งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ค่าวัสดุ หมายถึง 1. รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ่งโดยสภาพเมื่อใช้ย่อมสิ้นเปลืองหมดไปแปรสภาพหรือไม่คงสภาพเดิม หรือซึ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ค่าวัสดุ หมายถึง 1. รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ่งโดยสภาพเมื่อใช้ย่อมสิ้นเปลืองหมดไปแปรสภาพหรือไม่คงสภาพเดิม หรือซึ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ค่าวัสดุ หมายถึง 1. รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ่งโดยสภาพเมื่อใช้ย่อมสิ้นเปลืองหมดไปแปรสภาพหรือไม่คงสภาพเดิม หรือซึ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่งค่าภาษี ค่าติดตั้ง เป็นต้น 2. รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน 20,000 บาท

2 ครุภัณฑ์ หมายถึง 1. รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 5,000 บาท รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าติดตั้ง เป็นต้น

3 ครุภัณฑ์ (ต่อ) 2. รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า 20,000 บาท 3. รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ์รวมทั้งครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ ที่วงเงินเกินกว่า 5,000 บาท

4 ครุภัณฑ์ (ต่อ) 4. รายจ่ายเพื่อซ่อมแซม บำรุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องจักรกล ยาพาหนะ เป็นต้น 5. ค่าบำรุงรักษาและปรับปรุงครุภัณฑ์ (รายจ่ายเพื่อให้สามารถใช้งานได้ตามปกติที่มีวงเงินเกินกว่า 5,000 บาท)

5 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง
ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง หมายถึง 1. ค่าติดตั้งระบบไฟฟ้า หรือระบบประปา รวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นติดตั้งอุปกรณ์ครั้งแรก ในอาคารหรือสถานที่ราชการ ทั้งที่เป็นการดำเนินการพร้อมการก่อสร้างอาคารหรือภายหลังการก่อสร้าง

6 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง (ต่อ)
2. รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลงหรือปรับปรุงที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่มีวงเงินเกินกว่า 50,000 บาท เช่น ค่าจัดสวน ค่าถมดิน เป็นต้น 3. รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานให้เอกชน หรือนิติบุคคล ให้ตั้งงบประมาณรวมไว้ในรายจ่ายประเภทรายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบและควบคุมงาน

7 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง (ต่อ)
4. รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหา หรือปรับปรุง ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 5. รายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดิน เป็นต้น

8 ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง (ต่อ)
6. ค่าบำรุงรักษาและปรับปรุงที่ดินและสิ่งก่อสร้าง (รายจ่ายเพื่อให้สามารถใช้งานได้ตามปกติที่มีวงเงินเกินกว่า 5,000 บาท)

9

10 อัตราเบี้ยเลี้ยง ระดับ ก ข 1-2 180 108 3-8 210 126 9 ขึ้นไป 240 144
น.ส.มท /ว 2879 ลว 28 ส.ค. 50

11 อัตราเบี้ยเลี้ยง กรณี ผวจ. ประกาศ
เป็นพื้นที่ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ขรก. อปท. อปพร. เพิ่มขึ้นจากอัตราปกติ 1 เท่า และค่าอาหารเหมาจ่าย 100 บาท/มื้อ วันละ 120 และ เพิ่มอีก 1 เท่า และค่าอาหารเหมาจ่าย 100 บาท/มื้อ วิทยุ มท. ด่วนที่สุด ที่ มท /ว 910 ลว. 15 มี.ค. 50

12 การเทียบตำแหน่งทางการเมืองของ อปท.
อบจ. เทศบาล อบต. ประธานสภา ระดับ 9 ระดับ 8 นายก รองประธานสภา ระดับ 7 รองนายก สมาชิกสภา ระดับ 6 เลขานุการ ที่ปรึกษานายก นส. ที่ มท /ว 2092 ลว 5 ก.ค. 48

13 การตั้งงบประมาณรายจ่ายค่ารับรอง
1. ค่ารับรองในการต้อนรับบุคคลหรือคณะบุคคล ให้ตั้งงบประมาณได้ไม่เกินปีละ 1% ของรายได้จริงของปีงบประมาณที่ล่วงมาโดยไม่รวมรายได้จากเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เงินกู้ เงินจ่ายขาด เงินสะสม และเงินที่มีผู้อุทิศให้

14 2. ค่าเลี้ยงรับรองในการประชุมสภาท้องถิ่น หรือคณะอนุกรรมการ ที่ได้รับแต่งตั้งตามกฎหมาย หรือตามระเบียบ หรือหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย หรือการประชุมระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับรัฐวิสาหกิจหรือเอกชน ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้บริหารท้องถิ่น โดยยอดเงินที่ตั้งจ่ายไม่รวมอยู่ในข้อ 1

15 ค่ารับรอง หมายถึง ค่าอาหาร ค่าเครื่องดื่ม ค่าของขวัญ ค่าพิมพ์เอกสาร ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวเนื่องในการเลี้ยงรับรองรวมทั้งค่าบริการด้วย และค่าใช้จ่ายอื่น ซึ่งจำเป็นต้องจ่ายที่เกี่ยวกับการรับรองเพื่อเป็นค่ารับรองในการต้องรับบุคคลหรือคณะบุคคล ที่ไปนิเทศงาน ตรวจงาน หรือเยี่ยมชม หรือทัศนศึกษาดูงาน และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งร่วมต้อนรับบุคคลหรือคณะบุคคล

16 ค่าเลี้ยงรับรอง หมายถึง ค่าอาหาร ค่าเครื่องดื่มต่างๆ เครื่องใช้ในการเลี้ยงรับรอง และค่าบริการอื่นๆ ซึ่งจำเป็น ต้องจ่ายี่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงรับรองในการประชุมตามข้อ 1 ทั้งนี้ให้รวมถึงผู้เข้าร่วมประชุมอื่นๆ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเข้าร่วมประชุม

17 สรุปสาระสำคัญของระเบียบ กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543

18 ข้อ 7 กรณีงบประมาณรายจ่ายประจำปีออกใช้ไม่ทัน
ข้อ 7 กรณีงบประมาณรายจ่ายประจำปีออกใช้ไม่ทัน ** กรณีที่งบประมาณรายจ่ายประจำปีออกใช้ไม่ทันงบประมาณ ให้ใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณที่ล่วงแล้วไปพลางก่อน ** การเบิกจ่ายเงินโดยอาศัยงบประมาณปีที่ล่วงมาแล้ว ให้ถือยอดเงินสูงสุดจะพึงถือจ่ายได้ โดยรวมงบเพิ่มเติมและรายการโอนเพิ่ม / ลด เข้าไปด้วย ** กระทำได้เฉพาะรายจ่ายในหมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดค่าจ้างชั่วคราว หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ และหมวดค่าสาธารณูปโภค

19 ข้อ 21 การตรางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
ข้อ การตรางบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม


ดาวน์โหลด ppt ค่าวัสดุ หมายถึง 1. รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของซึ่งโดยสภาพเมื่อใช้ย่อมสิ้นเปลืองหมดไปแปรสภาพหรือไม่คงสภาพเดิม หรือซึ่งของที่มีลักษณะคงทนถาวร และมีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดไม่เกิน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google