ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยอมรรัตน์ สมิธ ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
เสวนาหัวข้อ “Research Gap on Thailand Green Economy”
คุณบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ เลขาธิการสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1 ธันวาคม 2558 ณ ศูนย์วิจัยนโยบายด้านเศรษฐกิจสีเขียว (PRO-Green) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2
ห่วงโซ่อุปทานอาหาร 2 แรงงานภาคการเกษตรทั้งหมด 17 ล้านคน
มูลค่าผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ และประมง 600,000 ล้านบาท มูลค่าบริโภคภายในประเทศและส่งออก 750,000 ล้านบาท มูลค่าอาหารสัตว์300,000 ล้านบาท 640 โรงงาน เกษตรกร โรงงานอาหารสัตว์ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ โรงงานแปรรูป ร้านค้า/ผู้บริโภค/ตลาดส่งออก แรงงานภาคการเกษตรทั้งหมด 17 ล้านคน แรงงานภาคปศุสัตว์ 1.3 ล้านคน 2
3
ความต้องการอาหารสัตว์ไทย ความต้องการอาหารสัตว์ Δ 7.2 % ต่อปี
ภาวะแล้ง+คลื่นความร้อน อุทกภัย แฮมเบอร์เกอร์ หวัดนก แหล่งที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย , 2558
4
วัตถุดิบหลักในอาหารสัตว์
ข้าวโพด ผลิตภัณฑ์ข้าว มันสำปะหลัง และอื่นๆ 60% อัพเดต 31 ส.ค.58 4 ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ปี 2558
5
มุ่งเป้าสู่การประมงอย่างยั่งยืนภายใน 5 ปีข้างหน้า
ข้อร้องเรียนจากต่างประเทศ ด้านแรงงาน IUU มุ่งเป้าสู่การประมงอย่างยั่งยืนภายใน 5 ปีข้างหน้า TIER 3 STEP 1 การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ร่วมกับกับ ส.ปลาป่น ส.ประมง กรมประมง กรมปศุสัตว์ จัดทำระบบรับรองการใช้วัตถุดิบสำหรับผลิตอาหารสัตว์ STEP 2 การแก้ไขปัญหาระยะยาว ทำความร่วมมือ 8 สมาคม ร่วมกันออกแบบมาตรฐานระบบการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ประมงของไทย โดยได้รับการยอมรับและอิงมาตรฐานสากล ปัญหา : NGO ต่างประเทศโจมตีว่าธุรกิจส่งออกกุ้งของไทย มีการใช้วัตถุดิบปลาป่นที่ได้จากการทำประมงที่ผิดกฎหมาย และ NGO ในประเทศโจมตีการทำลายแหล่งอาหารโปรตีนทางธรรมชาติ สัตว์น้ำวัยอ่อน การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า : สมาคมฯ ร่วมกับส.ปลาป่น ส.ประมง กรมประมง กรมปศุสัตว์ จัดทำระบบรับรองการใช้วัตถุดิบสำหรับผลิตอาหารสัตว์ การแก้ไขปัญหาระยะยาว : ร่วมกันออกแบบมาตรฐานระบบการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ประมงของไทย โดยได้รับการยอมรับและอิงมาตรฐานสากล โดยมีผู้เชี่ยวชาญร่วมให้คำปรึกษาและแนะนำจากองค์กรระหว่างประเทศ เช่น FAO, IFFO, SFP, WWF, SEAFDEC จัดตั้งเป็น Thai Sustainable Fisheries Roundtable หรือคณะกรรมการจัดทำแนวทางเพื่อพัฒนาระบบการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ประมงของไทย โดยมีอธิบดีกรมประมงเป็นประธาน การจัดทำ FIP (Fisheries Improvement Project) โดยความร่วมมือกับองค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล (World Wildlife Fund หรือ WWF) และองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการประมงที่ยั่งยืน (Sustainable Fisheries Partnership หรือ SFP) เพื่อร่างแผนการทำงานแก้ไขปัญหาอุตสาหกรรมประมงและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง มุ่งเป้าสู่การประมงอย่างยั่งยืนภายใน 5 ปีข้างหน้า Phase 1: การจัดทำแผนการปรับปรุง / พัฒนาการประมง (Fishery Improvement Plan : FIP) Phase 2: การดำเนินการตามแผนปรับปรุง / พัฒนาการประมง (FIP Implementation)
6
ข้าวโพดฯยั่งยืน 6 - ข้าวโพดฯ คิดเป็น 34 % ในวัตถุดิบอาหารสัตว์
พัฒนามาตรฐานระบบการผลิตข้าวโพดฯ อย่างยั่งยืน นำร่างมาตรฐานการปลูกไปทดลองในพื้นที่นำร่อง (เหนือ กลาง อีสาน) สร้างความรู้ความเข้าใจ และ workshop ข้าวโพดฯยั่งยืน รัฐ ,เอกชน , วิชาการ , หน่วยงานสากล จึงได้ร่วมสร้างมาตรฐานระบบการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ยั่งยืน ไม่มีมาตรฐานข้าวโพดยั่งยืน - ข้าวโพดฯ คิดเป็น 34 % ในวัตถุดิบอาหารสัตว์ - ปริมาณความต้องการข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ประมาณ 5-6ล้านตัน/ปี สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ร่วมมือกับ สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) จัดทำโครงการ Sustainable Maize Production โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำมาตรฐานการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ยั่งยืนตลอดห่วงโซ่อุปทาน และพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพด โดยมีหน่วยงานความร่วมมือสนับสนุนโครงการ ได้แก่ สภาหอฯ (สถาบันส่งเสริมคุณภาพเกษตรไทย-ThaiGAP) สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ-มกอช. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย-สกว. สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม-สปก. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน พื้นที่เป้าหมายนำร่องทดลอง : (1) ภาคเหนือ-จ.น่าน (2) ภาคกลาง-จ.เพชรบูรณ์ (3) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ-จ.นครราชสีมา ใช้ระบบ Incentive จูงใจเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ผ่านการรับซื้อราคา Premium และการถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ ขณะนี้ โครงการอยู่ในขั้นตอนนำร่างมาตรฐานไปปลูกในพื้นที่นำร่อง 6
7
หลักแนวคิดสากล (Global Concept)
ความยั่งยืน เศรษฐกิจ การผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน (Sustainable Consumption and Production : SCP) \ Environment Friendly - Water สังคม สิ่งแวดล้อม - Energy - Food แผนแม่บท บริบทของโลกกำลังพูดถึงการสร้างความยั่งยืน โดยหลักการสร้างความสมดุลระหว่าง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ส่งผลไปยังตลาดซึ่งมีส่วนในการสร้างการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน ตลาด ผู้บริโภค ห้างร้าน ฯลฯ ผู้ผลิต แรงกดดัน ภาคสังคม
8
บทสรุป ความยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทานอาหารของประเทศไทยจะต้องมีมาตรฐานการผลิตตลอดทั้งห่วงโซ่ ศูนย์วิจัยนโยบายด้านเศรษฐกิจสีเขียวจะช่วยประเทศไทยในการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกจากปัจจุบันไปสู่อนาคต
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.