ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
หน่วยที่1 แนวคิดการจัดการและองค์การ
หน่วยที่1 แนวคิดการจัดการและองค์การ 2
2
ความหมายของ “การจัดการ (Management)” หรือ “การบริหาร (Administration)”
เป็นความหมายที่เหมือนกันและสามารถใช้แทนกันได้ แตกต่างกันตรงที่การใช้งานกล่าวคือ หากกล่าวถึงคำว่า “การจัดการ” จะนิยมใช้ในวงการธุรกิจ ส่วนในวงการรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ มักจะใช้คำว่า “การบริหาร”
3
ความสำคัญของการจัดการ...
การจัดการเป็นสมองขององค์การ การจัดการเป็นเทคนิควิธีการที่ทำให้สมาชิกในองค์การเกิดจิตสำนึกร่วมกัน การจัดการเป็นการกำหนดขอบเขตในการทำงานของสมาชิกในองค์การ การจัดการเป็นการแสวงหาวิธีการที่ดีที่สุดในการปฏิบัติงาน 3
4
...การจัดการเป็น ศาสตร์ และ ศิลปะ
การจัดการเป็นศาสตร์ ( Management is a Science ) การจัดการเป็นศิลปะ ( Management is also an art)
5
การจัดการกับระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ จะมีประโยชน์ต่อการจัดการ ดังนี้ 1. การกำหนดเป้าหมาย 2. การวางแผนและการตัดสินใจ 3. การจัดและปรับปรุงโครงสร้างองค์การ 4. การบริหารงานบุคคล 5. การอำนวยการและการสั่งการ 6. การควบคุม 5
6
องค์การทางสังคม องค์การทางราชการ องค์การเอกชน
ในการจัดการองค์การโดยทั่วไปแล้วเราสามารถจำแนกองค์การที่มีอยู่ออกเป็น 3 ลักษณะใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ องค์การทางสังคม องค์การทางราชการ องค์การเอกชน 6
7
ความหมายขององค์การ ความหมายของคำว่า “องค์การ” ได้ดังนี้ องค์การเป็นการรวมตัวกันของคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกันในการทำกิจกรรม หรืองานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยอาศัยกระบวนการจัดโครงสร้างของกิจกรรม หรืองานนั้น ออกเป็นประเภทต่างๆ เพื่อแบ่งงานให้แก่สมาชิกในองค์การ ดำเนินการปฏิบัติให้บรรลุเป้าหมาย 7
8
ลักษณะที่ 1 องค์การคือกลุ่มของบุคคล
ลักษณะขององค์การ ลักษณะที่ 1 องค์การคือกลุ่มของบุคคล ( Organization as a Group of People ) ลักษณะที่ 2 องค์การคือ โครงสร้างของความสัมพันธ์ ( Organization as a Structure of Relationship ) 8
9
ลักษณะที่ 4 องค์การคือ กระบวนการ (Organization as a Process)
ลักษณะขององค์การ ลักษณะที่ 3 องค์การเป็นหน้าที่ส่วนหนึ่งของการจัดการ (Organization as a Function of Management) ลักษณะที่ 4 องค์การคือ กระบวนการ (Organization as a Process) ลักษณะที่ 5 องค์การเป็นระบบอย่างหนึ่ง (Organization as a System) 9
10
เป้าหมายขององค์กร (Organization Goal)
เป้าหมายเปรียบเสมือนทิศทาง หรือวิถีทางที่จะไปให้ถึงจุดหมายปลายทาง ในการกระทำกิจกรรมใดๆ ก็ตาม จะต้องกำหนดเป้าหมายเพื่อให้เป็นกรอบหรือทิศทาง ให้กิจกรรมนั้นประสบความสำเร็จ ดังนั้นเป้าหมายขององค์การจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งที่จะนำองค์การไปสู่ทิศทางที่กำหนดไว้ 10
11
สรุป เป้าหมายขององค์การ คือ จุดหมายปลายทางที่กำหนดขึ้นเพื่อให้การจัดสรรทรัพยากร และกิจกรรมต่างๆ ขององค์การเอื้ออำนวยประโยชน์ต่อทิศทางสุดท้าย ที่กำหนดในองค์การนั้นๆ 11
12
(Organization Objectives)
วัตถุประสงค์ขององค์การ (Organization Objectives) 1. วัตถุประสงค์ทางเศรษฐกิจหรือกำไร ( Economic or Profit Objectives ) 2. วัตถุประสงค์เกี่ยวกับการใช้บริการ ( Service Objectives ) 3. วัตถุประสงค์ทางด้านสังคม (Social Objectives) แยกออกเป็นวัตถุประสงค์ที่สำคัญได้ 3 ประเภท ดังนี้ 12
13
องค์การแบบปฐมภูมิ และองค์การแบบทุติยภูมิ
ประเภทขององค์การ องค์การแบบปฐมภูมิ และองค์การแบบทุติยภูมิ องค์การแบบปฐมภูมิ ( Primary Organization ) องค์การแบบทุติยภูมิ (Secondary Organization ) 13
14
2. องค์การแบบมีรูปแบบ และองค์การแบบไร้รูปแบบ
ประเภทขององค์การ 2. องค์การแบบมีรูปแบบ และองค์การแบบไร้รูปแบบ 2.1 องค์การแบบมีรูปแบบ (Formal Organization) มีองค์ประกอบสำคัญขององค์การแบบมีรูปแบบ ดังนี้ 1. การแบ่งระดับชั้นสายการบังคับบัญชา (Hierarchy) 2. การแบ่งงาน (Division of Labor) 3. ช่วงการควบคุม (Span of Control) 4. เอกภาพในการบริหารงาน (Unity of Command) 14
15
2.2 องค์การแบบไร้รูปแบบ (Informal Organization )
ประเภทขององค์การ 2.2 องค์การแบบไร้รูปแบบ (Informal Organization ) สาเหตุที่ทำให้เกิดองค์การที่ไร้รูปแบบ มีดังนี้ องค์การที่มีรูปแบบ วางระเบียบแบบแผน และกฎเกณฑ์ ไม่รัดกุม หรือไม่ดีพอ องค์การที่มีรูปแบบ ไม่สามารถ สนองตอบต่อความต้องการ ของสมาชิกในองค์การได้ 15
16
ข้อดี ขององค์การที่ไร้รูปแบบ ข้อเสีย ขององค์การที่ไร้รูปแบบ
ข้อดีและข้อเสียของ องค์การที่ไร้รูปแบบ ข้อดี ขององค์การที่ไร้รูปแบบ ข้อเสีย ขององค์การที่ไร้รูปแบบ 1. การทำให้งานบางอย่างดำเนินไปได้อย่างรวดเร็ว และประหยัดกว่าที่จะดำเนินการแบบมีรูปแบบ 1. บางครั้งเกิดการต่อต้านกับองค์การมีรูปแบบทำให้งานดำเนินได้ไม่มีเท่าที่ควร 2. ส่งเสริมขวัญ และกำลังใจในการทำงานของสมาชิก 2. อาจก่อให้เกิดความแตกแยกเป็นกลุ่มเป็นพวกขาดความสามัคคีในระหว่างสมาชิกขององค์การ 3. เป็นทางออกที่บำบัดความไม่พอใจ หรือน้อยเนื้อต่ำใจของบุคคลในองค์การที่มีรูปแบบได้ 3.องค์การไร้รูปแบบอาจเกิดขึ้นมาก และมีความแข็งแกร่งจนทำให้เสียระเบียบแบบแผนที่วางไว้ 4. ลดภาระของหัวหน้างานลงได้บ้าง หากว่าผู้ร่วมงานมีความสัมพันธ์ และเข้าใจ 16
17
ลักษณะขององค์การไร้รูปแบบที่แฝงอยู่ในองค์การที่มีรูปแบบ
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 เป้าหมาย องค์การไร้รูปแบบ องค์การมีรูปแบบ 17
18
(Organization Theory)
ทฤษฎีองค์การ (Organization Theory) เราสามารถจำแนกของความคิด และทฤษฎีขององค์การออกเป็น 3 รูปแบบ คือ 1. ทฤษฎีสมัยดั้งเดิม ( Classical Theory ) 2. ทฤษฎีสมัยใหม่ ( Neo-Classical Theory ) 3. ทฤษฎีสมัยปัจจุบัน ( Modern Theory ) 18
19
สรุปทฤษฎีองค์การใน 3 รูปแบบ
ทฤษฎีสมัยดั้งเดิม ทฤษฎีสมัยใหม่ ทฤษฎีสมัยปัจจุบัน 1. เน้นเศรษฐกิจ 1.เน้นสังคมศาสตร์ 1.เน้นสังคมเศรศฐศาสตร์ 2.มองมนุษย์เป็นเครื่องจักร 2.มองมนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความรู้สึก มีจิตใจ 2.มองมนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีความรู้สึก มีจิตใจ 3.นำความรู้ด้านมนุษย์สัมพันธ์มาใช้ 4.นำสิ่งแวดล้อมมาพิจารณา 5.ใช้แนวความคิดในเชองระบบ 6.คำนึงถึงความเป็นอิสระ และสิ่งแวดล้อมภายใน และภายนอก (ทฤษฎีองค์การตามสถานการณ์และกรณี ) 19
20
กิจกรรม การจัดการมีความสำคัญอย่างไรสำหรับองค์การ
จงอธิบายความหมายของการจัดการเป็นศาสตร์และศิลปะ ระบบสารสนเทศมีประโยชน์ต่อการจัดการอย่างไรบ้าง การจัดองค์การโดยทั่วไปแล้ว สามารถจำแนกได้กี่ลักษณะ และแต่ละลักษณะมีความแตกต่างกันอย่างไร “องค์การ” หมายถึงอะไร ลักษณะขององค์การนอกเหนือจาก 3 ลักษณะใหญ่ๆ จะประกอบด้วยลักษณะอะไรบ้าง การกำหนดเป้าหมายขององค์การมีความสำคัญอย่างไรบ้าง วัตถุประสงค์ขององค์การแบ่งเป็นกี่ประเภท และในแต่ละประเภทมีความแตกต่างกันอย่างไร องค์การแบบปฐมภูมิ และองค์การแบบทุติยภูมิ มีความแตกต่างกันอย่างไร องค์การแบบมีรูปแบบ และองค์การแบบไม่มีรูปแบบ มีความแตกต่างกันอย่างไร ทฤษฎีองค์การสมัยดั้งเดิม มีความแตกต่างกับทฤษฎีสมัยปัจจุบันอย่างไร
21
หน่วยที่1 แนวคิดการจัดการและองค์การ
หน่วยที่1 แนวคิดการจัดการและองค์การ 2
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.