ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
มองรัฐและอุตสาหกรรมไทยผ่านกรอบ Ha-Joon Chang
สัมมนา “เศรษฐศาสตร์สามกรอบ” คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3 สิงหาคม 2558 มองรัฐและอุตสาหกรรมไทยผ่านกรอบ Ha-Joon Chang วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร National Graduate Institute for Policy Studies (GRIPS, Tokyo)
2
ประเด็นอภิปราย เศรษฐศาสตร์แบบ “ฮาจุนชาง” เป็นอย่างไร?
ใช้อธิบายเส้นทางเศรษฐกิจไทยที่ผ่านมาได้ไหม? มองอะไรเป็นปัญหาหลักและทางออกของไทย?
3
1. แนวคิดเศรษฐศาสตร์แบบฮาจุนชาง
4
ฮา-จุน ชาง ตำแหน่งปัจจุบัน คือ Reader in the Political Economy of Development, Faculty of Economics, University of Cambridge, UK Gunnar Myrdal Prize (2003) Wassily Leontief Prize (2005) “An outsider within the profession”
5
เศรษฐศาสตร์แบบฮาจุนชาง: ฐานคิด
จุดเริ่มต้น = การศึกษาปริญญาเอกในช่วงปลายทศวรรษ 1980s เป็นช่วงที่เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิกกำลังขยายอิทธิพล แต่ก็เป็นช่วงที่เอเชียตะวันออกประสบความสำเร็จในการไล่กวด ประเด็นหลัก = รัฐ/ตลาด/สถาบัน + ประสบการณ์เอเชีย ปัญหาของเศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิกและนโยบายตลาดเสรี บทบาทและหน้าที่ของรัฐและนโยบายอุตสาหกรรม คำอธิบายเส้นทางการพัฒนาของญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน สิงคโปร์ Chang (1994) The political economy of industrial policy.
6
เศรษฐศาสตร์แบบฮาจุนชาง: ลักษณะเด่น
ตั้งคำถามกับกระแสหลัก/ความเชื่ออย่างถึงรากถึงโคน (against conventional wisdom) ให้ความสำคัญกับความหลากหลายทางทฤษฎี (theoretical cross-fertilisation) เชื่อมั่นในการออกแบบนโยบายและสถาบัน (institutional and policy design)
7
2. เศรษฐกิจไทยมาถึงจุดนี้ได้อย่างไร?
ประเทศตะวันตกโตมาอย่างไร ประสบการณ์เอเชียตะวันออก ประสบการณ์ของไทย
8
2.1 ประเทศร่ำรวยนั้นรวยมาได้อย่างไร
หัวใจของการพัฒนาเศรษฐกิจ = การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิต การปรับโครงสร้างจากภาคเกษตรสู่ภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเพิ่มผลิตภาพการผลิตต่อเนื่อง ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ = ประเทศร่ำรวยในยุโรปและอเมริกาส่วนใหญ่ ปรับโครงสร้างมาได้ด้วยการปกป้องอุตสาหกรรมภายในอย่างเข้มข้น เช่น กำแพงภาษีศุลกากร, กีดกันการลงทุนต่างชาติ, อุดหนุนตลาดภายใน “ระยะหนึ่ง” ก่อนจะค่อยๆ เปิดเสรีการค้าและการลงทุน ประเทศรวยแล้วย่อมสนับสนุนการค้าเสรี ประเทศมาทีหลังย่อมต่อต้าน Chang (2002) Kicking away the ladder: Development strategy in historical perspective.
9
2.1 ประเทศร่ำรวยนั้นรวยมาได้อย่างไร
Chang (2002) Kicking away the ladder: Development strategy in historical perspective.
10
2.2 เอเชียตะวันออกพัฒนามาได้อย่างไร
Ohno (2009) “Avoiding the middle-income trap: Renovating industrial policy formulation in Vietnam.”
11
2.2 เอเชียตะวันออกพัฒนามาได้อย่างไร
ถ้ามองประวัติศาสตร์ระยะยาว เอเชียตะวันออกก็ดำเนินยุทธศาสตร์การพัฒนา ไม่ต่างจากที่อังกฤษหรือสหรัฐอเมริกาเคยทำในช่วงไล่กวด แต่แนวนโยบายอุตสาหกรรมของเอเชียตะวันออกก็ซับซ้อนขึ้นกว่าอดีต มุ่งสนับสนุนการประหยัดต่อขนาด มีสถาบันของรัฐและกติกาที่สนับสนุนการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากต่างชาติ มีระบบการพัฒนาแรงงานที่ชัดเจน ตอบโจทย์อุตสาหกรรมเป้าหมาย การจัดการนโยบายมหภาคเพื่อสนับสนุนการลงทุนภายใน One East Asian model? ความหลากหลายภายในเอเชียตะวันออก Chang (2006) The East Asian development experience: The miracle, the crisis and the future.
12
2.2 เอเชียตะวันออกพัฒนามาได้อย่างไร
Chang (2006) “Industrial policy in East Asia: Lessons for Europe.”
13
2.3 เปรียบเทียบเอเชียตะวันออกกับประเทศไทย
เอเชียตะวันออก (ช่วงไล่กวด) ไทย ความสามารถของรัฐ รัฐพัฒนา รัฐขั้นกลาง นโยบายอุตสาหกรรม สนับสนุนอุตสาหกรรมเป้าหมายอย่างเข้มข้น + ปรับเป้าหมายต่อเนื่อง มีเฉพาะบางอุตสาหกรรมและมัก ขาดตอน เช่น ยานยนต์ ปิโตรเคมี อาหาร เศรษฐกิจมหภาค มุ่งที่อัตราเจริญเติบโต เงินเฟ้อ/ค่าเงิน/การคลัง => ส่งออก ภาษีศุลกากร => ส่งเสริมอุตสาหกรรม มุ่งรักษาเสถียรภาพ ค่าเงิน/การคลัง => คุมเงินเฟ้อ ภาษีศุลกากร => รายได้รัฐ การศึกษา เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ในแต่ละช่วง เพื่อขยายการศึกษาพื้นฐาน สนับสนุนการลงทุน เพื่อส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีจาก บริษัทข้ามชาติ => บริษัทท้องถิ่น เพื่อเพิ่มมูลค่าการลงทุน เพิ่มการจ้างงาน
14
3. อะไรคือปัญหาหลักและทางออกของไทย?
“นโยบายอุตสาหกรรม” = นัยยะ + อุบาย + อุตสาหะ + กรรม
15
๑. เข้าใจนัยยะของกรอบฮาจุนชาง
ฐานคิด = มองการพัฒนาตามกรอบเศรษฐศาสตร์พัฒนาดั้งเดิม (Arthur Lewis, Simon Kutznets, Nicholas Kaldor) นิยามของการพัฒนาเศรษฐกิจ = การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิต แก่นของนโยบายเศรษฐกิจ => การเพิ่มความสามารถในการผลิตของประเทศ (a country’s productive structure and collective capabilities) มิใช่: การสนับสนุนกลไกตลาด, การเพิ่มสวัสดิการหรือความสามารถของ ปัจเจกบุคคล หรือแม้แต่การขยายการศึกษา Chang (2010) “Hamlet without the Prince of Denmark: How development has disappeared from today’s development’ discourse.”
16
๒. รู้เท่าทันอุบายของกระแสหลัก
“There is no such thing as a free market.” ตลาดเสรีนั้นไม่มีจริง/ ทุกตลาดมีกฎเกณฑ์/ เศรษฐศาสตร์ไม่อาจแยกจากการเมือง “Despite the fall of communism, we are still living in planned economies.” สนับสนุนกลไกตลาด ≠ รัฐนิ่งดูดาย สนับสนุนทุนนิยม ≠ การเปิดเสรี “We do not live in a post-industrial age.” ภาคอุตสาหกรรมหดตัวเพราะราคาสินค้าลดลงเร็วกว่าภาคบริการ ภาคบริการมีความจำกัดด้านการเพิ่มผลิตภาพและการไม่สามารถส่งออก Chang (2012) 23 things they don't tell you about capitalism.
17
๓. การพัฒนาเศรษฐกิจต้องอาศัยความอุตสาหะ
ความสำเร็จของเอเชียตะวันออกไม่ได้เกิดชั่ว ข้ามคืน แต่ใช้เวลา 2–3 ทศวรรษ สิ่งสำคัญคือ การเดินไปอย่างมีทิศทาง (right priority) ลองผิดลองถูกและปรับตัว (policy learning) แนวทางนโยบายอุตสาหกรรม ไม่ใช่การปกป้อง แต่มุ่งส่งเสริมกลไกความร่วมมือ (ex ante coordination) การพัฒนาอุตสาหกรรมเป็นเรื่อง “น่าเบื่อ” เพราะ เกี่ยวข้องกับรายละเอียดและการปรับปรุงต่อเนื่อง *สมมติฐานว่ามีทรัพยากร, ทุน และคนไม่จำกัด Source: Nolan (2001: table 2-15) Chang (2011) “Industrial policy: Can we go beyond an unproductive confrontation?”
18
๔. ประเทศไทยอาจเริ่มด้วยการแก้กรรมเก่า
Industrial technocrats: การขาดแคลนเทคโนแครตอุตสาหกรรม East Asian lessons: ลดอวิชชาเรื่องการพัฒนาของเอเชียตะวันออก Competition of economic theories: ลดการผูกขาดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร (2553) “นโยบายอุตสาหกรรมในกระแสโลกาภิวัตน์: นัย/อุบาย/อุตสาหะ/กรรม”. ใน ธานี ชัยวัฒน์, บรรณาธิการ. ผาสุก พงษ์ไพจิตร: ปัญญาชนสยามวิพากษ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
19
“The economy is too important to be left to professional economists.”
“เศรษฐกิจมีความสำคัญมากเกินกว่าจะทิ้งให้เป็นเรื่องของเหล่านักเศรษฐศาสตร์” “The economy is too important to be left to professional economists.” Ha-Joon Chang (2014) Economics: The User’s Guide
20
ขอบคุณครับ Contact:
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.