ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สัญญาณและระบบ (SIGNALS AND SYSTEMS)
บทที่ 13 การแปลง-ซีและการวิเคราะห์ระบบ สัญญาณและระบบ
2
CT System Solution ทบทวน สัญญาณและระบบ
3
DT System Solution ทบทวน สัญญาณและระบบ
4
บทนำ การแปลง-ซีจะนำมาใช้ในการศึกษาผลการตอบสนองของระบบที่ต่อเนื่องในแกนเวลาที่ผ่านการสุ่ม เหมือนกับการแปลงลาปลาสใช้กับระบบต่อเนื่องในแกนเวลา Difference Eq. Algebraic Eq. การแปลง-ซี Sequence x[n] Complex Var. X[z] การแปลง-ซี สัญญาณและระบบ
5
จากการแปลงลาปลาสไปเป็นการแปลง-ซี
จากการแปลงลาปลาสของฟังก์ชัน x(t)ที่ถูกสุ่ม x*(t) ด้วยคาบTs แปลงลาปลาส สมบัติ Sifting ให้ สัญญาณและระบบ
6
การแปลง-ซี การแปลงซีสองทาง การแปลง-ซีของฟังก์ชัน(สัญญาณหรือระบบ) x[n]
Time advance Time delay z อยู่ในรูปของอนุกรมอนันต์ (อนุกรมโลรองต์) ค่าของ z ที่ทำให้ผลบวกข้างต้นหาค่าได้เรียก บริเวณที่ลู่เข้า(ROC) สัญญาณและระบบ
7
การแปลง-ซี x-[n] เป็นส่วน anticausal ของ x[n] = x[n]u[-n-1]
x+[n] เป็นส่วน causal ของ x[n] = x[n]u[n] correct correct สัญญาณและระบบ
8
การแปลง-ซีของ Causal System
ให้ |x+[n]| NR+n , N, R+ ค่าคงที่ สัญญาณและระบบ
9
การแปลง-ซีของ Causal System
j Region of Convergence Region of Divergence R+ = |z| สัญญาณและระบบ
10
การแปลง-ซี x-[n] เป็นส่วน anticausal ของ x[n] = x[n]u[-n-1]
x+[n] เป็นส่วน causal ของ x[n] = x[n]u[n] correct correct สัญญาณและระบบ
11
การแปลง-ซี Anti-Causal System
x-[n] เป็นส่วน anticausal ของ x[n] = x[n]u[-n-1] ให้ |x-[n]| MR-n, M, R- ค่าคงที่ สัญญาณและระบบ
12
การแปลง-ซีของ Anti-Causal System
j Region of Divergence Region of Convergence R- = |z| สัญญาณและระบบ
13
การแปลง-ซี NonCausal System
ถ้า M, N, R+x, R-x เป็นค่าคงที่แล้ว N X[z] จำกัดถ้า ทั้งR+ /r และ r/R- < 1 นั่นคือ สัญญาณและระบบ
14
บริเวณที่ลู่เข้า(Region Of Convergence)
j ROC z-plane = |z| Rx+ Rx- สัญญาณและระบบ
15
การแปลง-ซี สัญญาณและระบบ
16
อนุกรมเรขาคณิต ใช้จัดรูปแบบฟังก์ชัน-ซี ให้ง่ายต่อการพิจารณาลักษณะสมบัติ สัญญาณและระบบ
17
การแปลง-ซีของฟังก์ชันพื้นฐาน
สัญญาณ x[n] X(z) อิมพัลส์หนึ่งหน่วย [n] 1 ขั้นบันไดหนึ่งหน่วย u[n] n แรมป์หนึ่งหน่วย anu[n] อนุกรมกำลัง เอ็กโปเนนเชียล eanTs u[n] ซายน์ sin (nTs) cos(nTs) โคซายน์ สัญญาณและระบบ
18
การแปลง-ซีของลำดับ 3 แบบ
ลำดับความยาวจำกัด ลำดับความยาวไม่จำกัดครึ่งเดียว ลำดับความยาวไม่จำกัด สัญญาณและระบบ
19
การแปลง-ซีของลำดับความยาวจำกัด
x[n] a b ตัวอย่าง: ROC ลู่เข้าทุกค่าของ z ยกเว้นที่ z = 0 และ z = สัญญาณและระบบ
20
การแปลง-ซีของลำดับความยาวไม่จำกัดครึ่งเดียว
x[n] a ROC X(z) ลู่เข้าทุกค่าของ z โดย Rx-< |z|ยกเว้นที่ z = ถ้า a<0 สัญญาณและระบบ
21
การแปลง-ซีของลำดับความยาวไม่จำกัดครึ่งเดียว
x[n] b ROC X[z] ลู่เข้าทุกค่าของ z โดย |z| < Rx+ยกเว้นที่ z = 0 ถ้า 0<b สัญญาณและระบบ
22
การแปลง-ซีของลำดับความยาวไม่จำกัดครึ่งเดียว
ตัวอย่าง: โดยที่ Rx+=2 และ X(z) ลู่เข้าทุกค่า |z|< 2 สัญญาณและระบบ
23
การแปลง-ซีของลำดับความยาวไม่จำกัด
x[n] ROC X(z) ลู่เข้าทุกค่าของ z โดย Rx-< |z|< Rx+ โดย Rx-กำหนดจากพฤติกรรมของx[n]ที่ n>0 โดย Rx+กำหนดจากพฤติกรรมของx[n]ที่ n<0 สัญญาณและระบบ
24
การแปลง-ซีของลำดับความยาวไม่จำกัด
ตัวอย่าง: และ สัญญาณและระบบ
25
การแปลง-ซีของลำดับความยาวไม่จำกัด
เทอมที่หนึ่งลู่เข้าเมื่อ |z/2|< 1หรือ |z|< 2 เทอมที่สองลู่เข้าเมื่อ |1/2z|< 1หรือ ½ < |z| ในที่นี้ Rx-= ½ และ Rx+= 2 ดังนั้น ½ < |z|< 2 สัญญาณและระบบ
26
การแปลง-ซีของลำดับ ตัวอย่าง: จงระบุบริเวณของการลู่เข้าของการแปลง-ซี ของลำดับต่อไปนี้ -1/2 1/4 สัญญาณและระบบ
27
การแปลง-ซีของลำดับและ ROC
ทุกค่าของ z ยกเว้น z = 0 ทุกค่าของ z ยกเว้น z = ทุกค่าของ z ยกเว้น z = 0 และ Rx-< |z| |z|< Rx+ Rx-< |z|< Rx+ สัญญาณและระบบ
28
สมบัติการเลื่อนของการแปลง-ซี
ปกติจากการแปลง-ซีจะมีลักษณะคล้ายกับการแปลงลาปลาส จึงกล่าวถึงเฉพาะสมบัติที่สำคัญในการวิคราะห์ ให้ m = n-k สัญญาณและระบบ
29
สมบัติการเลื่อนของการแปลง-ซี
= เงิ่อนไขเริ่มต้น+ z-kX(z) เงิ่อนไขเริ่มต้น ถ้า x[n]=0 ที่ n < 0 สัญญาณและระบบ
30
ทฤษฎีการเลื่อนของการแปลง-ซี
ตัวอย่าง X[n] 1 2 4 n X[n-2] 1 2 4 n เงิ่อนไขเริ่มต้น = 1+ ½z-1 สัญญาณและระบบ
31
ตัวอย่างการแปลง-ซี x[n] = en x[n] 1 2 4 n
0.8 0.64 0.512 2 4 n X(z) = 1+0.8z z z-3+……. = 1+(0.8z-1)+(0.8z-1)2+(0.8z-1)3+……. อนุกรมเรขาคณิต สัญญาณและระบบ
32
การแปลง-ซี ผกผัน โดยวิธี Inversion integral
โดยใช้ partial fraction expansion ทำให้ฟังก์ชัน-ซี อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน ฟังก์ชัน-ซีอยู่ในรูป power series โดยการหารยาว โดยวิธีเชิงตัวเลข สัญญาณและระบบ
33
ตัวอย่างการแปลง-ซี ผกผัน
ฟังก์ชัน-ซีอยู่ในรูป power series x[n] = 0, 1, 1.2, 1.44, ,…. สัญญาณและระบบ
34
การแปลง-ซี ผกผัน โดยใช้ partial fraction expansion ทำให้ฟังก์ชัน-ซี อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน ตัวอย่าง รูปแบบมาตรฐาน สัญญาณและระบบ
35
การแปลง-ซี ผกผัน ฟังก์ชัน-ซีอยู่ในรูป power series โดยหารยาวเศษด้วยส่วน ตัวอย่าง โดยการหารยาว สัญญาณและระบบ
36
ส.ป.ส ของ X[n] = 0, 1, 1.5, 1.75, 1.85…… สัญญาณและระบบ
37
ใช้ การแปลง-ซี ในการแก้สมการผลต่าง
ระบบ DLTI แทนได้ด้วยสมการผลต่าง ต่อไปนี้ ใช้การแปลง-ซีร่วมกับสมบัติการเลื่อน สัญญาณและระบบ
38
ใช้ การแปลง-ซี ในการแก้สมการผลต่าง
จัดเทอมใหม่ เมื่อเงื่อนไขเริ่มต้นเป็นศูนย์ สัญญาณและระบบ
39
ใช้ การแปลง-ซี ในการแก้สมการผลต่าง
ตัวอย่าง: วงจร RC ผ่านความถี่ต่ำ อินพุทเป็นสัญญาณขั้นบันใด 10 หน่วย ประมาณเทอมอนุพันธ์ทำให้ได้สมการผลต่างสองแบบ ก. ข. สัญญาณและระบบ
40
วงจร RC ผ่านความถี่ต่ำ
ก. =1.0และ T=0.1 แปลง ซี สมการ ก. vi เป็นลำดับขั้นบันไดขนาด 10 v. สัญญาณและระบบ
41
วงจร RC ผ่านความถี่ต่ำ
ทำ partial fractionของ Vo[z]/z แปลง ซีผกผัน สัญญาณและระบบ
42
วงจร RC ผ่านความถี่ต่ำ
ข. แปลง ซี สมการ ข. สัญญาณและระบบ
43
การประสานในโดเมน-ซี y[n] x[n] h[n] สมบัติการประสานในโดเมน-ซี
สัญญาณและระบบ
44
ตัวอย่างการประสานในโดเมน-ซี
จงหาผลประสานระหว่าง x[n]และ h[n] n = ……. x[n] = ……. h[n] = ……. X(z) = 1-2z-1+3z-2-z-3-z-4 H(z) = 2+z-1+z-2 Transfer function X(z)H(z) = 2-3z-1+3z-2+3z-3-6z-4+z-3 y[n] = สัญญาณและระบบ
45
การนำเสนอในระนาบเชิงซ้อน
ฟังก์ชันโอนย้ายใน s โดเมน ฟังก์ชันโอนย้ายใน z โดเมน สัญญาณและระบบ
46
การนำเสนอในระนาบเชิงซ้อน
ทำ partial fractionของ H[z]/z ผลการตอบสนองในโดเมนเวลา สัญญาณและระบบ
47
โพลส์(poles)และซีโรส์(zeros)
Zmเป็นรากของ N[z]= 0 Zmเป็นจำนวนจริงหรือจำนวนเชิงซ้อน Zmเป็นซีโรส์(zeros)ของ H(z) Pnเป็นรากของ D[z]= 0 Pnเป็นโพลส์(poles) ของ H(z) สัญญาณและระบบ
48
โพลส์(poles)และซีโรส์(zeros)
Im|z| Unit cycle Re|z| สัญญาณและระบบ
49
การนำเสนอโพลส์และซีโรส์บนระนาบเชิงซ้อน
ส่วนจินตภาพของ z ตัวอย่าง j1 วงกลมรัศมี 1หน่วย X -1 -2 ส่วนจริงของ z -j1 ซีโรส์ของ H(z) X โพลส์ของ H(z) สัญญาณและระบบ
50
การนำเสนอโพลส์และซีโรส์บนระนาบเชิงซ้อน
ตัวอย่าง ส่วนจินตภาพของ z ซีโรส์ของ H(z) j1 X โพลส์ของ H(z) วงกลมรัศมี 1หน่วย X X ส่วนจริงของ z -1 -2 X -j1 สัญญาณและระบบ
51
โพลส์และROC ส่วนจินตภาพของ z j1 ROC Anticausal poles ส่วนจริงของ z -2
สัญญาณและระบบ
52
การตีความตามตำแหน่งของโพลส์
ตำแหน่งของโพลส์บนระนาบเชิงซ้อนแสดงถึงการตอบสนองในแกนเวลาของระบบ โพลส์ที่อยู่บนหรือในวงกลมหนึ่งหน่วยระบบจะเสถียร ไม่มีโพลส์ที่อยู่บนวงแหวนของ ROC แต่ Causal poles อยู่ในวงแหวนและ Anticausal poles อยู่นอกวงแหวน สัญญาณและระบบ
53
การแปลง-ซีด้านเดียว ใช้กับระบบและสัญญาณ causal การแปลง ซี ทำได้ง่าย
สัญญาณและระบบ
54
สรุป การแปลง-ซี ใช้ในการหาผลตอบสนองของระบบ DLTI โดยการแปลงสมการผลต่างให้อยู่ใน ซี-โดเมน ฟังก์ชันโอนย้ายของระบบ DLTI (H[z])ได้จากการแปลง-ซีของผลตอบ สนองอิมพัลส์หนึ่งหน่วย h[n] เสถียรภาพของระบบ DLTI สังเกตุได้จากตำแหน่งของโพลของ (H[z]) บนระนาบเชิงซ้อน z สัญญาณและระบบ
55
สรุป บริเวณบนระนาบ z ของระบบ DLTI ที่ไม่มีโพลของ H[z] เรียกว่าบริเวณของการลู่เข้า (Region of convergence:ROC) บริเวณของการลู่เข้า (Region of convergence:ROC) ของ H[z] อยู่ในบริเวณระหว่างวงกลมรัศมี Rx+และRx- ซึ่งขนาดของ Rx+และRx- ขึ้นอยู่กับลักษณะของลำดับh[n] ผลตอบสนองของระบบ DLTI ได้จากการคูณฟังก์ชันโอนย้ายกับอินพุทในโดเมน-ซี สัญญาณและระบบ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.