ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMarilyn Wade ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
การศึกษาการจองปริมาณบรรทุกสินค้าที่เหมาะสมระหว่างตัวแทนรับขนส่งสินค้าและสายการบิน
อภิญญา เทพพนมรัตน์ รศ.ดร.กาญจ์นภา อมรัชกุล
2
ที่มาและความสำคัญของการศึกษา
Shipper Freight Forwarder Carrier Freight Forwarder Consignee
3
ทบทวนวรรณกรรม Bing and Bhatnagar (2013)
ศึกษาถึงการจองพื้นที่ระวางสินค้าภายใต้ราคาที่ไม่แน่นอนและความไม่แน่นอนของข้อจำกัดในเรื่องพื้นที่บรรทุกสินค้าของสายการบินจากหลายสายการบิน ควรทำการจองพื้นที่เท่าไหร่ เมื่อทำสัญญาระยะยาว ควรซื้อพื้นที่จากสายการบินเท่าไร ในกรณีที่ไม่ได้ทำการจองล่วงหน้า Min Cost
4
ทบทวนวรรณกรรม Chew et al. (2006)
ศึกษาถึงการจองพื้นที่ระยะสั้นสำหรับการจองพื้นที่บรรทุกสินค้าเมื่อใกล้เวลาเครื่องออก Trade-off ระหว่างต้นทุนสินค้าที่ตกค้างและต้นทุนของการซื้อพื้นที่เพิ่ม
5
ขั้นตอนการดำเนินงานของบริษัทกรณีศึกษา
กรณีที่ไม่มีการจองปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้า กรณีที่มีการจองปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้า
6
ส่งปริมาณบรรทุกสินค้าที่เกินไป ยังสายการบิน B (อื่นๆ)
เริ่มต้น ลูกค้าแจ้งความต้องการส่งออกสินค้าและส่งรายละเอียดสินค้ามายังบริษัท เช่น ประเภทของสินค้า จำนวนของ สินค้า น้ำหนักของสินค้า ประเทศปลายทางที่ต้องการส่งออก และวันที่ต้องการส่งออกสินค้าจากประเทศต้นทาง เกิน ปริมาณบรรทุกสินค้าที่ต้องการส่งออกเกินที่จองไว้กับสายการบิน A หรือไม่ ไม่เกิน เจ้าหน้าที่สอบถามไปยังสายการบิน A ว่า สามารถเพิ่มปริมาณบรรทุกสินค้าได้หรือไม่ สายการบิน A สามารถให้บริการปริมาณบรรทุกสินค้าที่เกินได้หรือไม่ ได้ (0.7) เจ้าหน้าที่ส่งรายละเอียดและข้อมูลสินค้าให้สายการ บิน A เพื่อยืนยันปริมาณบรรทุกสินค้าบรรทุกสินค้า ไม่ได้ (0.3) เจ้าหน้าที่ส่งรายละเอียดและ ข้อมูลสินค้าให้สายการบิน B เพื่อยืนยันปริมาณบรรทุก สินค้าบรรทุกสินค้า ส่งปริมาณบรรทุกสินค้าที่เกินไป ยังสายการบิน B (อื่นๆ) สิ้นสุด
7
ตัวแบบการจองปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้า
𝒑 𝑨 ราคาขายของสายการบิน A บาท/กิโลกรัม 𝒄 𝑨 ต้นทุนของสายการบิน A บาท/กิโลกรัม 𝒑 𝑩 ราคาขายของสายการบิน B บาท/กิโลกรัม 𝒄 𝑩 ต้นทุนของสายการบิน B บาท/กิโลกรัม 𝒙 แทนปริมาณบรรทุกสินค้าที่ต้องการจองกับสายการบิน (กิโลกรัม) D ≤ x D แทนปริมาณความต้องการส่งออกสินค้าในแต่ละเที่ยวบิน D>x min x,D แทนปริมาณบรรทุกสินค้าที่ส่งไปยังสายการบิน A D−x + แทนปริมาณบรรทุกสินค้าที่ส่งไปยังสายการบิน B
8
ตัวแบบการจองปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้า
α โอกาสที่สายการบิน A จะมีปริมาณบรรทุกสินค้าเพียงพอ สำหรับปริมาณสินค้าที่เกิน 1−α โอกาสที่สายการบิน A จะมีปริมาณบรรทุกสินค้าไม่เพียงพอ สำหรับปริมาณสินค้าที่เกิน
9
Max profit = α E[(p A (D)− c A (D)) D] +
ตัวแบบการจองปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้า Objective Function Max profit = α E[(p A (D)− c A (D)) D] + 1−α E{[(p A (min x,D ) − c A (min x,D )) min(x,D)] + [ p B D− x + − c B D−x D−x + ]}
10
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
1. หาการแจกแจงของข้อมูล มีการแจกแจงแบบแกมม่า (187,2)
11
2. สร้างข้อมูลความต้องการส่งออกสินค้า 1000 เที่ยวบิน
3. กำหนดค่าความผกผัน (Half Width) - กำหนดให้ไม่เกินร้อยละ 5 ของกำไรเฉลี่ยต่อเที่ยวบิน - กำหนดให้ไม่เกิน 0.05 ของการใช้ประโยชน์ (Utilization) 4. กำหนดปริมาณบรรทุกสินค้าที่ 500 กิโลกรัม คำนวณหากำไรเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการใช้ประโยชน์จากการใช้ข้อมูลที่จำลอง 1000 เที่ยวบิน
12
7. เปรียบเทียบและสรุปผลการดำเนินงาน
5. คำนวณรอบการประมวลผล 𝑛= =818 𝑛= =148 6. เปลี่ยนปริมาณบรรทุกสินค้าจาก 500 กิโลกรัม เป็น 100, 150, 200,…, 950,1000 เพื่อคำนวณหากำไรเฉลี่ยและการใช้ประโยชน์ 7. เปรียบเทียบและสรุปผลการดำเนินงาน
13
การคิดค่าระวางสินค้า
1. อัตราขั้นต่ำที่เรียกเก็บ (Minimum Charge) - อัตราค่าระวางที่กำหนดไว้เป็นขั้นต่ำ หากคำนวณตามอัตราปกติแล้วได้มูลค่าต่ำกว่าอัตราขั้นต่ำ จะต้องใช้อัตราขั้นต่ำ 2. อัตราปกติ (Normal Charge) - เป็นค่าระวางที่ใช้สำหรับสินค้าที่มีน้ำหนักไม่ถึง 45 กิโลกรัม 3. อัตราตามจำนวนน้ำหนัก (Quantity Charge) - เป็นค่าระวางที่ใช้สำหรับสินค้าที่มีมากกว่า 45 กิโลกรัม ขึ้นไป
14
การคิดค่าระวางสินค้า
อัตราขั้นต่ำ 1400 บาท (หากปริมาณส่งออก*235) < 1,400 คิดราคา 1,400 บาท
15
การประมวลผล 1 D i ≤x = 1 ; D i ≤x 0 ; D i >x Service Level (SL)
i=1 m 1( D i ≤ x ) m ×100% i=1 m min(x, D i ) x m Utilization
16
ผลการดำเนินงาน x Average Profit Utilization SL 100 2300.12 0.96 10.70
600 0.56 82.70 150 0.92 19.90 650 0.53 85.30 200 0.88 28.10 700 0.51 88.00 250 0.84 37.20 750 0.48 89.80 300 0.80 46.50 800 0.45 91.70 350 0.75 54.40 850 0.43 93.20 400 0.71 61.30 900 0.41 94.60 450 0.67 67.60 950 0.39 95.60 500 0.63 73.40 1000 0.37 96.70 550 0.60 78.50
17
การตัดสินใจเลือกปริมาณบรรทุกสินค้าจากสายการบิน
18
การตัดสินใจเลือกปริมาณบรรทุกสินค้าจากสายการบิน
19
สรุปผลการดำเนินงาน บริษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหว่างประเทศสามารถนำผลที่ได้ไปช่วยในการตัดสินใจจองปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้าจากสายการบินได้ Freight Forwarder จะต้องพิจารณาปริมาณบรรทุกสินค้าล่วงหน้าที่ต้องการจองกับสายการบินจากหลายปัจจัยร่วมกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงานสูงสุด
20
Thank you
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.