งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Climate II อาจารย์สอง Satit UP.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Climate II อาจารย์สอง Satit UP."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Climate II อาจารย์สอง Satit UP

2 การแบ่งเขตภูมิอากาศโดยอาศัยหยาดน้ำฟ้า
เขตภูมิอากาศแห้งแล้ง (Arid Zone) 0 – 250 มิลลิเมตรต่อปี เขตภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้ง (Semi - arid Zone) 250 – 500 มิลลิเมตรต่อปี เขตภูมิอากาศกึ่งชุ่มชื้น (Subhumid Zone) 500 – 1,000 มิลลิเมตรต่อปี เขตภูมิอากาศชุ่มชื้น (Humid Zone) 1,000 – 2,000 มิลลิเมตรต่อปี เขตภูมิอากาศชุ่มชื้นมาก (Very Wet) ตั้งแต่ 2,000 มิลลิเมตรต่อปี

3 การแบ่งเขตภูมิอากาศโดยอาศัยอุณหภูมิ
เขตภูมิอากาศร้อน ( Tropic Zone ) อยู่ในเขตละติจูดต่ำ ระหว่างละติจูด ที่ 23 องศาเหนือ ถึง 23 องศาใต้ เขตภูมิอากาศอบอุ่น ( Temperate Zone ) อยู่ในเขตละติจูดกลาง ระหว่างละติจูด ที่ 23 องศา ถึง 66 องศา เหนือ/ใต้ เขตภูมิอากาศหนาว ( Polar Zone ) ในเขตละติจูดตั้งแต่ 66 องศาเหนือ และใต้ ไปยังขั้วโลก

4 การแบ่งเขตภูมิอากาศโดยใช้มวลอากาศและแนวปะทะมวลอากาศ
ภูมิอากาศในเขตละติจูดต่ำ เป็นแหล่งกำเนิดของมวลอากาศเขตร้อนและร่องความกดอากาศต่ำแถบศูนย์สูตร บริเวณละติจูดที่ 23 องศาเหนือ ถึง 23 องศาใต้ อากาศในเขตละติจูดกลาง เป็นเขตที่มีการปะทะกันของมวลอากาศอุ่นเขต ร้อนและมวลอากาศเย็นขั้วโลก ทำให้เกิดแนวปะทะมวลอากาศขึ้นตลอด ภูมิอากาศในเขตละติจูดสูง เป็นเขตที่เกิดจากอิทธิพลของมวลอากาศเย็นแถบ ขั้วโลก และมวลอากาศอาร์กติก

5 การแบ่งเขตภูมิอากาศโดยใช้พืชพรรณธรรมชาติ
 การแบ่งเขตภูมิอากาศโดยใช้พืชพรรณธรรมชาติ ภูมิอากาศแบบป่าศูนย์สูตร   ภูมิอากาศแบบป่าเมดิเตอร์เรเนียน เขตภูมิอากาศแบบป่ามรสุม ภูมิอากาศแบบป่าไม้ใบกว้าง ภูมิอากาศแบบป่าละเมาะ / ป่าเบญจพรรณ ภูมิอากาศแบบป่าสน(เขตหนาว) ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา ภูมิอากาศแบบทุนดรา  ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าแพรี่   ภูมิอากาศแบบขั้วโลก ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสเต็ปป์   ภูมิอากาศแบบทะเลทราย

6 GREEK CLIMATE SYSTEM Torrid zone เขตร้อน
Temperate zone เขตอบอุ่น Frigid zone เขตหนาว

7 Low-latitude Climates Mid-latitude Climates High-latitude Climates

8 อุณหภูมิเฉลี่ยในรอบปี ของแต่ละบริเวณในโลก
เขตหนาว เขตอบอุ่น เขตร้อน เขตอบอุ่น เขตหนาว

9 บริเวณที่มี ฝนมากที่สุด
เขตภูมิอากาศตามแบบเคิปเปน ละติจูด บริเวณที่มี ฝนมากที่สุด บริเวณที่มี ฝนมาก บริเวณที่มี ฝนมาก

10 อักษรตัวแรก : letter is a general temperature profile based on latitude
A    C    D   E   tropical (torrid) no winter warm temperate cool winter cool temperate cold winter cold (frigid) no summer

11 เขตอากาศหลัก ๆ โดยพิจารณาจากที่ตั้งตามละติจูดเป็นหลัก
KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศหลักโดยภาพรวม เขตอากาศหลัก ๆ โดยพิจารณาจากที่ตั้งตามละติจูดเป็นหลัก

12 ลักษณะอากาศเขตแห้งแล้ง ลักษณะอากาศเขตอบอุ่น ลักษณะอากาศเขตหิมะ/หนาว
KÖPPEN CLIMATE SYSTEM เขตภูมิอากาศ symbol zone climate ลักษณะอากาศเขตร้อน A tropical climate ลักษณะอากาศเขตแห้งแล้ง B dry climate ลักษณะอากาศเขตอบอุ่น C warm climate ลักษณะอากาศเขตหิมะ/หนาว D Snow/cool climate ลักษณะอากาศเขตทุ่งน้ำแข็ง E ice climate ลักษณะอากาศเขตที่สูง H high land climate

13 สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเขตภูมิอากาศตัวอักษรแรก
KOPPEN SYSTEM สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเขตภูมิอากาศตัวอักษรแรก A : tropical rainy climates B : dry climates C : humid subtropical climates D : humid continental climates E : polar climates H : highland climates

14 การจำแนกภูมิอากาศโลก : อักษรตัวแรก
การจำแนกภูมิอากาศโลก : อักษรตัวแรก ภูมิอากาศร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร ภูมิอากาศแห้ง ภูมิอากาศอบอุ่นชื้นแถบละติจูดกลาง ภูมิอากาศชื้นภาคพื้นทวีป ภูมิอากาศขั้วโลก ภูมิอากาศแถบภูเขาสูง A    B    C   D   E   H  

15 เขตหนาวจัด เขตอบอุ่น-หนาว เขตร้อนแล้ง เขตร้อนชื้น เขตร้อนแล้ง เขตอบอุ่น-หนาว เขตหนาวจัด

16

17 การจำแนกภูมิอากาศโลก
Tropical Rainforest ( Af ) Tropical Monsoon ( Am ) Tropical Savanna ( Aw ) Steppe / Semi - Desert ( BS ) Desert ( BW ) Humid Subtropical ( Cfa ) Mediterranean ( Cs ) Marine West Coast ( Cfb ) Humid Continental ( Dfa ) Sub Arctic ( Dfc ) Tundra ( ET ) Ice Cap ( EF ) Highland ( H ) A B C D E H

18 Climate types under the Köppen climate classification
Class A Tropical Moist Climates: all months have average temperatures above 18 degrees Celsius Class B Dry Climates: with deficient precipitation during most of the year Class C Moist Mid-latitude Climates / (Mesothermal Climate) with Mild Winters Class D Moist Mid-Latitude Climates / (Microthermal Climates) with Cold Winters Class E Polar Climates: with extremely cold winters and summers Class H Highland Climate

19 Climate types Köppen climate classification
Class A ภูมิอากาศเขตร้อนชื้น Class B ภูมิอากาศเขตแห้งแล้ง Class C ภูมิอากาศเขตอบอุ่น / ภูมิอากาศอุณหภูมิปานกลาง Class D ภูมิอากาศเขตหนาว / หนาวเย็น / ภูมิอากาศแบบอุณหภูมิต่ำ Class E ภูมิอากาศเขตขั้วโลก / ภูมิอากาศแบบน้ำแข็ง Class H ภูมิอากาศแบบที่สูง

20 Climate types under the Köppen climate classification
Class A Equatorial (Af) Monsoon (Am) Savanna (Aw, As) Class B Desert (BWh, BWk) Semi-arid / semi- desert /Steppe (BSh, BSk) Class C Humid subtropical (Cfa, Cwa) Oceanic (Cfb, Cwb, Cfc) Mediterranean (Csa, Csb) Class D Humid continental (Dfa, Dwa, Dfb, Dwb) Sub-Arctic (Dfc, Dwc, Dfd, Dwd) Class E Polar ( E ) Ice cap (EF) Tundra (ET) Class H Highland ( H )

21 เขตภูมิอากาศตามแบบเคิปเปน
= A = B = C = D = E = H

22 KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศในโลก

23 KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศในโลก

24 เขตภูมิอากาศในทวีปเอเชีย
KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศในทวีปเอเชีย

25 เขตภูมิอากาศในทวีปเอเชีย
KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศในทวีปเอเชีย

26 เขตภูมิอากาศในทวีปเอเชีย
KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศในทวีปเอเชีย

27 อักษรตัวแรก อักษรตัวที่ 2 อักษรตัวที่ 3 KOPPEN SYSTEM เขตภูมิอากาศ
A : tropical rainy climates B : dry climates C : humid subtropical climates D : humid continental climates E : polar climates climates H : highland climates อักษรตัวที่ 2 A, C & D climates f: no dry season w: dry winter season s: dry summer season B climates S: steppe W: desert อักษรตัวที่ 3 C & D climates a: hot summer b: mild summer c: cool summer d: cold B climates h: hot k: cold E climates T: tundra F: ice cap

28


ดาวน์โหลด ppt Climate II อาจารย์สอง Satit UP.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google