ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ตําแหนงของไฮโดรเจนในตารางธาตุ
2
ดังนั้น จึงจัด H ไว้ต่างหาก คาบเกี่ยวระหว่าง หมู่ IA และหมู่ VIIA
ตําแหนงของไฮโดรเจนในตารางธาตุ สมบัติบางประการของไฮโดรเจนเทียบกับธาตุหมู IA และหมูVIIA ดังนั้น จึงจัด H ไว้ต่างหาก คาบเกี่ยวระหว่าง หมู่ IA และหมู่ VIIA
3
ธาตุกึ่งโลหะ (Metalliods)
4
ภาพ : ธาตุกึ่งโลหะในตารางธาตุ
Metalloids ภาพ : ธาตุกึ่งโลหะในตารางธาตุ ที่มาภาพ :
5
Metalloids สมบัติธาตุ B Si Ge As Sb Te Po At สถานะ solid mp. (oC)
2,030 1,410 937.4 358 631 450 254 302 bp. (oC) 2,550 2,680 2,830 313 1,380 990 962 337 ค่า EN 2.04 1.90 2.01 2.18 2.05 2.10 2.00 2.20 ค่า EA (kJ/mol) -26.7 -134 -119 -78.2 -103 -190 -183 -270 IE1 (kJ/mol) 807 793 768 953 840 876 818 926 การนำไฟฟ้า นำ นำน้อย -
6
ธาตุแทรนซิชัน (Transition elements)
7
ที่มาภาพ : https://goo.gl/HxKypq
Transition elements ภาพ : ธาตุแทรนซิชัน ที่มาภาพ :
8
เป็นโลหะ มีความแข็งแรง แวววาว สามารตีเป็นแผ่นได้
Transition elements ธาตุแทรนซิชันในคาบที่ 4 เป็นโลหะ มีความแข็งแรง แวววาว สามารตีเป็นแผ่นได้
9
รัศมี อะตอม ในโลหะ (pm)
ตารางแสดงสมบัติบางประการของโพแทสเซียม แคลเซียม และ ธาตุแทรนซิชันในคาบที่ 4 ธา ตุ เลข อะตอ ม รัศมี อะตอม ในโลหะ (pm) จุด หลอมเห ลว (oC) จุด เดือ ด (oC) ความ หนาแน่น (g/cm3) IE1 (kJ/m ol) อิเล็กโต ร เนกาติ วิตี K 19 227 64 760 0.86 425 0.82 Ca 20 197 839 1490 1.54 596 1.00 Sc 21 160 1540 2730 3.0 632 1.36 Ti 22 150 1680 3260 4.5 661 V 23 140 1900 3400 6.1 648 1.63 Cr 24 130 1890 2480 7.2 653 1.66 Mn 25 1240 2100 7.4 716 1.55 Fe 26 1535 2750 7.9 762 1.83 Co 27 1500 2900 8.9 757 1.88 Ni 28 1450 736 1.91 Cu 29 1080 2600 908 1.90 Zn 30 420 910 7.1 577 1.65
10
1 Transition elements สมบัติทางกายภาพของธาตุแทรนซิชัน
1. ธาตุแทรนซิชันทั้งหมด มีสมบัติเป็นโลหะ - เป็นตัวนำไฟฟ้าและความร้อนที่ดี m.p. และ b.p. สูง, มีความหนาแน่นสูง, ผิวเป็นมันวาว - สมบัติต่าง ๆ เกิดจากธาตุแทรนซิชันมีขนาดอะตอมเล็กและยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโลหะ จึงทำให้อะตอมยึดกันอย่างแข็งแรง, นำไฟฟ้าและความร้อนได้ดี 1
11
Transition elements สมบัติทางกายภาพของธาตุแทรนซิชัน เช่น ธาตุ Cu นำไฟฟ้าดีที่สุดในบรรดาธาตุแทรนซิชันแถวที่ 1 → นิยมทำลวดนำไฟฟ้า ธาตุ Fe พบปริมาณมากบนพื้นโลก → ใช้เป็นวัสดุ โครงสร้างเพื่อความแข็งแรง
12
2 Transition elements สมบัติทางกายภาพของธาตุแทรนซิชัน
3. เวเลนตอิเล็กตรอน - มีเวเลนตอิเล็กตรอนเทากับ 2 (ยกเวน Cr, และ Cu มีเวเลนตอิเล็กตรอนเทากับ 1) 2
13
Transition elements สมบัติทางกายภาพของธาตุแทรนซิชัน
14
3 Transition elements สมบัติทางกายภาพของธาตุแทรนซิชัน
4. ขนาดอะตอมของธาตุทรานซิชัน - ตามหมู่ ไม่ได้มีขนาดอะตอมใหญ่ขึ้นจากบนลงล่างมาก เท่าที่ควร - ตามคาบ ขนาดอะตอมลดลงจากซ้ายไปขวาเช่นเดียวกับธาตุ เรพรีเซนเททีฟ 3
15
ภาพ : ขนาดอะตอมธาตุแทรนซิชัน
Transition elements สมบัติทางกายภาพของธาตุแทรนซิชัน ภาพ : ขนาดอะตอมธาตุแทรนซิชัน ที่มาภาพ :
16
1 Transition elements สมบัติทางเคมีของธาตุแทรนซิชัน
2. ธาตุแทรนซิชันส่วนใหญ่ เมื่อเกิดสารประกอบมี เลขออกซิเดชันได้ > 1 ค่าเนื่องจาก การเสียอิเล็กตรอน จึงเสียได้ทั้ง (n-1)d-orbital และ ns-orbital 1
17
Transition elements ให้พิจารณาตัวอย่างการจัดเรียงอิเล็กตรอนของโครเมียมและโครเมียมไอออนในตาราง
18
ภาพ : เลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชัน
Transition elements สมบัติทางเคมีของธาตุแทรนซิชัน ภาพ : เลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชัน
19
สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน
20
สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน
Transition elements สารประกอบของธาตุแทรนซิชัน ลักษณะการเกิดและสมบัติของสารประกอบของธาตุแทรนซิชัน 2. มีเลขออกซิเดชันหลายค่าเกิดสารประกอบได้มากมายหลายชนิด 3. สารประกอบและไอออนของธาตุแทรนซิชันส่วนใหญ่จะมีสีซึ่ง แตกต่างกันขึ้นอยู่กับเลขออกซิเดชันของธาตุแทรนซิชัน 1 2
21
สีของสาร ประ กอบและไอออนของธาตุ แทรน
สูตร ชื่อ สี Cr2+ โครเมียม (II) ไอออน น้ำเงิน Cr3+ โครเมียม (III) ไอออน เขียว CrO42- โครเมตไอออน เหลือง Cr2O72- ไดโครเมตไอออน ส้ม Mn2+ แมงกานีส (II) ไอออน ชมพูอ่อน Mn(OH)3 * แมงกานีส (III) ไฮดรอกไซด์ น้ำตาล MnO2 * แมงกานีส (IV) ออกไซด์ ดำ MnO42- แมงกาเนตไอออน MnO4- เปอร์แมงกาเนตไอออน ม่วงแดง Fe2+ ไอร์ออน (II) ไอออน เขียวอ่อน Fe3+ ไอร์ออน (III) ไอออน Co2+ โคบอลต์ (II) ไอออน ชมพู Ni2+ นิกเกิล (II) ไอออน Cu2+ คอปเปอร์ (II) ไอออน สีของสาร ประ กอบและไอออนของธาตุ แทรน ซิชัน * ไม่ละลายน้ำ
22
1A 1B 1C 1D 1E 1F 2A 2B 2C 2D 2E 2F 3A 3B 3C 3D 3E 3F 4A 4B 4C 4D 4E 4F 5A 5B 5C 5D 5E 5F 6A 6B 6C 6D 6E 6F 7A 7B 7C 7D 7E 7F
23
1A 1B 1C 1D 1E 1F 2A 2B 2C 2D 2E 2F 3A 3B 3C 3D 3E 3F 4A 4B 4C 4D 4E 4F 5A 5B 5C 5D 5E 5F 6A 6B 6C 6D 6E 6F 7A 7B 7C 7D 7E 7F
24
1A 1B 1C 1D 2A 2B 2C 2D 3A 3B 3C 3D 4A 4B 4C 4D 5A 5B 5C 5D 6A 6B 6C 6D 7A 7B 7C 7D
25
1A 1B 1C 1D 1E 1F 2A 2B 2C 2D 2E 2F 3A 3B 3C 3D 3E 3F 4A 4B 4C 4D 4E 4F 5A 5B 5C 5D 5E 5F 6A 6B 6C 6D 6E 6F 7A 7B 7C 7D 7E 7F
26
สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน
27
สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุแทรนซิชัน
โลหะแทรนซิชันเกิดเปนสารประกอบเชิงซอน (Complex compounds) หรือ coordination compounds โดยมีอะตอมหรือกลุมของอะตอมที่เรียกวาลิแกนด (Ligands) ลอมรอบโลหะแทรนซิชันอยู่
28
Complex compounds Complex compounds [Co Cl (NH3)5] Cl2 Free anions
complex ion Free anions [Co Cl (NH3)5] Cl2 Central ion Coordination number Ligands Complex compounds
29
Complex compounds ไอออนเชิงซอน (complex ion) คือ สารที่เกิดจากไอออนลบ (anions) หรือโมเลกุลที่เปนกลางไมมีประจุจํานวนหนึ่ง หรือมากกวานั้นมาสรางพันธะเคมีกับไอออนกลางของโลหะ ไอออนเชิงซอนมี 2 ชนิดคือ ไอออนเชิงซอนที่เปน ไอออนบวก [Cu(NH3)4 ]2+ และไอออนลบ [FeCl4]-
30
Complex compounds ลิแกนด (Ligand) คือ ไอออนหรือโมเลกุลที่ลอมรอบอะตอมกลางเชน F- , Br- , OH- , SCN- , S2- , CO, NH3, H2O เปนตน อะตอมกลางหรือไอออนกลาง (Central ion ) คือ อะตอมของธาตุที่อยูแกนกลางของสารเชิงซอนสวนมาก ไดแก โลหะแทรนซิชัน
31
Complex compounds โครงสร้างของสารประกอบเชิงซ้อน
32
สารประกอบเชิงซ้อนบางชนิดและไอออนองคประกอบ
Complex compounds สารประกอบเชิงซ้อนบางชนิดและไอออนองคประกอบ สารประกอบเชิงซ้อน ไอออนบวก ไอออนลบ 𝐊𝐌𝐧𝐎 𝟒 𝐊 + [ 𝐌𝐧𝐎 𝟒 ] − 𝐊 𝟐 𝐌𝐧𝐎 𝟒 [ 𝐌𝐧𝐎 𝟒 ] 𝟐− 𝐏𝐛𝐂𝐫𝐎 𝟒 𝐏𝐛 𝟐+ [ 𝐂𝐫𝐎 𝟒 ] 𝟐− 𝐊 𝟑 [𝐅𝐞(𝐂𝐍) 𝟔 ] [ 𝐅𝐞(𝐂𝐍) 𝟒 ] 𝟑− 𝐊 𝟒 [𝐅𝐞(𝐂𝐍) 𝟔 ] 𝐅𝐞(𝐂𝐍) 𝟒 ] 𝟒− 𝐂𝐮[ (𝐍𝐇 𝟑 ) 𝟒 ]𝐒𝐎 𝟒 [𝐂𝐮[ (𝐍𝐇 𝟑 ) 𝟒 ] 𝟐+ [𝐒𝐎 𝟒 ] 𝟐−
33
อ่านว่า fluoro อ่านว่า bromo อ่านว่า hydroxo
Complex compounds การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน การเรียกชื่อลิแกนด์ 1. ไอออนลบที่ลงท้ายด้วย -ide → - O 1 𝐅 − อ่านว่า fluoro 𝐁𝐫 − อ่านว่า bromo 𝐎 𝟐− 𝐂𝐍 − อ่านว่า oxo อ่านว่า cyano 𝐎𝐇− อ่านว่า hydroxo
34
อ่านว่า nitro Complex compounds การเรียกชื่อลิแกนด์ อ่านว่า carbonato
2. ไอออลบที่ลงท้ายด้วย -ite หรือ -ate → -ito หรือ -ato 2 𝐂𝐎 𝟑 𝟐− อ่านว่า carbonato 𝐒𝐂𝐍 − อ่านว่า thiocyanato 𝐍 𝐎 𝟐 − อ่านว่า nitro S 𝐎 𝟒 𝟐− อ่านว่า sulfato
35
อ่านว่า ethylene อ่านว่า phenyl
Complex compounds การเรียกชื่อลิแกนด์ 3. ลิแกนด์ที่ไม่มีประจุหรือเป็นกลาง เรียกเหมือนโมเลกุล ที่เป็นกลาง 3 𝐂 𝟐 𝐇 𝟒 อ่านว่า ethylene 𝐂 𝟔 𝐇 𝟓 อ่านว่า phenyl ยกเว้น 𝐍𝐇 𝟑 อ่านว่า ammine 𝐇 𝟐 𝐎 อ่านว่า aqua 𝐂 𝐎 อ่านว่า carbonyl
36
4. มีลิแกนด์ชนิดเดียวกันมากกว่า 1 ให้บอกจำนวนที่ซ้ำไว้
Complex compounds การเรียกชื่อลิแกนด์ 4. มีลิแกนด์ชนิดเดียวกันมากกว่า 1 ให้บอกจำนวนที่ซ้ำไว้ หน้าชื่อลิแกนด์ด้วย 4 จํานวนลิแกนด์ที่ซ้ำ เรียก 2 di 3 tri 4 tetra 5 penta 6 hexa
37
การเรียกชื่ออะตอมกลาง
ไอออนเชิงซ้อนทีมีประจุบวกและในสารเชิงซ้อนที่ไม่มีประจุ เรียกชื่อโลหะตามชื่อของธาตุนั้น และใส่เลขออกซิเดชันไว้ในวงเล็บต่อจากชื่อโลหะด้วยเลขโรมัน 1 ตัวอย่าง [Co(H2O)6]2+ = hexaaquacobalt(II) ion
38
การเรียกชื่ออะตอมกลาง
Complex compounds การเรียกชื่ออะตอมกลาง 1. ไอออนเชิงซ้อนที่เป็นไอออนลบ เปลี่ยนคำลงท้ายเป็น -ate ตามด้วยวงเล็บเลขโรมันที่แสดงเลขออกซิเดชัน เช่น 2
39
การเรียกชื่ออะตอมกลาง
Complex compounds การเรียกชื่ออะตอมกลาง 2. โลหะบางชนิดในไอออนเชิงซ้อนทีมีประจุลบให้เรียกชื่อเป็นภาษาละติน ลงท้ายด้วย -ate 2
40
ถ้าไอออนเชิงซ้อนเป็นไอออนลบ
Complex compounds ตัวอย่าง ถ้าไอออนเชิงซ้อนเป็นไอออนลบ [Ni(CN)4 ]2- = tetracyanonickelate(II) ion [Ag(CN)2 ] - = dicyanoargentate(I) ion
41
potassium hexacyanoferrate(III) diamminesilver(I) chloride
เพิ่มเติม K+ K 3 [Fe(CN) 6 ] [Fe(CN) 6 ]− potassium hexacyanoferrate(III) Cl− [Ag NH 3 ) 2 Cl [Ag NH 3 ) 2 + diamminesilver(I) chloride
42
เพิ่มเติม ในกรณีทีสารประกอบเชิงซ้อนมีลิแกนด์หลายชนิด ให้ เรียกชื่อลิแกนด์เรียงตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ (a→z) ตามระบบ IUPAC การเขียน space ระหว่าง cation และ anion เท่านั้น (นอกนั้นไม่ต้องมี space) ต้องเขียนเป็นอักษรตัวเล็กทั้งหมด
43
โจทย์ [Co( H 2 O ) 6 ] 2+ อ่านว่า hexaaquacobalt II ion
[Co Cl 6 ] 3− อ่านว่า hexachlorocobaltate III ion [C𝑜 (NH 3 ) 4 Cl 2 ] + อ่านว่า tetraamminedichlorocobalt III ion [Ag NH 3 ) 2 Cl อ่านว่า diamminesilver(I) chloride [Ag NH 3 ) อ่านว่า amminesilver(I) ion [Ag CN )2 − อ่านว่า dicyanoargentate(I) ion Na3[Cr NO2 6] อ่านว่า sodium hexanitrochromate(III)
44
Na2[NiCl4] K4[Fe(CN)6] โจทย์ potassium hexacyanoferrate(II)
sodium tetrachloronickelate(II) K4[Fe(CN)6] potassium hexacyanoferrate(II) Na3[FeCl(CN)5] sodium chloropentacyanoferrate(III) K3[CoF6] potassium hexafluorocobaltate(III) [Zn(NH3)4]SO4 Tetraamminezinc(II) sulfate
45
จบจ้า
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.