ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMari Heikkinen ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
Dr. Luckwirun Chotisiri College of Nursing and Health, ssru
VALIABLE & Hypothesis Dr. Luckwirun Chotisiri College of Nursing and Health, ssru
2
วัตถุประสงค์การวิจัย การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
วงจรการวิจัย (Research Cycle) วัตถุประสงค์การวิจัย หลักการทฤษฎี (เชิงนามธรรม) การให้ข้อเสนอแนะ สมมติฐานการวิจัย การอภิปราย/สรุป ออกแบบการวิจัย ปัญหาการวิจัย การเลือกกลุ่มตัวอย่าง การแปลความหมาย การปฏิบัติ (เชิงรูปธรรม) การวิเคราะห์ข้อมูล การสร้างเครื่องมือ การรวบรวมข้อมูล SOURCE รศ. ดร. ประภาพรรณ อุ่นอบ, 2556
3
ตัวแปร (Variable) :คุณสมบัติใดๆ ที่มีค่าเปลี่ยนแปลงได้ (vary) ในขอบเขตหนึ่งๆ (Kerlinger, 1973)
4
ลักษณะของตัวแปร ตัวแปรรูปธรรม (Concept) : แสดงความหมายที่คนทั่วไปรับรู้ ตรงกัน เช่น เพศ อายุ ความสูง เชื้อชาติ ระดับการศึกษา ตัวแปรนามธรรม (Construct): หรือเรียกว่า ตัวแปรสมมติฐาน แสดงความหมายในลักษณะเฉพาะตัวบุคคล วัดยาก ความวิตกกังวล ทัศนคติ ความเป็นผู้นำ แรงจูงใจ
5
ตัวอย่างตัวแปร น้ำหนัก เพศ ส่วนสูง อายุ สถานภาพสมรส
ระดับการศึกษา ความรัก ความกังวล เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ น้ำหนัก เพศ ส่วนสูง สถานภาพสมรส อายุ ความรัก ระดับการศึกษา ความกังวล
6
ชนิดของตัวแปร 3. ตัวแปรแทรกซ้อน/เกิน (Extraneous Variable):
1. ตัวแปรอิสระ/ตัวแปรต้น (Independent variables) เป็นเหตุ(cause) เกิดก่อน(antecedence) ถูกจัดกระทำ(manipulated) 2. ตัวแปรตาม (Dependent variables) เป็นผล (effect) เกิดหลัง (consequence) ต้องการสังเกต/วัด (measured) 3. ตัวแปรแทรกซ้อน/เกิน (Extraneous Variable): มีผลต่อตัวแปรตามเช่นเดียวกับตัวแปรต้น แต่เราไม่ต้องการศึกษา
7
ตัวอย่างตัวแปร 1. ความรู้เรื่องการเลี้ยงทารกของแม่วัยรุ่นเป็นอย่างไร?
ตัวแปรอิสระ/ต้น คือ………………… ตัวแปรตาม คือ ………………………. 2. เพศมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพหรือไม่? ตัวแปรอิสระ/ต้น คือ………………… ตัวแปรตาม คือ ……………………….
8
ตัวแปรในการวิจัย (Variable)
คุณสมบัติใดๆ ที่มีค่าเปลี่ยนแปลงได้ (vary) ในขอบเขตหนึ่งๆ (Kerlinger, 1973) 1. ความรู้เรื่องการเลี้ยงทารกของแม่วัยรุ่นเป็นอย่างไร? 2. เพศมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพหรือไม่?
9
สมมติฐาน (Hypothesis)
H0 : µ 1 = µ 2 H1 : µ 1 ≠ µ 2 H1 : µ 1 > µ 2 H0 : µ 1 = µ 2 H1 : µ 1 ≠ µ 2 H1 : µ 1 > µ 2 H0 : µ 1 = µ 2 H1 : µ 1 ≠ µ 2 H1 : µ 1 > µ 2 H0 : µ 1 = µ 2 H1 : µ 1 ≠ µ 2 H1 : µ 1 > µ 2 H0 : µ 1 = µ 2 H1 : µ 1 ≠ µ 2 H1 : µ 1 > µ 2 H0 : µ 1 = µ 2 H1 : µ 1 ≠ µ 2 H1 : µ 1 > µ 2
10
สมมติฐาน (Hypothesis)
1. สมมติฐานการวิจัย (Research hypothesis) เป็นข้อความที่คาดเดาคำตอบไว้ล่วงหน้า เขียนบรรยายโดยใช้ภาษา เพื่อสื่อความหมายให้เข้าใจตรงกัน 2. สมมติฐานทางสถิติ (Statistical hypothesis) เป็นการเขียนอธิบายคำตอบในรูปโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ ที่คาดคะเนถึงความสัมพันธ์ระหว่างสองตัวแปรหรือมากกว่า
11
สมมติฐานทางสถิติ (Statistical hypothesis)
1. สมมติฐานศูนย์ (Null hypothesis) เป็นการตั้งไว้เพื่อการทดสอบ เขียนไว้ในลักษณะที่ไม่แตกต่างกัน ระหว่างค่าพารามิเตอร์ที่ต้องการทดสอบ นิยมใช้สัญลักษณ์ H0 H0 : µ 1 = µ 2
12
สมมติฐานทางสถิติ (Statistical hypothesis)
สมมติฐานทางเลือก (Alternative hypothesis) H1 1)แบบไม่มีทิศทาง (Non-directional Alternative hypothesis) (Two-tailed Test) H1 : µ 1 ≠ µ 2 2) แบบมีทิศทาง (Directional Alternative hypothesis) (One-tailed Test) H1 : µ 1 > µ 2
13
ประเมินผลความรู้เรื่องตัวแปรและสมมติฐาน สำหรับนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ลักษณะส่วนบุคคล - เพศ - อายุ - เกรดเฉลี่ย คะแนนความรู้ของนศฯ กิจกรรมกลุ่ม ปัจจัยภายนอก - ความสนใจในสาขาการพยาบาลที่สนใจ - กิจกรรมการมีส่วนร่วมในกลุ่ม
14
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
ชื่อเรื่อง ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
15
GROUP ASSIGNMENT คำสำคัญ 1. ชาวสวนยาง ปัญหาสุขภาพ จังหวัดนครศรีธรรมราช
2. พนักงานขับรถโดยสารสาธารณะ วัณโรคปอด กรุงเทพมหานคร 3. นักบัญชี กระเพาะปัสสาวะอักเสบ 4. จิตรกรวาดภาพ(จิตรกรรมฝาผนัง) ปัญหาสุขภาพ 5. ความวิตกกังวล สถานที่ฝึกปฏิบัติ น.ศ. พยาบาล ปี 3 มรสส 6. พนักงานกวาดถนน อุบัติเหตุ กรุงเทพมหานคร 7. นักกีฬา โรคผิวหนัง (Tinea vesicolor) 8. เกษตรกร สารเคมี (ยาฆ่าแมลง Insecticide) 9. นักคอมพิวเตอร์ Office syndrome 10. พยาบาล ปัญหาสุขภาพ (Overweight) 11. พนักงานเก็บขยะ โรคติดเชื้อทางผิวหนัง 12. พยาบาล เส้นเลือดขอด
16
ตัวอย่างสมมติฐาน ความรู้เรื่องการเลี้ยงทารกของแม่วัยรุ่นเป็นอย่างไร? แม่วัยรุ่นที่ได้รับการสอนสุขศึกษามีความรู้เรื่องการเลี้ยงลูกเท่าเดิม แม่วัยรุ่นที่ได้รับการสอนสุขศึกษามีความรู้เรื่องการเลี้ยงลูกเพิ่มขึ้น แม่วัยรุ่นมีความรู้เรื่องการเลี้ยงลูกแตกต่างกันเมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังการให้สุขศึกษา a) H0 : µ 1 = µ 2 b) H1 : µ 1 > µ 2 c) H1 : µ 1 ≠ µ 2
17
ตัวอย่างสมมติฐาน 2. เพศมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพอย่างไร? a) H0 : µ 1 = µ 2 b) H1 : µ 1 > µ 2 c) H1 : µ 1 ≠ µ 2
18
ประโยชน์ของสมมติฐาน 1. ช่วยให้เห็นขอบเขตหรือกรอบของการวิจัยอย่างชัดเจน (ปัญหา ตัวแปร และความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร) 2. ช่วยบ่งชี้ทิศทางสำหรับการออกแบบและวางแผนการทำวิจัย 3. วางกรอบแนวทางในการรายงานข้อสรุปของการวิจัย
19
แบบวัดความรู้เรื่องตัวแปรและสมมติฐาน (10 ข้อ)
……….. 1. ตัวแปร (Variable) หมายถึง คุณสมบัติใดๆ ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงในขอบเขตหนึ่งๆ 2. ตัวแปรมี 2 ลักษณะ คือ ตัวแปรรูปธรรม (concept) และตัวแปรนามธรรม (construct) 3. เพศ จัดอยู่ในกลุ่มของตัวแปรรูปธรรม (concept) 4. ความวิตกกังวล จัดอยู่ในตัวแปรนามธรรม (construct) 5. กรอบแนวคิดในการวิจัย จะประกอบด้วยตัวแปรอย่างน้อย 2 ชนิด คือ ตัวแปรอิสระ (Independent variable) และตัวแปรตาม (Dependent variable)
20
แบบวัดความรู้เรื่องตัวแปรและสมมติฐาน (10 ข้อ)
……….. 6. สมมติฐานการวิจัย (Research Hypothesis) คือ การคาดเดาคำตอบไว้ล่วงหน้า โดยเขียนข้อความสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน 7. สมมติฐานทางสถิติ (Statistical Hypothesis) คือ การเขียนอธิบายคำตอบในรูปโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ ที่คาดคะเนถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวขึ้นไป 8. เมื่อกำหนด H0: µ1 = µ2 แล้ว H1 : µ1 ≠ µ2 หมายความว่า ผู้วิจัยตั้งสมมติฐานแบบไม่มีทิศทาง 9. เมื่อกำหนด H0 : µ1 = µ2 แล้ว H1 : µ1 < µ2 หรือ H1 : µ1 < µ2 หมายความว่า ผู้วิจัยตั้งสมมติฐานแบบมีทิศทาง 10. ประโยชน์ของสมมติฐาน ช่วยให้ทราบปัญหาในการวิจัย กำหนดตัวแปร และความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
21
For more information, please view as follows
newsser.fda.moph.go.th/rumthai/userfiledownload/asu93dl.ppt อุทัยทิพย์ เจี่ยวรรธนิกุล. (ไม่ทราบปี พ.ศ. ). การกำหนด สมมติฐานการวิจัย. สืบค้นวันที่ 31 ม.ค. 2561, จาก
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.