งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน ตามระบบ GFMIS

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน ตามระบบ GFMIS"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน ตามระบบ GFMIS
หลักสูตร “การเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ” ระดับชำนาญการ สำนักกำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์

2 หัวข้อ ช่องทางการใช้งานในระบบ GFMIS รายงานในระบบปฏิบัติการ (Operation)
รายงานในระบบ MIS (Management Information System) งบรายจ่าย VS รายจ่ายประจำ/รายจ่ายลงทุน ปัญหาที่พบบ่อยในการอ่านรายงาน การวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน MIS

3 ช่องทางการใช้งานในระบบ GFMIS
R/3 Web report PC หน่วยงาน Database ส่วนราชการ / สนง.คลังจังหวัด MIS Report (Web Static) BW Business Warehouse Online real time Detail Update on weekly basis Summary Drill down EIS Ready to use : every Monday 6:00 Load data from R/3 : every Friday 20:30 Internet GFMIS Terminal Operation MIS ส่วนราชการ (50 User) ผ่านเครื่อง Terminal Intranet Excel Loader / Web Online ระบบงาน GFMIS แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วน Operation และ MIS Operation เป็นระบบที่ให้คลังจังหวัดบันทึกและเรียกดูข้อมูลได้ Online real time โดยสามารถแสดงข้อมูลได้ละเอียดจนถึงเอกสารแต่ละรายการ ตัวอย่างเอกสารเช่น ใบฎีกา ใบสั่งซื้อ MIS เป็นระบบรายงานสรุปเพื่อผู้บริหารที่จะมีการupdate ข้อมูลเป็นรายสัปดาห์ โดยข้อมูลที่แสดงใน MIS นั้นจะเป็นข้อมูล Summary ที่สามารถ Drill down ลงรายละเอียดในมุมมองต่างๆของข้อมูลที่สนใจได้ โดยในส่วน Operation นั้นช่องทางการใช้งานจะผ่านทางGFMIS Terminal หรือ PC หน่วยงานที่เชื่อมต่อกับระบบ Internet หรือ Intranet ก.คลัง โดยข้อมูลที่บันทึกเข้ามานั้นจะถูกเก็บบันทึกเข้าสู่ ถังเก็บข้อมูลหรือ database ที่เรียกว่า R/3 MIS จะมี database เช่นกัน เรียกว่า BW จะสังเกตเห็นว่า database ของR/3 และ BW มีรูปร่างแตกต่างกัน BW จะมีลักษณะเป็น cube ทั้งนี้ก็เพื่อประโยชน์ในการเปลี่ยนรูปแบบการจัดเก็บข้อมูล ให้สามารถเรียกดูข้อมูล Summary ได้ในหลายมิติหลายมุมมองมากขึ้น ข้อมูลที่เก็บใน BW นั้น มาจากที่ไหน? ข้อมูลจะถูก Extract จาก R/3 ทุกวันศุกร์เวลา 20:30 นั่นคือรายงานในระบบ MIS ทั้งหมดจะแสดงข้อมูลของสัปดาห์ที่แล้วจนถึงวันศุกร์ 20:30 เมื่อ Extract ข้อมูลเรียบร้อยแล้วระบบจะทำการสร้างรายงานที่เรียกว่า MIS static ซึ่งเป็นรายงานที่คลังจังหวัดใช้เรียกดูข้อมูล MIS อยู่ในปัจจุบันผ่านทาง GFMIS Terminal และ PC ของคลังจังหวัดเอง GFMIS ได้ทำการพัฒนาระบบ MIS ขึ้นใหม่เพื่อคลังจังหวัดเรียกว่า MIS จังหวัด โดยใช้ database อีกตัว ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับ BW แต่มีขนาดเล็กกว่า โดยข้อมูลจะถูกส่งผ่านจาก cube BW ไปเก็บไว้ใน cube cognos และ คลังจังหวัดสามารถเรียนดู MIS จังหวัดผ่านทาง เครื่อง PC ของหน่วยงานที่เชื่อมต่อกับ Internet หรือ Intranet กระทรวงการคลัง โดยระบบ MIS จะพร้อมใช้งานทุกวันจันทร์ตอน 6 โมงเช้า 3

4 รายงานในระบบปฏิบัติการ (Operation)
GFMIS FM RP FA PO AP GL Fund Management : งบประมาณ Purchasing Order : จัดซื้อจัดจ้าง Fixed Asset : สินทรัพย์ถาวร Account Payable : เบิกจ่าย Receipt Process : รับและนำเงินส่งคลัง General Ledger : บัญชีแยกประเภท 4

5 รายงานงบประมาณ รายงานสถานะการเบิกจ่ายงบประมาณตามค่ารหัสงบประมาณ ZFMA46
5

6 ZFMA55 : รายงานแสดงยอดงบประมาณตามหน่วยรับงบประมาณ
จ.ลำปาง 6

7 ตัวอย่างรายงาน ZFMA55 7

8 ZFMA55 : รายงานแสดงยอดงบประมาณตามหน่วยรับงบประมาณ
* 8

9 ตัวอย่างรายงาน ZFMA55 9

10 รายงานงบประมาณ สำหรับหน่วยงานลูกที่ไม่มีเครื่อง Terminal
10

11 รายงาน F13C ใน Web Report ระบุวันทำการ ย้อนหลัง 1 วัน 11

12 ตัวอย่างรายงาน F13C 12

13 MIS – Management Information System
คือ ระบบจัดการสารสนเทศเพื่อนำไปใช้ในการบริหารจัดการและการตัดสินใจของผู้บริหาร สามารถเรียกรายงานจาก 2 ช่องทาง ดังนี้ - GFMIS Terminal : MIS - Internet : MIS Report EIS – Executive Information System เป็นระบบงานระบบหนึ่งของ MIS ที่ออกแบบให้ผู้บริหารระดับสูง เพื่อเรียกข้อมูลได้ง่ายขึ้น มีรูปแบบที่น่าสนใจ โดยสามารถเรียกรายงานผ่าน Internet 13

14 MIS Terminal แสดงในรูปแบบของ html
สามารถกำหนดตัวแปร และจัดการรูปแบบการแสดงข้อมูลได้ Web Report ผู้ใช้ นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี และปลัดกระทรวง และกรมที่มีหน้าที่ในการกำกับดูแล แสดงผลเป็น Web page พร้อมแผนภูมิ ซึ่งสามารถกำหนดตัวแปรและจัดการรูปแบบการแสดงข้อมูลได้ (เฉพาะส่วนของตารางข้อมูล) การเรียกดูสามารถเรียกดูได้จากเครื่องที่ทางโครงการไปติดตั้งให้เท่านั้น (MIS Terminal)

15 รายงานของ MIS Terminal แบ่งออกเป็นด้านต่างๆ 3 ด้าน ได้แก่
การบริหารงบประมาณ การเงินและบัญชี การจัดซื้อจัดจ้าง

16 ตัวอย่าง มุมมองของรายงานการบริหารงบประมาณ จาก MIS Terminal
16

17 มุมมองการดูรายงานระบบงบประมาณ
1. กระทรวง 2. กรม 3. รายจ่ายประจำ/ลงทุน 4. เดือน/ปีงบประมาณ 5. จังหวัด 6. ผลผลิต/โครงการ 7. Commitment item (รหัสบัญชีแยกประเภท) 8. Funded Program (หน่วยรับงบ) 9. ลักษณะเศรษฐกิจ 10.หน่วยงานที่ใช้งบกลาง 11.ด้าน 12.ด้าน_ลักษณะงาน 13.แผนงาน 14.ลักษณะงาน 15.ยุทธศาสตร์การจัดสรร 16.กลุ่มลักษณะงาน 17.กลุ่มภารกิจ 18.หมวดรายจ่าย 19.งบรายจ่าย 20.แผนงบประมาณ 21.งบกลาง CGD/BOB 22.Functional area 23.งาน/โครงการ 24.Funds Center (รหัสงบประมาณ) 17

18 มุมมองการดูรายงานระบบงบประมาณ
กระทรวง MIS R/3 Value กระทรวง รหัสงบประมาณ 16 หลัก (Fund Center) mmaaabpoppzzzzzz 01 = สำนักนายกรัฐมนตรี 02 = กระทรวงกลาโหม 03 = กระทรวงการคลัง 18

19 มุมมองการดูรายงานระบบงบประมาณ
กรม MIS R/3 Value กรม รหัสงบประมาณ 16 หลัก (Fund Center) mmaaabpoppzzzzzz 03002 = สำนักปลัดกท.คลัง 03004 = กรมบัญชีกลาง

20 มุมมองการดูรายงานระบบงบประมาณ
จังหวัด MIS R/3 Value จังหวัด - กิจกรรมหลัก/พื้นที่ 5 หลัก Pxx00 - กิจกรรมหลัก/พื้นที่ 14 หลัก Mmaaappppxxxxx 1000 = ส่วนกลาง 2000 = ชลบุรี 5000 = เชียงใหม่ 20

21 มุมมองการดูรายงานระบบงบประมาณ
เดือน/ปีงบประมาณ 21

22 มุมมองการดูรายงานระบบงบประมาณ
งบรายจ่าย MIS R/3 Value งบรายจ่าย - แหล่งของเงิน 7 หลัก (yyabcdd) 1 = งบบุคลากร 2 = งบดำเนินงาน 3 = งบลงทุน ... 22

23 มุมมองการดูรายงานระบบงบประมาณ
หมวดรายจ่าย 23

24 มุมมองการดูรายงานระบบงบประมาณ
รายจ่ายประจำ/รายจ่ายลงทุน เกิดจากการ mapping ลักษณะเศรษฐกิจ+งบรายจ่าย ตามหนังสืองบประมาณของสำนักงบประมาณ 24

25 คอลัมน์ในรายงานระบบงบประมาณ

26 ตัวอย่าง มุมมองของรายงานการจัดซื้อจัดจ้าง จาก MIS Terminal
26

27 มูลค่าการจัดซื้อจัดจ้าง จำแนกรายจังหวัด

28 มูลค่าการจัดซื้อจัดจ้าง จำแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง

29 มูลค่าการจัดซื้อจัดจ้าง จำแนกตามรหัส GPSC
GPSC :Government Product and Service Code รหัสสินค้าและบริการภาครัฐ

30 มูลค่าการจัดซื้อจัดจ้าง จำแนกตามผู้ขาย

31 รายงานในระบบ EIS 31

32 พร้อมใช้งานวันจันทร์เช้า (06.00 น.)
MIS data flow R/3 BW Cognos ศุกร์ 20:30 MIS EIS เสาร์ อาทิตย์ 0:00 จันทร์ 06:00 1 2 3 4 การวิ่งของข้อมูล Presentation BW พร้อมใช้งานวันจันทร์เช้า (06.00 น.) 32

33 รายงานในระบบ EIS (1/3) รายงาน A
33

34 รายงานในระบบ EIS (2/3) รายงาน B B-1 ตารางสถานะการเบิกจ่ายงบประมาณ
34

35 รายงาน C และ D (งบเหลื่อมปี)
รายงานในระบบ EIS (3/3) รายงาน C และ D (งบเหลื่อมปี) C-1 กราฟ % ผลการเบิกจ่าย (งบเหลื่อมปี) D-1 ตารางผลการเบิกจ่ายงบฯ เหลื่อมปี แสดงรายละเอียดตามงาน/โครงการ ที่มีผลการเบิกจ่ายต่ำ D-2รายงานแสดงรายละเอียดผลการเบิกจ่ายงบฯ เหลื่อมปี จำแนกตามหน่วยงานและงาน/โครงการ 35

36 Login (http://eis.gfmis.go.th)
ระบุ Username Password และคลิก “ตกลง” 36

37

38 รายงานเป็นทั้งกราฟภาพรวมและตาราง

39 รายงานสามารถ Drill Down มุมมองต่างๆ ได้เอง
ทั้งในแง่ จังหวัด กระทรวง และกรม

40 รายงานสามารถลงรายละเอียดของข้อมูลได้
สามารถเลือกหน่วย บาท / ล้านบาท

41 รายงานเรียกดูย้อนหลังได้รายเดือนภายในปีงบประมาณ
และรายปีในปีงบประมาณก่อนปัจจุบัน ปีงบประมาณ 52 ปีงบประมาณ 51 ธันวาคม 52

42 รายงานสามารถจัดเก็บในรูปแบบ Excel และ PDF (1/2)
ขั้นตอนการแก้ไขปัญหา กรณี Download Excel ไม่ได้ ปรากฏตามเอกสารท้าย PowerPoint 42

43 รายงานสามารถจัดเก็บในรูปแบบ Excel และ PDF (2/2)
สามารถเลือก Save หรือพิมพ์ 43

44 หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
- ระเบียบว่าด้วยการการบริหารงบประมาณ พ.ศ รายจ่ายตามงบประมาณ จำแนก 2 ลักษณะ รายจ่ายของส่วนราชการ และรัฐวิสาหกิจ รายจ่ายงบกลาง - เอกสารงบประมาณ และ KPI รหัสงบประมาณ ลักษณะงาน โดยที่ตำแหน่งที่ 5 แสดงถึงลักษณะเศรษฐกิจ เป็นรายจ่ายลงทุน และรายจ่ายประจำ 44

45 รายจ่ายของส่วนราชการ
งบรายจ่าย หมวดรายจ่าย 1.งบบุคลากร (XX10100) เงินเดือน (110) ค่าจ้างประจำ (120) ค่าจ้างชั่วคราว (130) ค่าจ้างตามสัญญาจ้าง (140) ค่าตอบแทนพนักงานราชการ (150) 2.งบดำเนินงาน (XX10200) ค่าตอบแทน (210) ค่าใช้สอย (220) ค่าวัสดุ (230) ค่าสาธารณูปโภค (240) 3.งบลงทุน (XX10300) ค่าครุภัณฑ์ (310) ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง (320) 4.งบเงินอุดหนุน (XX10400) เงินอุดหนุนทั่วไป (410) เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (420) 5.งบรายจ่ายอื่น (XX10500) รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดรายจ่ายหนึ่ง หรือ รายจ่ายที่ สงป.กำหนดให้ใช้จ่ายในงบรายจ่ายนี้ 1) เงินราชการลับ 2) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว

46 รายจ่ายประจำ/รายจ่ายลงทุน
แสดงถึงลักษณะเศรษฐกิจ เป็นการจำแนกงบประมาณเพื่อแสดงให้เห็นผลทางเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นจากการใช้จ่ายของรัฐบาล โดยจำแนกเป็น รายจ่ายประจำ (Current Expenditure) คือ รายจ่ายที่รัฐบาลจ่ายเพื่อให้ได้รับสิ่งตอบแทนเป็นบริการหรือสิ่งของที่มิใช่ทรัพย์สินประเภททุน หรือมิใช่สินค้าและบริการที่จะนำมาใช้ผลิตสินค้าทุน รายจ่ายลงทุน (Capital Expenditure) คือ รายจ่ายที่รัฐบาลจ่ายเพื่อจัดหาทรัพย์สินประเภททุนทั้งที่มีตัวตน และทรัพย์สินที่ไม่มีตัวตน ที่มา : คำอธิบายรหัสงบประมาณรายจ่าย คู่มือรหัสงบประมาณรายจ่าย ของสำนักงบประมาณ 46

47 รายจ่ายประจำ/รายจ่ายลงทุน
1.เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน 2.เงินสมทบ ที่รัฐจ่ายเป็นสวัสดิการให้แก่ข้าราชการหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ เช่น กบข. กสจ. 3.ค่าสาธารณูปโภค ค่าใช้สอยและวัสดุ หรือครุภัณฑ์ที่มีมูลค่าต่ำหรือมีอายุการใช้งานไม่เกิน 1 ปี 4.การจัดซื้อบริการหรือสิ่งของอื่น ๆ ที่มีลักษณะเป็นรายจ่ายประจำ 5.รายจ่ายเพื่อการป้องกันประเทศ (การทหาร) 6.ค่าดอกเบี้ย 7. รายจ่ายที่รัฐโอนให้ 1) รัฐวิสาหกิจ เพื่อให้สามารถขายสินค้าหรือบริการได้ในราคาที่รัฐกำหนด 2) ภาคเอกชนในประเทศ เช่น เงินอุดหนุนผู้สูงอายุและคนพิการ 3) ต่างประเทศที่เป็นรายจ่ายประจำ เช่น เงินช่วยเหลือองค์กรระหว่างประเทศ 4) อปท. เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดำเนินงานปกติ เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง 8.รายจ่ายชำระหนี้เงินกู้ที่รัฐเป็นผู้กู้โดยตรง รายจ่ายลงทุน 1.การจัดหาทรัพย์สินถาวร 2.เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน ค่าใช้สอยและวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค ที่จ่ายไปเพื่อการก่อสร้างหรือซึ้อทรัพย์สินถาวร 3.การปรับปรุงหรือซ่อมแซมทรัพย์สินถาวรที่มีอยู่เดิมให้สามารถยืดอายุการใช้งาน หรือเพิ่มศักยภาพในการผลิต โดยมิใช่เป็นการซ่อมแซมตามปกติ 4.รายจ่ายที่รัฐโอนให้ 1) รัฐวิสาหกิจเพื่อนำไปใช้จัดหาทรัพย์สินถาวร รวมถึงจ่ายให้กรณีรัฐวิสาหกิจดำเนินการขาดทุนสะสมเป็นเวลานาน 2) ภาคเอกชนในประเทศ เช่น คกก.หมู่บ้าน 3) ต่างประเทศเพื่อนำไปใช้ในการก่อสร้างหรือซื้อทรัพย์สินถาวร เช่น เงินอุดหนุนโครงการพัฒนาท่าอากาศยานหลวงพระบาง 4) อปท. เพื่อลงทุนในการก่อสร้าง/จัดหาทรัพย์สิน 5.รายจ่ายเพื่อซื้อสินค้าในกรณีฉุกเฉิน หรือดำเนินการตามนโยบายรัฐบาล 6. รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินทางการเงิน เช่น การซื้อหุ้น 47

48 ตัวอย่างข้อมูลรายจ่ายประจำ
48

49 ตัวอย่างข้อมูลรายจ่ายลงทุน
49

50 ปัญหาที่พบบ่อยในการอ่านรายงาน
มุมมองการดูรายงานงบประมาณ จำแนกตาม รายจ่ายประจำและรายจ่ายลงทุน มีเฉพาะในรายงาน MIS เท่านั้น ส่วนรายงานที่ SAP R/3 ไม่สามารถออกรายงานในมุมมองนี้ได้ - รหัสงบประมาณใด เป็นรายจ่ายประจำหรือลงทุน ดูได้จาก ลักษณะเศรษฐกิจที่กำหนดมาในข้อมูลหลักของรหัสงบประมาณ เทียบกับการกำหนดในหนังสืองบประมาณเล่มคาดฟ้า 50

51 มุมมองการใช้รายงาน MIS
จำแนกรายจ่ายประจำ/ลงทุน มุมมองการใช้รายงาน MIS R/3 BW งบรายจ่าย 1 งบบุคลากร 2 งบดำเนินงาน 3 งบลงทุน 4 งบอุดหนุน 5 งบรายจ่ายอื่น / หมวดรายจ่าย งบบุคลากร, เงินเดือน, ค่าจ้างประจำ, ... งบดำเนินงาน, ค่าตอบแทน, ค่าใช้สอย, ... งบลงทุน, ครุภัณฑ์, ที่ดิน/สิ่งก่อสร้าง งบอุดหนุน, เงินอุดหนุนทั่วไป, เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ, ... งบรายจ่ายอื่น, รายจ่ายอื่น ลักษณะค่าบุคลากร/สรก, ... รายจ่ายประจำ / รายจ่ายลงทุน X 51

52 ปัญหาที่พบบ่อยในการอ่านรายงาน (ต่อ)
ทำไมรายจ่ายลงทุนจึงมีรายการงบบุคลากร/งบดำเนินงานด้วย 52

53 ปัญหาที่พบบ่อยในการอ่านรายงาน (ต่อ)
ชื่องาน/โครงการ ที่เป็นตัวเลข ยอดการเบิกจ่ายติดลบ เป็นงบประมาณเบิกแทนกัน เป็นการเบิกเกินส่งคืน หรือล้างลูกหนี้เงินยืม 53

54 รหัสงบประมาณ (Fund Center)
MM AAA BP OPP ZZZZZZ Running No. 1 – ครุภัณฑ์ < 1 ล. อาคาร, สิ่งก่อสร้าง <= 10 ล. 2 – ครุภัณฑ์ > 1 ล. อาคาร, สิ่งก่อสร้าง >= 10 ล. รหัสกระทรวง รหัสผลผลิต/โครงการ รหัสกรม ประเภทรายการ 0 – งบประจำ 1 – ครุภัณฑ์ 2 – ที่ดิน 3 – อาคาร 4 – สิ่งก่อสร้าง 5 – อุดหนุนทั่วไป 6 – อุดหนุนเฉพาะกิจ 7 – รายจ่ายอื่น รหัสแผนงาน/ แผนงบประมาณ

55 AAAAA BPOPP XX9XXX = 16 หลัก
รหัสงบประมาณเบิกแทน AAAAA BPOPP XX9XXX = 16 หลัก หลักที่ Running No. รายการย่อย ตามงบรายจ่าย หลักที่ 13 งบประมาณเบิกแทน หลักที่ รายการย่อยตามงบรายจ่าย หลักที่ 6-10 รหัสงาน/โครงการแผนงาน (รหัสเดียวกับเจ้าของงบประมาณ) หลักที่ 1-5 รหัสหน่วยงานผู้เบิกแทน ตัวอย่าง รหัสงบประมาณปกติ (เจ้าของงบประมาณ) รหัสงบประมาณเบิกแทน (ผู้เบิกแทน)

56 การใช้ข้อมูลในรายงาน MIS/EIS
ต้องเข้าใจความหมายของข้อมูลที่เป็นตัวเลขในแต่ละคอลัมน์ ใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ใช้ในการติดตามผลการเบิกจ่ายเงิน ตาม KPI คำรับรองการปฏิบัติราชการ ใช้ในการชี้แจงผลการดำเนินงานต่อบุคคลหรือ คณะกรรมการต่างๆ เช่น ผู้บริหารของหน่วยงาน คณะกรรมการการเร่งรัดการใช้จ่ายเงิน คณะกรรมาธิการ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี เป็นต้น 56

57 ความแตกต่างระหว่างรายงานในระบบ R/3 และ BW
ZFMA55

58 ความแตกต่างระหว่างรายงานในระบบ R/3 และ BW
ZFMA55 =

59 การวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน

60 รายงาน A-3 1 (รายจ่ายประจำ)

61 รายงาน A-4 (รายจ่ายลงทุน)

62 ศัพท์ที่พบบ่อยในการอ่านรายงาน
YOY YTD

63 ศัพท์ที่พบบ่อยในการอ่านรายงาน
YOY = Year On Year เปรียบเทียบช่วงเดียวกันของปีนี้ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว QOQ = Quarter on Quarter เปรียบเทียบไตรมาสนี้กับไตรมาสที่แล้ว MOM = Month 0n Month เปรียบเทียบเดือนนี้กับเดือนที่แล้ว

64 ศัพท์ที่พบบ่อยในการอ่านรายงาน
YTD = Year To Date ช่วงเวลาตั้งแต่ต้นปีนี้ (งบประมาณ/ปฏิทิน) จนถึงวันนี้ เช่น เบิกจ่าย YTD หมายถึง มูลค่าการเบิกจ่ายสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ จนถึงปัจจุบัน QTD = Quarter To Date MTD = Month To Date

65

66

67 ข้อมูลจากระบบ MIS ข้อมูล ณ 18 ธ.ค.52
จับผิดตัวเลข ข้อมูลจากระบบ MIS ข้อมูล ณ 18 ธ.ค.52

68 ข้อมูลจากระบบ MIS ข้อมูล ณ 18 ธ.ค.52
จับผิดตัวเลข ข้อมูลจากระบบ MIS ข้อมูล ณ 18 ธ.ค.52

69

70 ตัวอย่างการโอนเปลี่ยนแปลง (อำนาจสำนักงบประมาณ)

71 ตัวอย่างการโอนเปลี่ยนแปลง (อำนาจสำนักงบประมาณ)

72 ข้อมูลจากระบบ MIS ข้อมูล ณ 18 ธ.ค.52
จับผิดตัวเลข ข้อมูลจากระบบ MIS ข้อมูล ณ 18 ธ.ค.52

73

74 Y = C + I + G + (X-M)

75 Y = C + I + G + (X-M) Y = Yield / GDP รายได้ประชาชาติ
C = Consumption การใช้จ่ายซื้อสินค้าและบริการของผู้บริโภค I = Investment การใช้จ่ายของธุรกิจในสินค้าประเภททุน G = Government การใช้จ่ายสุทธิของรัฐบาล X = Export มูลค่าการส่งสินค้าออก M = Import มูลค้าการนำสินค้าเข้าประเทศ


ดาวน์โหลด ppt การวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน ตามระบบ GFMIS

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google