ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSuharto Setiabudi ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม EC 261 3(3-0-6)
บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ อ. รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
2
ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เศรษฐศาสตร์ คือ? ....วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์และสังคม ที่มีความต้องการ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เกิด การขาดแคลน ที่มีไม่สิ้นสุด เกิดการเลือก อุปสงค์ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ -ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ -ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม -ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม -ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม -ระบบเศรษฐกิจแบบผสม อุปทาน แก้ไข -ผลิตอะไร? -ผลิตอย่างไร? -ผลิตเพื่อใคร? Thailand 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
3
ความต้องการของมนุษย์ ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
ทรัพยากร ความต้องการของมนุษย์ มีจำกัด มีไม่จำกัด เกิด การขาดแคลน เกิดการเลือก ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ การจัดสรรทรัพยากร 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
4
องค์ประกอบและหน้าที่ของหน่วยเศรษฐกิจ
ครัวเรือน ธุรกิจ องค์กรรัฐ สมาชิกมีฐานะเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต, ผู้ผลิต (รายได้) และเป็นผู้บริโภค (รายจ่าย) หน่วยที่ทำหน้าที่นำปัจจัยการผลิต มาผลิตสินค้นและบริการ หน่วยงานของรัฐ/ส่วนราชการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อประกอบกิจการต่างๆของรัฐ -ผู้บริโภค -หน่วยธุรกิจอื่น -รัฐ จำหน่าย หน้าที่ -จัดเก็บภาษี -ควบคุมดูแลหน่วยเศรษฐกิจ เป้าหมาย: ความพอใจสูงสุดจากรายได้ (จำกัด) ในการบริโภคสินค้า+บริการ รวมทั้งสวัสดิการที่ดีที่สุด เป้าหมาย: -กำไร ยอดขาย -ความเติบโตทางธุรกิจ -ชื่อเสียง -ประโยชน์ต่างๆ -ฯลฯ เป้าหมาย: -ความกินดีอยู่ดีของประชาชน -ความมั่นคง -ฯลฯ 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
5
หน้าที่และเป้าหมายของบุคคล ที่อยู่ในหน่วยเศรษฐกิจของระบบเศรษฐกิจ
มีหน้าที่เลือกบริโภคสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของตน ผู้บริโภค มีหน้าที่รวบรวมปัจจัยการผลิตเพื่อนำมาผลิตสินค้าและบริการ โดยคำนึงถึงต้นทุน และประสิทธิภาพการผลิต เพื่อให้ได้สินค้าและบริการ ที่ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค ผู้ผลิต มีหน้าที่นำปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, แรงงาน, ทุน, ความสามารถในการประกอบการ) ของตนไปเสนอขายให้แก่ผู้ผลิต เพื่อสร้างรายได้สูงสุดจากปัจจัยการผลิต เจ้าของปัจจัยการผลิต 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
6
กระแสหมุนเวียนเชิงเศรษฐกิจ..1
1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
7
กระแสหมุนเวียนเชิงเศรษฐกิจ..2
1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
8
ภาคครัวเรือน..1 (Household)
หรือ ภาคบริโภค (Consuming Sector) เจ้าของปัจจัยการผลิต ที่ดิน (Land) ค่าเช่า (Rent) แรงงาน (Labour) ค่าจ้าง (Wage + Salary) ทุน (Capital) ดอกเบี้ย (Interest) ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) กำไร (Profit) 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
9
ภาคครัวเรือน..2 (Household)
ค่าเช่า (Rent) ค่าจ้าง (Wage + Salary) ดอกเบี้ย (Interest) กำไร (Profit) ผลตอบแทน ภาครัฐบาล (Government Sector) การบริโภคอุปโภค (Consumption) สถาบันการเงิน (Financial Institutions) 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
10
ภาคธุรกิจ (Bussiness Sector)
หน่วยผลิต (Firms) หรือ ภาคการผลิต (Producing Sector) ซื้อ หรือ เช่า ปัจจัยการผลิต จากภาคครัวเรือน ผลิตสินค้าและบริการ ขาย ภาคครัวเรือน 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
11
ภาครัฐบาล (Government Sector)
รายได้ในรูป ภาษี (Tax Revenue) - ภาคครัวเรือน - ภาคธุรกิจ จัดสรรงบประมาณ (Budget) เป็นรายจ่ายของรัฐบาล การซื้อสินค้าและบริการ วัสดุ ครุภัณฑ์ ฯลฯ เพื่อบำรุงและพัฒนาประเทศ จ่ายคืน 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
12
ภาคสถาบันการเงิน (Bussiness Sector)
เงินออม (Saving) ดอกเบี้ย ธุรกิจกู้ยืมลงทุน (Investment) 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
13
ภาคต่างประเทศ (Foreign Sector)
1. ภาคครัวเรือน - ใช้อุปโภคบริโภค 2. ภาคธุรกิจ – เพื่อการลงทุน 3. ภาครัฐบาล - ใช้อุปโภคบริโภคงานรัฐ สินค้าและบริการ (Goods & Service) 1. ภาคครัวเรือน – ใช้อุปโภคบริโภค, แรงงาน 2. ภาคธุรกิจ – เพื่อการลงทุน, การค้า 3. ภาครัฐบาล - ใช้อุปโภคบริโภคงานรัฐ นำเข้า (Import) ส่งออก (Export) 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
14
การจัดสรรทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
ผู้จัดสรรทรัพยากร คือ รัฐบาล จัดสรรทรัพยากร โดยกลไกราคา โดยจัดลำดับตามความสำคัญและความต้องการของประชาชน ว่าต้องการอะไร เท่าไร จากนั้นนำมาดำเนินการผลิต ไปยังแหล่งที่ต้องการ ผู้บริโภค- ราคาสินค้าสูงขึ้น ผู้บริโภคจะซื้อสินค้าลดลง หรือหันไปบริโภคสินค้าอื่นที่ราคาถูกกว่าแทน ผู้ผลิต- ราคาสินค้าที่สูงขึ้นเป็นสิ่งจูงใจให้ผู้ผลิตทำการผลิตมากขึ้น เพราะได้กำไรจากสินค้าสูงขึ้น ซึ่งความต้องการของผู้บริโภคจะเป็นตัวกำหนดให้ผู้ผลิตจัดสรรทรัพยากรในการผลิตสินค้าชนิดใด ปริมาณเท่าไร จึงจะได้กำไรสูงสุด 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
15
การจัดสรรทรัพยากรไปตามเขตภูมิศาสตร์
การจัดสรรทรัพยากรตามเขตภูมิศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมทางเศรษฐกิจการเกษตร ได้แก่ การทำไร่ ทำสวน ทำนา เลี้ยงสัตว์ และอุตสาหกรรมการเกษตร แบ่งตามภูมิภาคต่างๆ ได้แก่ ภาคเหนือ- ป่าไม้ ท่องเที่ยว เลี้ยงสัตว์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ- ทำไร่ทำนา ทำสวน เลี้ยงสัตว์ ยางพารา ภาคตะวันออก- เน้นด้านอุตสาหกรรม และปูลกพืชเศรษฐกิจ ท่องเที่ยว ภาคใต้- ทำเหมืองดีบุก ยางพารา ท่องเที่ยว *อาชีพและรายได้ของแต่ละภาคจึงมีความแตกต่างกันตามเขตเศรษฐกิจของภูมิภาคนั้น ปัจจุบันจัดสรรให้ภูมิภาคที่มีทรัพยากรเกินความต้องการกระจายไปสู่ภูมิภาคที่มีการขาดแคลน เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างทั่วถึง 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
16
ไปตามกลุ่มอาชีพและอุตสาหกรรม
การจัดสรรทรัพยากร ไปตามกลุ่มอาชีพและอุตสาหกรรม จากเดิมไทยมีสัดส่วนภาคการเกษตรในปริมาณที่สูง แต่ปัจจุบันภาคอุตสาหกรรมมีสัดส่วนที่สูงมากว่าภาคเกษตรกรรม รัฐจึงส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตทั้งวิชาชีพ และสนับสนุนการลงทุนและการพัฒนาผลิตผล 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
17
การจัดสรรทรัพยากรไปตามอำนาจหน้าที่
เป็นการจัดสรรทรัพยากรตามบทบาทหน้าที่ด้านการบังคับบัญชา ตามลำดับชั้น โดยเป็นไปตามกฎหมาย โดยมีผลตอบแทนตามความรับผิดชอบของลำดับชั้น ซึ่งการประกอบการทางธุรกิจก็ใช้หลักการจ่ายผลตอบแทนตามหน้าที่ความรับผิดชอบ เช่น อธิบดีได้รับค่าตอบแทนสูงกว่าเสมียน ผู้บริหารรับเงินเดือนสูงกว่าพนักงาน เป็นต้น 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
18
ให้แก่เจ้าของปัจจัยการผลิต
การจัดสรรทรัพยากร ให้แก่เจ้าของปัจจัยการผลิต เจ้าของปัจจัยการผลิต ที่ดิน (Land) ค่าเช่า (Rent) แรงงาน (Labour) ค่าจ้าง (Wage + Salary) ทุน (Capital) ดอกเบี้ย (Interest) ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) กำไร (Profit) 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
19
1. ที่ดิน (Land) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติทุกประเภทที่อยู่บนดิน ในดินและใต้ดิน
2. แรงงาน (Labour) หมายถึง ทรัพยากรมนุษย์ ที่ใช้แรงงานหรือความคิดในการผลิตสินค้าและบริการ 3. ทุน (Capital) หมายถึง สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ 4. ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) หมายถึง ผู้รวบรวมปัจจัยการผลิตมาผลิตสินค้าและบริการ โดยใช้ความสามารถในการดำเนินการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้ความเสี่ยง 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
20
อุปสงค์ อุปสงค์ (Demand) ปริมาณความต้องการสินค้า+บริการ
ของผู้บริโภค ในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคา ต่างๆ กัน อุปสงค์ (Demand) ความต้องการ ความพอใจที่จะซื้อ งบประมาณ 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
21
. Q . R . P กฎของอุปสงค์ ราคา (P) ปริมาณความต้องการสินค้า (Q) ราคา (P)
*ใช้กับสินค้าปกติ, สินค้าทั่วไป P1 . Q P2 . R P3 D ปริมาณความต้องการสินค้า (Q) Q1 Q2 Q3 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
22
ปัจจัยที่ใช้กำหนดการบริโภค
รายได้ของผู้บริโภค ราคาของสินค้าและบริการ ปริมาณเงินหมุนเวียนที่อยู่ในมือ ปริมาณสินค้าที่มีอยู่ในตลาด การคาดคะเนสินค้าและบริการที่มีอยู่ในอนาคต ระบบการค้าและการชำระเงิน ค่านิยม ฤดูกาล ฯลฯ 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
23
ปัจจัยอื่น ที่กำหนดอุปสงค์
ราคาสินค้าชนิดอื่น รายได้ของผู้บริโภค ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง รสนิยม ขนาดของประชากร, จำนวนประชากร ฤดูกาล ฯลฯ P P0 D2 D0 D1 Q Q1 Q0 Q2 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
24
พฤติกรรมของผู้ผลิต เป้าหมายของผู้ผลิต ได้แก่ กำไรสูงสุด, ส่วนแบ่งการตลาด, ยอดขาย, ชื่อเสียง ฯลฯ การสรรหาและบริหารจัดการทรัพยากรที่มีคุณภาพ วางแผนการผลิตและควบคุมการผลิต สินค้ามีคุณภาพ ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค การผลิต ประสิทธิภาพ สูงสุด 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
25
. A . B อุปทาน (Supply) ราคา (P) ปริมาณความต้องการสินค้า (Q)
ปริมาณความต้องการผลิต/เสนอขาย สินค้า+บริการของผู้ผลิต ในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ กัน อุปทาน (Supply) ราคา (P) ปริมาณความต้องการสินค้า (Q) กฎของอุปทาน ราคา (P) . A P1 S . B P2 *ใช้กับสินค้าปกติ, สินค้าทั่วไป ปริมาณความต้องการสินค้า (Q) Q2 Q1 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
26
ปัจจัยที่กำหนดอุปทาน
P S1 กรรมวิธีการผลิต ราคาปัจจัยการผลิต ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง การคาดคะเนสินค้าในอนาคต จำนวนผู้ขาย/ผู้ผลิต ภาษี และเงินช่วยเหลือ S0 S2 P0 Q Q1 Q0 Q2 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
27
ดุลยภาพของอุปสงค์และอุปทาน (หรือดุลยภาพของตลาด)
P S อุปทานส่วนเกิน จุดดุลยภาพ P0 อุปสงค์ส่วนเกิน D Q Q0 1 บทนำ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ (วิชาเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม) ...อ.รัชฎาภรณ์ พัฒนะ
28
ตอบคำถาม ทรัพยากรมีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมอย่างไร
อธิบายหน้าที่ของผู้บริโภค และหน้าที่ของผู้ผลิต ภาคต่างประเทศมีความสัมพันธ์กับอุตสาหกรรมของไทยอย่างไร อธิบาย “อุปทานส่วนเกิน” จะเป็นอย่างไรเมื่อรัฐแทรกแซง และรัฐไม่แทรกแซง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.