ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ทางการตลาดของคู่แข่งขัน
บทที่ 6 การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม ทางการตลาดของคู่แข่งขัน
2
อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการแข่งขัน
1. ระดับการแข่งขันระหว่างคู่แข่งขัน 2.ภัยจากคู่แข่งรายใหม่ 3.ภัยจากสินค้าหรือบริการที่ทดแทนกัน 4.อำนาจการต่อรองจากลูกค้า 5.อำนาจในการต่อรองของผู้จำหน่ายวัตถุดิบ
3
ระดับการแข่งขันระหว่างคู่แข่งขัน
4
ภัยจากคู่แข่งรายใหม่
5
ภัยจากสินค้าหรือบริการที่ทดแทนกัน
6
การระบุสภาวการณ์แข่งขัน
1.ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ รูปแบบของการแข่งขันในตลาดที่มีผู้ ซื้อและผู้ขายสินค้าและบริการชนิดเดียวกันหลายราย 2.ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด แข่งขันลักษณะนี้เกิดขึ้นบ่อยมาก ในปัจจุบัน มีสินค้าและบริการคล้ายคลึงกันหลายแบบ และสนอง ความต้องการของตลาดส่วนเดียวกัน 3.ตลาดผู้ขายน้อยราย เป็นลักษณะตลาดที่มีผู้ขายตั้งแต่ 2 คนขึ้น ไป ส่วนมากเป็นผู้ขายที่มีเงินทุนมากในการกำหนดธุรกิจ 4.ตลาดผูกขาด ตลาดของผู้ขายรายเดียว เช่น รัฐวิสาหกิจขนาด ใหญ่
7
การแข่งขัน 4 ระดับของ ฟิลิป คอตเลอร์
การแข่งขัน 4 ระดับของ ฟิลิป คอตเลอร์ การแข่งขันตรายี่ห้อ การแข่งขันอุตสาหกรรม การแข่งขันด้านรูปแบบ การแข่งขันเพื่อช่วงชิงลูกค้าในธุรกิจ เดียวกัน
8
แนวความคิดทางการแข่งขันในตลาด
วิธีการมองธุรกิจต่าง ๆ ที่ผลิตสินค้าเดียวกัน เป็นวิธีการมองแบบมุมกว้างโดยเน้นที่การผลิตเป็น หลัก นอกจากนั้นการมองธุรกิจอาจมองในแง่ของการ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าการระบุคู่แข่งขัน เป็นเรื่องที่สำคัญมาก โดยการวิเคราะห์คู่แข่งขัน ทางการตลาด
9
การกำหนดวัตถุประสงค์ของคู่แข่งขัน
1.สร้างยอดขาย 2.เพิ่มส่วนแบ่งตลาด 3.เพิ่มความสามารถในการทำกำไร 4.การตั้งราคา 5.การจัดจำหน่าย 6.การส่งเสริมการตลาด
10
การประเมินสภาพแวดล้อมของคู่แข่งขัน
SWOT
11
SWOT เป็นสิ่งที่ธุรกิจนำมาวิเคราะห์ และประเมินเพื่อใช้ในการ วางแผนและกำหนดกลยุทธ์ การตลาด
12
Strength สินค้ามีคุณภาพดี บรรจุภัณฑ์ทันสมัย เครื่องมือมีประสิทธิภาพ
มีการประชาสัมพันธ์ที่ดี ส่วนแบ่งทางการตลาดสูง ต้นทุนการผลิตสินค้าต่ำ มีความสามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า
13
Strength ความชำนาญของบุคลากร ความแข็งแกร่งของตราสินค้า
ทำเลที่ตั้งของกิจการที่เหมาะสม ระบบตรวจสอบคุณภาพที่ทันสมัย ภาพพจน์ของสินค้าและบริษัทดี มีการผลิตอย่างต่อเนื่อง
14
Weakness สินค้ามีให้เลือกน้อย - สายผลิตภัณฑ์สั้น
สินค้ามีให้เลือกน้อย - สายผลิตภัณฑ์สั้น รูปแบบสินค้าไม่ทันสมัย - จำนวนแรงงานไม่เพียงพอ กำลังการผลิตต่ำ - ไม่มีงบประมาณโฆษณา ต้นทุนการผลิตสูง ช่องทางการจัดจำหน่ายไม่เพียงพอ ราคาสินค้าแพงกว่าคู่แข่ง เงินทุนไม่เพียงพอ สายผลิตภัณฑ์สั้น
15
Opportunity การแข่งขันยังมีน้อย จำนวนผู้บริโภคเพิ่มมากขึ้น
ได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐ เศรษฐกิจมีอัตราเจริญเติบโตสูง เทคโนโลยีทันสมัย คู่แข่งขันเลิกกิจการ การเติบโตของตลาดอย่างต่อเนื่อง
16
Threat ราคาของต้นทุนวัตถุดิบสูงขึ้น มีกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับใหม่
มีสินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้ เศรษฐกิจอยู่ในขั้นต่ำ จำนวนผู้บริโภคลดน้อยลง คู่แข่งขันรายใหม่เข้ามาในตลาด คู่แข่งขันทุ่มการโฆษณา สินค้าถูกกดราคาจากคนกลาง
17
ดำเนินกิจกรรมไม่สำเร็จ
SWOT Analysis สภาพแวดล้อม ภายใน Strength (S) จุดแข็ง จุดเด่น ข้อได้เปรียบ Weakness (W) จุดอ่อน ข้อเสียเปรียบ ภายนอก Opportunity (O) โอกาส สิ่งเกื้อกูล ที่จะดำเนินกิจกรรม Threats(T) อุปสรรคที่จะทำให้ ดำเนินกิจกรรมไม่สำเร็จ
18
1. กลยุทธ์วิเคราะห์จุดอ่อนและอุปสรรค (WT) 2
1.กลยุทธ์วิเคราะห์จุดอ่อนและอุปสรรค (WT) 2.กลยุทธ์วิเคราะห์จุดอ่อนและโอกาส (WO) 3.กลยุทธ์วิเคราะห์จุดแข็งและอุปสรรค (ST) 4.กลยุทธ์วิเคราะห์จุดแข็งและโอกาส (SO)
19
นำจุดแข็งไปเพิ่มโอกาส นำจุดแข็งไปลดอุปสรรค ปิดจุดอ่อนเพื่อลดอุปสรรค
TWOS Matrix TWOS Matrix จุดแข็งที่สำคัญ จุดอ่อนที่สำคัญ โอกาสที่สำคัญ S–O Strategies นำจุดแข็งไปเพิ่มโอกาส W–O Strategies นำโอกาสไปลดจุดอ่อน อุปสรรคที่สำคัญ S–T Strategies นำจุดแข็งไปลดอุปสรรค W–T Strategies ปิดจุดอ่อนเพื่อลดอุปสรรค
20
TWOS Matrix การกำหนดแผนกลยุทธ์จากการวิเคราะห์ TOWS Matrix กลยุทธ์ WT รีบสลาย จุดอ่อน และหลีกเลี่ยง อุปสรรค กลยุทธ์ WO เลี่ยงจุดอ่อน นำความสามารถเฉพาะอย่างมาใช้ให้ ได้เปรียบในส่วนที่มีโอกาสสูง กลยุทธ์ ST เอาจุดแข็งสูงสุดไปข่มอุปสรรค เช่น ใช้ จุดแข็ง ทางเทคโนโลยี การจัดการเพื่อจัดการอุปสรรคที่มีคู่แข่งมาก กลยุทธ์ SO เป็นสถานการณ์ที่บริษัทต้องการมากที่สุดโดยใช้ จุดแข็งและโอกาสที่ดี สร้างแผนรุก
21
การออกแบบกลยุทธ์เพื่อการแข่งขัน
หลักกลยุทธ์ทางการตลาด 1. การดำรงจุดมุ่งหมาย 2. ความคิดริเริ่ม 3. การรวมกำลัง 4. ประหยัดทรัพยากร 5. การแปรขบวนหรือการเคลื่อนย้ายกำลัง 6. การมีเอกภาพในการบังคับบัญชา 7. การประสานงาน
22
การออกแบบกลยุทธ์เพื่อการแข่งขัน
หลักกลยุทธ์ทางการตลาด 8. ความปลอดภัย 9. การลวง 10. ความง่าย 11. ความอ่อนตัว 12. การแสวงหาประโยชน์
23
หลักเกณฑ์บทบาทที่มีอยู่ในตลาดเป้าหมาย
ผู้นำตลาด มีส่วนครองตลาดมากที่สุด ผู้ท้าชิง มีส่วนครองตลาดรองมาเป็นอัดดับสองและพยายามแข่งขันเพื่อ เป็นที่หนึ่งในตลาด ผู้ตาม มีส่วนครองตลาดเป็นอันดับสาม และต้องรักษารวมถึงเพิ่มส่วน ครองตลาด ผู้ขายในตลาดส่วนย่อย การทำธุรกิจกับตลาดส่วนย่อยที่กิจการที่ใหญ่ กว่าสนใจที่จะเข้าสู่ตลาดส่วนนี้
24
ในตลาดธุรกิจจะมีแนวทางดังนี้
แนวทางที่ 1 การขยายอุปสงค์ในตลาด 1. แนวความคิดสร้างผู้ใช้รายใหม่ กลยุทธ์เจาะตลาด เป็นกลยุทธ์ที่จะทำอย่างไรให้ ลูกค้ากลุ่ม ปัจจุบัน รู้จัก และซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในปัจจุบันเพิ่มมากขึ้น กลยุทธ์ตลาดใหม่ กลยุทธ์ขยายเขตภูมิศาสตร์ วิธีใช้ใหม่ การใช้มากขึ้น
25
ในตลาดธุรกิจจะมีแนวทางดังนี้
แนวที่ 2 รักษาส่วนแบ่งการตลาดที่มีอยู่ 1. กลยุทธ์ตั้งรับ เน้นรักษาฐานลูกค้าที่มีอยู่ 2. กลยุทธ์ตั้งรับเพื่อป้องกันด้านข้าง ป้องกันจุดอ่อนให้เหลือน้อยที่สุด 3. กลยุทธ์การตั้งรับโดยการชิงตีก่อน 4. กลยุทธ์การตั้งรับโดยการตีต่อต้าน หาวิธีการโจมตีพร้อมกับการตั้ง รับ 5. กลยุทธ์การตั้งรับโดยมีหน่วยเคลื่อนที่เร็ว การจัดกิจกรรมพิเศษใน งานแสดงสินค้าต่าง ๆ 6. กลยุทธ์การถอยตามแผน เลิกจำหน่ายในจุดที่ทนต่อการโจมตีของคู่ ขันไม่ได้
26
ในตลาดธุรกิจจะมีแนวทางดังนี้
เพิ่มส่วนแบ่งตลาดจากส่วนตลาดเดิม กลยุทธ์ของผู้ท้าชิง 1. กลยุทธ์การตีด้านหน้า ปะทะจุดเด่นคู่แข่งขัน และใครอดทน มากกว่าก็จะเป็นผู้ชนะ 2. กลยุทธ์การตีด้านข้าง การเข้าตีจุดอ่อนเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบ โดยตรง 3. กลยุทธ์การตีโอบ ตีผู้นำหลายด้านเข้าตีแบบครอบคลุม จนทำให้ เกิดจุดอ่อนขึ้น 4. กลยุทธ์การตีลึกในตลาดอื่น การนำทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อออก ผลิตภัณฑ์ใหม่แทนผลิตภัณฑ์เดิม เช่น ส้มแขก ช่วยในการระบาย 5. กลยุทธ์การโจมตีแบบกองโจร ก่อกวนคู่แข่งขัน
27
ในตลาดธุรกิจจะมีแนวทางดังนี้
เพิ่มส่วนแบ่งตลาดจากส่วนตลาดเดิม กลยุทธ์ของผู้ตาม 1. ผู้ลอกเลียนแบบ 2. ผู้ถอดแบบ ถอดคุณสมบัติที่ดีของผู้นำตลาดออกมา ให้หมด 3. ผู้ปลอมแปลง เพิ่มความแตกต่างปลอมแปลง บางอย่างให้แตกต่างจากคู่ขันแข่ง 4. ผู้ปรับแต่ง การดัดแปลง ปรับปรุงให้มีจุดเด่นมากขึ้น
28
กลยุทธ์ผู้ขายในตลาดส่วนย่อย
นำเสนอผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด ต้องเป็นผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภค ต้องการจริง รูปแบบผลิตภัณฑ์ต้องมีความเฉพาะเจาะจงเพียงพอ การควบคุมกระบวนการผลิตให้มีต้นทุนที่ต่ำที่สุด การผลิตที่มีจำนวนมากเพียงพอ การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.