหวัดได้ ไตรมาส 1,3 (ต.ค. -ธ.ค. 59 และเม.ย.-มิ.ย.60) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการ ประชุมฯ ไตรมาส 1 จำนวน 1 ครั้งๆ ละ 1 วัน ติดตามฯ ไตรมาส 3 สำนักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัด ร้อยละ 85 ของทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัดสามารถเป็นกลไกขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ ผลผลิต

25 2. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัด...
เงื่อนไข : ดำเนินการหลังจากส่วนกลางจัดประชุมเชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับประเทศเรียบร้อยแล้ว จัดประชุมคณะกรรมการองค์กรในทุกระดับ โดยใช้การประชุมปกติขององค์กรที่ต้องมีการประชุมกันอยู่แล้ว กำหนดแผนปฏิบัติการส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชนร่วมกัน กำหนดวิธีการติดตาม เพื่อเยี่ยมเยียน ส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชนในพื้นที่ร่วมกัน จังหวัด : ดำเนินการประชุมตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับเล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 23-24

26 ไตรมาส 1,3 (ต.ค. -ธ.ค. 59 และเม.ย.-มิ.ย.60) สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ
3. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย องค์กรที่เป็น ทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ สามารถเป็นกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน ระดับอำเภอได้ 4 องค์กร 1) ศอช.อ. 2) กพสอ. 3) ชมรมอาสาพัฒนาชุมชน ระดับอำเภอ 4) เครือข่ายกลุ่มออมทรัพย์ ฯ ระดับอำเภอ รวมทั้งสิ้น 50 คน ระยะเวลาดำเนินการ ไตรมาส 1,3 (ต.ค. -ธ.ค. 59 และเม.ย.-มิ.ย.60) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการ ประชุมฯ ไตรมาส 1 จำนวน 1 ครั้งๆ ละ 1 วัน ติดตามฯ ไตรมาส 3 สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ ร้อยละ 85 ของทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอสามารถเป็นกลไกขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ ผลผลิต

27 3. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุน การขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอ...
เงื่อนไข : ดำเนินการหลังจากจังหวัดจัดประชุม เชิงปฏิบัติการทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับจังหวัดเรียบร้อยแล้ว จัดประชุมคณะกรรมการองค์กรในทุกระดับ โดยใช้การประชุมปกติขององค์กรที่ต้องมีการประชุมกันอยู่แล้ว กำหนดแผนปฏิบัติการส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชนร่วมกัน กำหนดวิธีการติดตาม เพื่อเยี่ยมเยียน ส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชนในพื้นที่ร่วมกัน อำเภอ : ดำเนินการประชุมตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับเล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 24-26

28 กระบวนการสร้างสัมมาชีพชุมชน :
โครงการยกระดับต่อยอด 7 โครงการ ดังนี้ ส่วนกลาง ภาค จังหวัด อำเภอ 1 2 3 5 ประชุมเชิง ปฏิบัติการ องค์กรสตรี ระดับภาค ส่งเสริม ครัวเรือน สัมมาชีพชุมชน ประชุม เชิงปฏิบัติการ สร้างเครือข่าย นักจัดการความรู้ชุมชน บูรณาการ แผนชุมชน ระดับตำบล พัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชน ระดับตำบล 6 พัฒนา หมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบ 4 พัฒนาผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน 7 สนับสนุนสัมมาชีพ แก่ครัวเรือนยากจน

29 สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
1. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างเครือข่ายนักจัดการความรู้ชุมชน... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย สร้างความเข้าใจ และพัฒนาทักษะการเป็น นักจัดการความรู้ชุมชน เพื่อให้นักจัดการความรู้สามารถสร้างเครือข่ายนักจัดการความรู้ชุมชนในระดับชุมชนได้ สร้างเครือข่ายนักจัดการความรู้ระดับจังหวัด และระดับชุมชน ให้สามารถ เป็นทีมเครือข่ายในการพัฒนา และนำความรู้ในการจัดความรู้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ระยะเวลาดำเนินการ จำนวน 76 จังหวัดๆ ละ 2 คน รวม 152 คน ประกอบด้วย 1) นักวิชาการพัฒนาชุมชน ของสพจ จังหวัดๆ ละ 1 คน 2) ผู้นำสัมมาชีพที่ผ่านการ อบรมหรือเตรียมเข้ารับ การอบรมหลักสูตร วิทยากรผู้นำสัมมาชีพ จากกรมฯ จังหวัดละ 1 คน ไตรมาส 1 (ต.ค. -ธ.ค. 59) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการ จำนวน 3 วัน สำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน มีเครือข่ายนักจัดการความรู้ชุมชน 76 จังหวัด ผลผลิต

30 วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาดำเนินการ
2. โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการองค์กรสตรี ระดับภาคส่งเสริมครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค มีความเข้าใจ และสามารถส่งเสริม องค์กรสตรีใน การสนับสนุน การขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาสตรีและครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน คณะกรรมการพัฒนาสตรีภาค (กพสภ.) 4 ภาค ระยะเวลาดำเนินการ ไตรมาส 1,3 (ต.ค. -ธ.ค. 59 และเม.ย.-มิ.ย.60) หน่วยดำเนินการ จังหวัด : ดำเนินโครงการตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับเล่มแนวทาง การสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 37-38 ดำเนินการ ประชุมฯ ไตรมาส 1 จำนวน 4 ภาคๆ ละ 1 ครั้งๆ ละ 2 วัน ติดตามฯ ไตรมาส 3 สำนักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัดที่ตั้งภาค (จังหวัดเชียงราย ชลบุรี อุดรธานี และสตูล) 1. จำนวนครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง ระดับจังหวัด 76 ครัวเรือน (จังหวัดละ 1 ครัวเรือน) 2. จำนวนครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง ระดับภาค 12 ครัวเรือน (ภาคละ 3 ครัวเรือน) ผลผลิต

31 3. โครงการพัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล ...
3. โครงการพัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล ... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ผู้นำ สัมมาชีพชุมชน จำนวน 6,095 คน ระยะเวลาดำเนินการ ยกระดับผู้นำ สัมมาชีพชุมชน ให้ผ่านการรับรอง ด้วยระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ไตรมาส 2-4 (ม.ค.-ก.ย.60) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการ ประชุมฯ ไตรมาส 2 จังหวัดละ 1 วัน ประเมินฯ ไตรมาส 4 สำนักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัด ร้อยละ 80 ของผู้นำสัมมาชีพชุมชน ในตำบลเป้าหมาย จำนวน 6,095 คน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผลผลิต

32 3. โครงการพัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล ...
3. โครงการพัฒนา ผู้นำสัมมาชีพชุมชนระดับตำบล ... เงื่อนไข : สพจ./สพอ.รับสมัครและคัดเลือกผู้นำสัมมาชีพชุมชนที่ผ่านหลักสูตรผู้นำสัมมาชีพ จากกรมฯ จำนวน 6,095 คน เฉลี่ยตำบลละ 1 คน (กรณีที่ได้รับจัดสรรจำนวนเป้าหมายเกินกว่าตำบลที่มีในพื้นที่ยุทธศาสตร์ที่ 1 ให้กระจายจำนวนเป้าหมายไม่เกินตำบลละ 2 คน) จังหวัด : ดำเนินการประชุมตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับเล่มแนวทางสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 35-36

33 4. โครงการพัฒนา ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ...
4. โครงการพัฒนา ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย พัฒนาศักยภาพคน รุ่นใหม่ ในชุมชน ให้สามารถเป็นกลไก ในการบริหารจัดการชุมชนและเป็นผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ ที่สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน จำนวน 76 รุ่น ๆ ละ 20 คน รวม 1,520 คน ระยะเวลาดำเนินการ ไตรมาส 1 (ต.ค.-ธ.ค.59) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการ จังหวัดละ 1 รุ่นๆ ละ 3 วัน สำนักงาน พัฒนาชุมชนจังหวัด ร้อยละ 80 ของผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ที่ได้ผ่านการพัฒนาแล้ว มีความรู้ ความเข้าใจ ในการส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน ในหมู่บ้าน/ชุมชน ผลผลิต

34 4. โครงการพัฒนา ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ...
4. โครงการพัฒนา ผู้นำชุมชนรุ่นใหม่สืบสานงานสัมมาชีพชุมชน ... จังหวัด : ดำเนินโครงการตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับ เล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 36-37 เงื่อนไข : ) สพจ. พิจารณาคัดเลือกหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี ที่ได้รับ งบประมาณจากกรมการพัฒนาชุมชน และเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงยุทธศาสตร์ ที่ 1 (23,589 หมู่บ้าน) เป็นบ้านต้นแบบ (บ้านพี่) เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ จังหวัดละ 1 หมู่บ้าน 2) สพจ. คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย อายุระหว่าง ปี (ซึ่งไม่ได้ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรง ตำแหน่งผู้นำที่เป็นทางการ เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรกำนัน สมาชิก อบต. เป็นต้น) ซึ่งอยู่ในพื้นที่หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงยุทธศาสตร์ที่ 1 จำนวน 3-6 หมู่บ้าน รวม 20 คน 3) สพจ. จัดหาครัวเรือนรับรองในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบฯ (บ้านพี่) เพื่อเป็นที่พักค้างให้แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 3 วัน 2 คืน

35 ศอช.ต. จำนวน 6,095 ตำบล ๆ ละ อย่างน้อย 20 คน สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ
5. โครงการบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ศอช.ต. จำนวน 6,095 ตำบล ๆ ละ อย่างน้อย 20 คน ส่งเสริมการ บูรณาการแผนชุมชนระดับตำบลและการใช้ประโยชน์จากแผนชุมชน ในการสร้าง สัมมาชีพชุมชน สนับสนุนให้ศอช.ต. เป็นกลไกหลัก ในการบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล ที่เชื่อมโยง สู่แผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาอำเภอ และแผนพัฒนาจังหวัด ระยะเวลาดำเนินการ ไตรมาส 1 (ต.ค. -ธ.ค. 59) หน่วยดำเนินการ ดำเนินการ ตำบลละ 1 วัน สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ 1. จำนวนแผนชุมชนระดับตำบล 6,095 ตำบล มีการเชื่อมแผนท้องถิ่นเพื่อพัฒนาอาชีพ 2. ร้อยละ 85 ของแผนชุมชนระดับตำบล มีการนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาอาชีพ ผลผลิต

36 5. โครงการบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล...
5. โครงการบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล... อำเภอ : ดำเนินโครงการตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับ เล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 27-31 เงื่อนไข : ดำเนินการได้ทันทีโดยไม่ต้องรอให้ปราชญ์ชุมชนหมู่บ้านละ 1 คนผ่านการอบรม ตามหลักสูตร “วิทยากรผู้นำสัมมาชีพ” 2. จัดทำไฟล์เอกสารเล่มแผนชุมชนระดับตำบล จัดส่งจังหวัด เพื่อรวมรวมจัดส่งให้ กรมการพัฒนาชุมชนภายในเดือน กุมภาพันธ์ 2560 กรณีได้เป้าหมายตำบลเกินกว่าจำนวนตำบลในพื้นที่ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ดำเนินการคัดเลือกตำบลเพิ่มเติมให้ครบตามจำนวนเป้าหมายที่ได้รับจัดสรร โดยพิจารณาจากตำบลที่มีหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบของกรมฯ อยู่ในพื้นที่ตำบลนั้นจากจำนวนหมู่บ้านมากที่สุดไปหาน้อยที่สุดเป็นลำดับแรก หากยังไม่ครบตามเป้าหมายให้พิจารณาคัดเลือกจากตำบลที่มีศักยภาพเพิ่มเติม กรณีตำบลในยุทธศาสตร์ที่ 1 ไม่มี ศอช.ต. ให้อำเภอประสานการดำเนินงานกับเทศบาลฯ โดยสนับสนุนให้ประธานชุมชน ผู้แทนกลุ่ม/องค์กรในเขตตำบล และแกนนำชุมชนหมู่บ้านในพื้นที่ยุทธศาสตร์ที่ 1 ในพื้นที่นั้น ทำหน้าที่จัดเวทีบูรณาการแผนชุมชนระดับตำบล ทั้งนี้ ขอให้ทีมปฏิบัติการตำบลร่วมให้การสนับสนุนการดำเนินงาน

37 6. โครงการพัฒนา หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ...
6. โครงการพัฒนา หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ยุทธศาสตร์ที่ 1 ที่ผ่านการคัดเลือกอำเภอละ 1 หมู่บ้าน รวม 878 หมู่บ้าน ระยะเวลาดำเนินการ ส่งเสริมการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการพัฒนาหมู่บ้าน ให้มีระบบการบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการ ที่เข้มแข็งใน การสร้างสัมมาชีพชุมชน ไตรมาส 3 (เม.ย.-มิ.ย.60) หน่วยดำเนินการ สนับสนุนค่าวัสดุ ต่อยอดพัฒนาอาชีพ และการปรับปรุง ศูนย์เรียนรู้ สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ จำนวนหมู่บ้านพัฒนาตนเองสู่หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ จำนวน 878 หมู่บ้าน ผลผลิต

38 6. โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ...
อำเภอ : ดำเนินโครงการตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับ เล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 32-33 เงื่อนไข : ดำเนินการคัดเลือกหมู่บ้านที่มีความพร้อมในการพัฒนาตนเอง เพื่อยกระดับเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เฉลี่ยอำเภอละ 1 หมู่บ้าน โดยยึดหลักเกณฑ์ ดังนี้ 2. งบประมาณ 50,000 บาท/หมู่บ้าน นำไปใช้ ดังนี้ ขยายผลครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนเพิ่มเติม 30,000 บาท/หมู่บ้าน พัฒนา/ปรับปรุงศูนย์ฯ ในเรื่องที่สำคัญจำเป็น 20,000 บาท/หมู่บ้าน เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงที่อยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบของยุทธศาสตร์ที่ 1 เป็นหมู่บ้านที่มีศูนย์เรียนรู้และขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ชื่อเดิมคือศูนย์เรียนรู้ชุมชน) สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน และพัฒนา/ขยายผลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ต้องไม่เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบที่กรมการพัฒนาชุมชน สนับสนุนการดำเนินงาน ตั้งแต่ ปี 2552 – 2559 (ทั้งที่ดำเนินการโดยงบประมาณของกรมฯ งบประมาณของ กระทรวงมหาดไทย และจากการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ และทุนชุมชน) มีทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้านที่มีศักยภาพในการขับเคลื่อนการสร้างสัมมาชีพชุมชน เป็นหมู่บ้านที่มีการสร้างสัมมาชีพชุมชนที่ประสบความสำเร็จ คือ ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน 20 ครัวเรือน ที่ได้รับการฝึกอบรมอาชีพประกอบอาชีพทำให้มีรายได้ และมีการรวมตัว เป็นกลุ่มอาชีพที่ก่อให้เกิดรายได้

39 สนับสนุนค่าวัสดุ พัฒนาอาชีพ สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ
7. โครงการสนับสนุน สัมมาชีพชุมชนแก่ครัวเรือนยากจน ... วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี ที่พัฒนาได้ จำนวน 10,054 ครัวเรือน ระยะเวลาดำเนินการ สนับสนุนเพิ่มโอกาส/ความสำเร็จในการประกอบอาชีพ และมีรายได้ตามแนวทางสัมมาชีพชุมชนของครัวเรือนยากจนเป้าหมาย ไตรมาส 2 (ม.ค.-มี.ค.60) หน่วยดำเนินการ สนับสนุนค่าวัสดุ พัฒนาอาชีพ สำนักงาน พัฒนาชุมชนอำเภอ ครัวเรือนยากจนเป้าหมาย ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนสัมมาชีพ จำนวน 10,054 ครัวเรือน ผลผลิต

40 7. โครงการสนับสนุน สัมมาชีพชุมชนแก่ครัวเรือนยากจน ...
7. โครงการสนับสนุน สัมมาชีพชุมชนแก่ครัวเรือนยากจน ... อำเภอ : ดำเนินโครงการตามรายละเอียดในเล่มแนวทางฯ (เล่มรังผึ้ง) ร่วมกับ เล่มแนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน หน้า 34-35 เงื่อนไข : ดำเนินกิจกรรมสนับสนุนสัมมาชีพชุมชนแก่ครัวเรือนยากจน แบ่งเป็น 2 กลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ 1. ครัวเรือนยากจนที่พัฒนาได้ที่อยู่ในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงตามยุทธศาสตร์ที่ ดำเนินการ ดังนี้ 1) สนับสนุนให้เข้าร่วมเป็นกลุ่มเป้าหมาย 20 ครัวเรือนที่เข้ารับการอบรมสัมมาชีพชุมชน ตามโครงการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน จำนวน 5 วัน 2) สนับสนุนวัสดุการฝึกอาชีพให้กับครัวเรือนยากจนเป้าหมาย เพื่อต่อยอดอาชีพหลังจากการฝึกอบรม ตามโครงการส่งเสริมการสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน 2. ครัวเรือนยากจนที่พัฒนาได้ที่ไม่อยู่ในหมู่บ้านตามยุทธศาสตร์ที่ 1 ดำเนินการ ดังนี้ 1) พัฒนากร ปราชญ์ชุมชน อช./ผู้นำ อช. และครัวเรือนยากจนเป้าหมาย ร่วมกันวิเคราะห์ความต้องการสร้างสัมมาชีพชุมชน 2) ครัวเรือนยากจนเป้าหมายเรียนรู้อาชีพจากปราชญ์ชุมชน/ฐานเรียนรู้/ศูนย์เรียนรู้ชุมชนตามความเหมาะสม โดยมีทีมสนับสนุนการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชนระดับอำเภอร่วมสนับสนุนการเรียนรู้และพัฒนาอาชีพ 3) สนับสนุนวัสดุการฝึกอาชีพให้กับครัวเรือนยากจนเป้าหมาย เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพจากงบประมาณ โครงการสนับสนุนสัมมาชีพชุมชนแก่ครัวเรือนยากจน


ดาวน์โหลด ppt ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่เบียดเบียนสิ่งแวดล้อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google