ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยBudi Chandra ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม : แนวคิดและทฤษฏีการพัฒนา เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม
: แนวคิดและทฤษฏีการพัฒนา เศรษฐกิจและอุตสาหกรรม : 11 : 17 พ.ย. 61
2
แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนา
แนวคิดและทฤษฎีที่ใช้อธิบายสังคมอุตสาหกรรมมีค่อนข้างหลากหลายขึ้นอยู่กับ : สาขาที่เน้นหนัก : ระดับการศึกษา/วิจัย : ช่วงระยะเวลาศึกษา สำหรับแนวคิดและทฤษฎีสังคมวิทยาอุตสาหกรรมหลักๆ ที่สำคัญ พอสรุปได้ดังนี้
3
แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ
1. แนวคิดเกี่ยวกับความจำเริญทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) 1.1 แนวคิดกลุ่มคลาสสิก (Classical Theorist) : Adam Smith David Ricardo Thomas Multhus John Stuart Mill + กฎธรรมชาติและความมีเหตุผลของมนุษย์ + กลไกทางเศรษฐกิจสามารถดำเนินการได้มีประสิทธิภาพเมื่อรัฐบาลเข้ามาเกี่ยวข้องน้อยที่สุด + การออมเพื่อลงทุนเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ + กลไกการผลิตและรายได้ของประเทศเกิดจากที่ดิน แรงงานและทุน
4
แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ
1.2 แนวคิดของมาร์กซ์ (Karl Marx) + สังคมจะเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการขัดแย้งระหว่างชนชั้น + การสร้างความมั่งคั่งของคนกลุ่มหนึ่ง และความพยายามเอาตัวรอดของคนอีกกลุ่ม นำมาซึ่งการต่อสู้ระหว่างชนชั้น ทำให้ระบบสังคมเดิมถูกทำลายไป Primitive Communism Salvery Society Feudalism Capitalism Socialism
5
แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ
1.3 แนวคิดกลุ่มนีโอคลาสสิก (Neoclassical Theorist) : Alfred Marshala, Leon Walras + ให้ความสนใจเศรษฐศาสตร์จุลภาคและการแก้ปัญหาระยะสั้น + การปรับปรุงเทคโนโลยีอยู่เสมอทำให้เกิดการจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 1.4 แนวคิดของชุมปีเตอร์ (Joseph Schumpeter) + การพัฒนาขึ้นกับ Volume of innovation การเผยแพร่กระจายของสิ่งใหม่ๆ การเกิดขึ้นของบริษัทใหม่ๆ โดยผู้ประกอบการผลิตเป็นผู้มีความคิดสร้างสรร กล้าเสี่ยง กล้าลงทุน
6
แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ
1.5 แนวคิดของเคนส์ (John Meynard Keyne) + เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับการจ้างงาน ดอกเบี้ยและการเงิน + รายได้ประชาชาติ (Y) ประกอบด้วยรายจ่ายเพื่อการบริโภค (C) รายจ่ายเพื่อการลงทุน (I) และรายจ่ายของรัฐบาล (G) + หากรายจ่ายไม่เพียงพอต่อระดับที่ทำให้เกิดการจ้างงานเต็มที่ ภาครัฐต้องเข้ามากระตุ้นรายจ่ายเพื่อการบริโภค
7
แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ
1.6 แนวคิดนักเศรษฐศาสตร์ภายหลังยุดเคนส์ + นำแนวคิดเคนส์มาสร้างแบบจำลองทางเศรษฐกิจ + เน้นความจำเริญทางเศรษฐกิจแบบมีเสถียรภาพ - ทฤษฎีความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ Harrod Domar - ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจของ Rostow - Balanced and Unbalances Growth Theory
8
W.W. Rostow เสนอแนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาระดับขั้นของความเจริญเติบโต (Stages of Growth) 1) The Traditional Society 2) The Pre-conditions for Take-off 3) The Take-off into Self-Sustaining Growth 4) The Drive to Maturity 5) The Age of High Mass Consumption
9
แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ
2. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจด้านโครงสร้าง แนวคิดการพัฒนาฯของประเทศกำลังพัฒนาเรียกว่า International Structuralist Model 2.1 Neo-Colonial Dependence Model + แบบจำลองการพัฒนาของประเทศโลกที่ 3 + การพึ่งพิงและการช่วยเหลือจากประเทศพัฒนา + ประเทศนายทุนอุตสาหกรรมที่พัฒนาเข้ามาดำเนินธุรกิจในรูป Multinational Corporation
10
ความไม่เท่าเทียมกันทาง เศรษฐกิจ สังคม การเมือง
- การบริการพื้นฐานดี - การศึกษาดี มีความรู้/ทักษะ ความยากจนคงอยู่ เมือง ชนบท ว่างงานรุนแรง ความไม่เท่าเทียมกันทาง เศรษฐกิจ สังคม การเมือง
11
ความหมายการพึ่งพา (The Meaning of Dependency)
“การพึ่งพา” = เงื่อนไขสถานภาพของประเทศกำลังพัฒนาดำเนินการพัฒนาอุตสาหกรรมทดแทนการนำเข้าสินค้าอุตสาหกรรม (Import - Substituting Industrialization : ISI) โดยต้องพึ่งพาประเทศทุนนิยมตะวันตกอย่างมาก ด้าน : สินค้าประเภททุน เทคโนโลยีการผลิต ผู้เชี่ยวชาญ/ชำนาญการ เงินลงทุนจากต่างประเทศ การศึกษา วัฒนธรรมและสังคม ฯลฯ
12
ลักษณะการครอบงำภายใต้ภาวะพึ่งพา
1. ทางเศรษฐกิจ (Economic) ลงทุนผลิต นายทุนต่างชาติ การค้า ผ่าน บรรษัทข้ามชาติ (Translation Corporation) ร่วมมือประสาน & องค์กร/โครงการ รัฐบาล นายทุนในประเทศ ประเทศที่ 3 ด้อยพัฒนา
13
: ยิ่งพัฒนา ยิ่งต้องพึ่งพา :
: ยิ่งพัฒนา ยิ่งต้องพึ่งพา : ประเทศโลกที่ 3 พัฒนาตามแนวทางภาวะทันสมัย ทำให้ต้องพึ่งพาประเทศโลกที่ 1 มากขึ้น - ไม่มีทุน - ไม่มีเทคโนโลยี - ไม่มีความรู้ - ไม่มีความสามารถ - ไม่มี… ฯลฯ กลายเป็น “สังคมบริวาร” (Peripheral Society)
14
: ยิ่งพัฒนา ยิ่งต้องพึ่งพา :
: ยิ่งพัฒนา ยิ่งต้องพึ่งพา : P P P เกิด Xyphon off W.I P P P P P P
15
ผลการครอบงำทางเศรษฐกิจเกิดขึ้น 2 ประการ :
1.1 การผูกขาด ทางการตลาดมีการขยายตัว 1.2 นายทุนในประเทศเติบโตค่อนข้างช้า ส่วนใหญ่เป็น นายทุนการค้ามากกว่านายทุนอุตสาหกรรมและถูก ครอบงำจากนายทุนต่างชาติ โดยตัดสินใจดำเนินงาน นโยบายการค้าและการผลิตเพื่อประโยชน์ตนระยะสั้น มากกว่าระยะยาว 2. ทางการเมือง (Political) รัฐบาลประเทศด้อยพัฒนาดำเนินนโยบายตามคำแนะนำของรัฐบาลประเทศทุนนิยมตะวันตก ผ่านองค์กรความช่วยเหลือระหว่างประเทศ/การทหาร ฯลฯ แทรกแซง
16
แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ
2. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจด้านโครงสร้าง 2.2 Theotonio Dos Santos ลักษณะของการพัฒนาจะขึ้นอยู่กับการพัฒนาระบบทุนนิยม เงื่อนไขว่า ประเทศกลุ่มหนึ่งจะขยายเศรษฐกิจไปยังประเทศอื่น โดยประเทศในกลุ่มแรกจะมีเทคโนโลยี การค้า ทุน สังคม และการเมืองที่เหนือกว่าประเทศที่มาพึ่งพิง
17
บราซิลเสนอแนวความคิดทฤษฎีพึ่งพาลักษณะใหม่
Thiotonio Dos Santos บราซิลเสนอแนวความคิดทฤษฎีพึ่งพาลักษณะใหม่ ภาวะพึ่งพานำประเทศลาติน ล้าหลังและมืดมน การพัฒนาทุนนิยมเป็นประโยชน์แก่คน กลุ่มเดียวเท่านั้น แก้ไข โดย Popular Movement
18
แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ
2. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจด้านโครงสร้าง 2.3 The False Paradigm Model ประเทศพัฒนาจะส่งผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาประเทศโลกที่ 3 + International Bank for Reconstruction and Development + International Monetary Fund : IMF + United Nation Education Scientific and Cultural Organization : UNESCO + United Nations Development Programme : UNDP + International Labor Organization : ILO
19
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
3. ทฤษฎีที่เกี่ยวกับความจำเริญทางเศรษฐกิจ 3.1 The Harod-Domar Model + การออมและการสะสมทุนเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น และผลักดันให้เศรษฐกิจเติบโต + อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสัมพันธ์กับอัตราส่วนการออม และมีความสัมพันธ์ผกผันกับอัตราส่วนของทุนต่อผลผลิต + ความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจขึ้นอยู่กับการออม การลงทุน และประสิทธิภาพของการลงทุน
20
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
3.2 The Neoclassical Growth Model : Robert Solow + ทฤษฎีควรยืดหยุ่นเนื่องจากในทางปฏิบัติค่าจ้างและทุนมีการเปลี่ยนแปลง เสนอ Cobb-Douglas Production Function พิจารณาความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจจากมูลค่าของผลผลิตทั้งหมด รายได้ประชาชาติจะขึ้นกับอยู่กับทุนและแรงงาน
21
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
3.3 ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจในทศวรรษที่ 1950 + ทฤษฎีที่เน้นด้านอุปสงค์รวม + ทฤษฎีที่เน้นด้านอุปทานรวม + ทฤษฎีที่เน้นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศกำลังพัฒนา
22
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ : เน้นการเพิ่มอุปสงค์รวม - Balanced Growth Theory สำหรับประเทศที่มีทรัพยากรที่ใช้ในการลงทุนต่างๆ อย่างเพียงพอ ผลิตสินค้าเกษตรเป็นสินค้าออก ควรมีการพัฒนาเศรษฐกิจโดยการตั้งโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อผลิตสินค้าหลายๆ ชนิดพร้อมๆ กัน และอาจมีการลงทุนขนาดใหญ่ (Big Push) เกิดประโยชน์จากการผลิตจำนวนมาก เกิดการประหยัดภายใน (Internal Economies) และการประหยัดภายนอก (External Economies)
23
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ : เน้นการเพิ่มอุปสงค์รวม - Unbalanced Growth Theory ประเทศด้อยพัฒนาส่วนใหญ่ขาดเงินลงทุน การเร่งรัดให้มีการลงทุนขนาดใหญ่ทำไม่ได้ ต้องเลือกลงทุนที่ใช้ทรัพยากรปรหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุด และผลักดันให้เกิดกิจกรรมอย่างอื่นตามมา เลือกลงทุนในอุตสาหกรรมที่มี Forward Linkage Effects และ Backward Linkage Effects
24
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ : เน้นการเพิ่มอุปสงค์รวม - Import Substitution Theory เน้นการส่งเสริมอุตสาหกรรมที่มี Domestic Demand สูง รัฐต้องสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้าโดยตั้งกำแพงภาษี/กำหนดโควตาสินค้า นักเศรษฐศาสตร์ที่สนับสนุนการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้า : Pebisch, Chenery, Little, Scott, Scitovsky, Balassa
25
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ : เน้นการเพิ่มอุปทานรวม พยายามเพิ่มผลผลิตด้วยการใช้ปัจจัยการผลิตต่างๆ ในฟังก์ชันการผลิตหรือการปรับปรุงคุณภาพของปัจจัยการผลิต ปรับปรุงกระบวนการผลิตหรือเทคโนโลยีการผลิตต่าง ให้ดีขึ้น
26
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ : เน้นด้านการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศกำลังพัฒนา 1. ทฤษฎีการพัฒนาตามขั้นตอนของการพัฒนา การพัฒนาเศรษฐกิจดำเนินไปตามขั้นตอนของการพัฒนา - Karl Marx พิจารณาการเปลี่ยนแปลงสถาบันทางเศรษฐกิจจาก Feudalism เป็น Capitalism และ Socialism
27
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
- ทฤษฎีการพัฒนาตามขั้นตอนของการพัฒนา Friedich List การพัฒนา 5 ขั้นตอน : 1) Savage 2) Pastoral 3) Agricultural 4) Agricultural and Manufacturing 5) Agricultural, Manufacturing and Commercial Bruno Hidebrand เปลี่ยนจาก Barter System เป็น Money System และ Credit System Karl Bucher เปลี่ยนจาก Household Economy เป็น National Economy
28
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
- ทฤษฎีการพัฒนาตามขั้นตอนของการพัฒนา Ficher, Clark and KuZnets โครงสร้างการผลิตเปลี่ยนจาก Primary Production เป็น Secondary Production และ Tertiary Production W.W. Rostow ขั้นตอนความจำเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 5 ขั้น : 1) Traditional Society 2) Pre-Condition for Take-off 3) Take-off 4) Drive to Maturity 5) Age of High Mass Consumption
29
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
2. ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างสาขาการผลิต Arthur Lewis การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศด้อยพัฒนา มีสภาพการณ์เริ่มแรกเหมือนก่อนที่จะมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมของประเทศพัฒนา ระบบเศรษฐกิจของประเทศด้อยพัฒนาเป็น Dual Economy สาขาเกษตรกรรม สาขาอุตสาหกรรมและเหมืองแร่
30
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
2. ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างสาขาการผลิต Fei and Renis สร้างความเจริญเติบโตทั้งในสาขาเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การเคลื่อนย้ายแรงงานจากภาคเกษตรกรรมไปสู่อุตสาหกรรมเป็นปัจจัยสำคัญของกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่มีแรงงานส่วนเกิน ขั้นที่ 1 Marginal Physical Product (MPP) = 0 ขั้นที่ 2 MPP < ค่าจ้าง แต่ > 0 ขั้นที่ 3 Self-Sustained Growth
31
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
2. ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างสาขาการผลิต D.W. Jorgenson การนำผลผลิตส่วนเกินของภาคเกษตรกรรมมาพัฒนา อุตสาหกรรม ผลผลิตส่วนเกินจากภาคเกษตรกรรมจะต้องเกิดขึ้นและเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่อเนื่อง
32
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ
3. แนวคิดใหม่เกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศกำลังพัฒนา หลายแนวทาง ได้แก่ การพัฒนาแบบพึ่งตนเอง การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม การ่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศกำลังพัฒนา Dos Santos การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศด้อยพัฒนาจะพัฒนาและผันแปรตามการพัฒนาของประเทศพัฒนา Schumacher นำหลักการทางพุทธศาสตร์มาประยุกต์ใช้พัฒนาประเทศ การที่จะทำให้คนมีผลิตภาพเพิ่มขึ้น ต้องมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคม
33
ทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรม
1. Vernon’s Product Cycle or PC Model การพัฒนาอุตสาหกรรมจะสำเร็จได้ต้องมีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ เพื่อผลิตสินค้าใหม่ซึ่งมีการผลิตขนาดใหญ่ 2. Akamatsu’s Catching-up Product Cycle or CPC Model การพัฒนาอุตสาหกรรมสมัยใหม่ของประเทศกำลังพัฒนา เริ่มจากอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อทดแทนการนำเข้า โดยได้รับความช่วยเหลือในการนำเทคโนโลยีเข้ามา และมีการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.