งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หมวด ๒ กลยุทธ์.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หมวด ๒ กลยุทธ์."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หมวด ๒ กลยุทธ์

2 โรงเรียนของเราอยากเป็นแบบไหน...
องค์กรที่ดี องค์กรที่ดีกว่า มุมมองเชิงภาระหน้าที่ มุมมองเชิงระบบ ชี้นำโดยผู้นำ การนำอย่างมีวิสัยทัศน์ มุ่งเน้นผลผลิต ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นผู้เรียน เน้นการใช้ผู้ส่งมอบ การให้ความสำคัญกับบุคลากร ปฏิบัติงานตามเงื่อนเวลา การเรียนรู้ระดับองค์กรและความคล่องตัว เน้นผลงานทีละไตรมาส การมุ่งเน้นความสำเร็จ ปฏิบัติตามคู่มือ การจัดการเพื่อนวัตกรรม ตัดสินและบริหารตามความรู้สึก จัดการโดยใช้ข้อมูลจริง มุ่งเน้นผลเฉพาะหน้า รับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมายข้อบังคับ จริยธรรมและความโปร่งใส มุมมองเชิงภาระหน้าที่ เน้นการสร้างคุณค่าและผลลัพธ์

3 โครงร่างองค์กร ลักษณะ องค์กร สภาวการณ์ องค์กร หลักสูตร หมวด 6 บุคลากร
วิสัยทัศน์ฯ หมวด 2 บุคลากร หมวด 3 ลักษณะ องค์กร สินทรัพย์ หมวด 2 กฎ ระเบียบ หมวด 1 โครงสร้าง หมวด 5 โครงร่างองค์กร นักเรียนฯ หมวด 3 ผู้ส่งมอบ หมวด 2 หมวด 2 สภาวการณ์ องค์กร ลำดับที่ การเปลี่ยนแปลง หมวด 2 แหล่งข้อมูล หมวด 2,4 หมวด 2 บริบทเชิงกลยุทธ์ ระบบปรับปรุง หมวด 1-6

4 หมวดที่ ๒ กลยุทธ์ (๙๕ คะแนน)
เป็นการตรวจประเมินว่าโรงเรียนมีการจัดทำกลยุทธ์จากวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการขององค์กรอย่างไร รวมทั้งตรวจประเมินการนำวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการที่เลือกไว้ไปปฏิบัติ การปรับเปลี่ยนเมื่อสถานการณ์เปลี่ยนไป และวิธีการวัดผลความก้าวหน้า ๒ หัวข้อระดับ Basic requiment ๔ ประเด็นระดับ Overall requiment ๑๓ คำถามย่อยระดับ Multiple requiment

5 ๒.๑ การจัดทำกลยุทธ์ (๔๕ คะแนน)
โรงเรียนมีวิธีการในการจัดทำกลยุทธ์อย่างไร ? ก. กระบวนการจัดทำกลยุทธ์ กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ (๒) นวัตกรรม (๓) การวิเคราะห์และกำหนดกลยุทธ์ (๔) ระบบงานและสมรรถนะหลักของโรงเรียน ข. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (๑) วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สำคัญ (๒) การพิจารณาวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

6 ๒.๒ การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ (๕๐ คะแนน) โรงเรียนนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติอย่างไร
ก. การจัดทำแผนปฏิบัติการและการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ (๑) การจัดทำแผนปฏิบัติการ (๒) การนำแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ (๓) การจัดสรรทรัพยากร (๔) แผนด้านบุคลากร (๕) ตัววัดผลการดำเนินการ (๖) การคาดการณ์ผลการดำเนินการ ข. การปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ

7 หมวด หมวด ๒ ๔๕ คะแนน ก. (๑),(๒),(๓),(๔) ๒.๑ ข. (๑),(๒) ๕๐ คะแนน ก. ๒.๒
ข้อกำหนดพื้นฐาน ข้อกำหนดโดยรวม ข้อกำหนดย่อย ๔๕ % ๖๕ % > ๗๐ % Basic requirement Overall requirement ๔๕ คะแนน ก. (๑),(๒),(๓),(๔) ๒.๑ ข. (๑),(๒) หมวด ๒ กลยุทธ์ ๕๐ คะแนน ก. (๑),(๒),(๓),(๔),(๕),(๖) ๒.๒ ๙๕ คะแนน ข.

8 ความเป็นระบบ & ความเชื่อมโยง
Integration Input Process Output Outcome Performance (หมวด ๗) A P D C A In D Integration Measurment L Knowledge management INNOVATION ความเป็นระบบ & ความเชื่อมโยง

9 การประยุกต์ใช้ Balanced Scorecard ในการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์

10 Balanced Scorecard เป็นการควบคุมการจัดการยุคใหม่ (Modern Management Control) หรือเป็นระบบควบคุมกลยุทธ์ (Strategic Control) ขององค์กรที่แสดงภาพและความหมายที่ชัดเจนของเป้าหมาย (Goals) ของผลลัพธ์ (Outcome) การดำเนินการและการวัดผล (Measures) ที่มุ่งวัดที่ตัวขับเคลื่อนผลการปฏิบัติงาน (Performance Drivers หรือ KPIs) ภายใต้การกระจายอำนาจการปฏิบัติในแต่ละส่วนที่มีบริบทของความรับผิดชอบแบบเบ็ดเสร็จ (Accountability) และพื้นฐานความไว้วางใจ (Trust) ของผู้กระจายอำนาจ

11 Balanced Scorecard Model
Norton & Kaplan แนวทางการคิดเกี่ยวกับระบบการวัดผลการปฏิบัติงานที่มีความครอบคลุมมากกว่าการวัดผลทางการเงินและผลผลิต ซึ่งเป็นการวัดผลการปฏิบัติงานแบบเก่า แนวทางในการกำหนดปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จขององค์กรที่ครอบคลุมองค์ประกอบสำคัญ ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านการเงิน ด้านผู้รับบริการ ด้านองค์กร และด้านนวัตกรรม BSC จะให้ตัวชี้วัดสำคัญที่ผู้บริหารสามารถนำมาใช้ในการพิจารณาผลการปฏิบัติงานทั้งในอดีตและปัจจัยกระตุ้นผลการปฏิบัติงานในอนาคต

12 ๔ มิติของ Balanced Scorecard
มุมมองด้านการเงิน (The Financial Perspective) มุมมองด้านการเงิน องค์กรธุรกิจมองในภาพของการเพิ่มรายได้ ประสิทธิภาพในการใช้เงิน การหาแหล่งเงินทุน สำหรับการประยุกต์ใช้ในโรงเรียน เป็นการบริหารจัดการด้านงบประมาณที่มีอยู่อย่างจำกัดเกี่ยวกับการจัดสรรงบประมาณให้กระจายอย่างทั่วถึงทุกภาระงาน/กิจกรรม/โครงการอย่างมีประสิทธิภาพ ตามความจำเป็นอย่างเสมอภาคและยุติธรรม การกำกับ ดูแลการใช้งบประมาณให้เกิดความคุ้มค่ามีประสิทธิผล รวมไปถึงความเชื่อถือ ความศรัทธาต่อโรงเรียนที่เพิ่มขึ้น

13 ตัวอย่างการวิเคราะห์มุมมองด้านการเงิน
(Financial Perspective) - ประสิทธิภาพการบริหารการเงิน - ความเพียงพอกับค่าใช้จ่ายตามแผนฯ - การจัดสรรงบประมาณที่ตรงตามวัตถุประสงค์ - ประสิทธิภาพของระบบการตรวจสอบทางการเงิน - ประสิทธิผลของการบริหารการเงิน - ผลลัพธ์การรับฟังเสียงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้านการเงิน ฯลฯ จะปรากฏคำอธิบายที่ 2.2 ก (3) และผลลัพธ์ 7.5

14 มุมมองด้านลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (The Customer Perspective)
มุมมองด้านลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  (The Customer Perspective) มุมมองด้านลูกค้า คือการทำให้ผู้มีส่วนได้ส่วนได้ส่วนเสียมีความพึงพอใจในภาพลักษณ์ขององค์กรตลอดจนการจัดการด้านลูกค้าสัมพันธ์ สำหรับการประยุกต์การศึกษาของโรงเรียน เป็นการบริหารจัดการของผู้บริหาร ครู อาจารย์ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง ที่มีการสำรวจความต้องการและข้อเรียกร้องของนักเรียน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อได้ข้อมูลที่จะนำไปใช้จัดการศึกษา ทั้งข้อมูลที่เกี่ยวกับหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอน และการสนับสนุนต่างๆ ของกลุ่มนักเรียนปัจจุบัน กลุ่มนักเรียนในอนาคต รวมทั้งการสร้างความผูกพันของนักเรียนที่มีต่อการบริการทางการศึกษาของโรงเรียนอยู่ภายใต้กรอบของกฎ ระเบียบ ข้อบังคับด้านกฎหมาย

15 จะปรากฏคำอธิบายที่ หมวด 3 และผลลัพธ์ 7.2
ตัวอย่างมุมมองด้านนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Customers or External Stakeholders Perspective) - วิธีการสำรวมความพึงพอใจของนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอน และการสนับสนุน - ข้อมูลสารสนเทศด้านความพึงพอใจของนักเรียน - ข้อมูลความเชื่อถือ ศรัทธาต่อโรงเรียนของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ข้อมูลการจัดการข้อเรียกร้อง - วิธีการจัดการสร้างความสัมพันธ์ - ความผูกพันของนักเรียนต่อหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอน และการสนับสนุน จะปรากฏคำอธิบายที่ หมวด 3 และผลลัพธ์ 7.2

16 มุมมองด้านกระบวนการองค์กร (The Internal Process Perspective)
มุมมองด้านกระบวนการองค์กร   (The Internal Process Perspective) มุมมองด้านกระบวนการจัดการภายในองค์กรเป็นการจัดโครงสร้างองค์กรที่มีประสิทธิภาพ กาแบ่งส่วนงาน การประสานงานภายในองค์กร ระบบและเครื่องมือการบริหารจัดการที่ทันสมัยมีประสิทธิภาพ การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อคุณภาพของงาน สำหรับการบริหารจัดการศึกษานำมาประยุกต์ใช้ในเรื่องการจัดโครงสร้างการบริหาร การจัดหน่วยงานตามโครงสร้างตามทฤษฎี การบริหารที่เหมาะสมสามารถรองรับกลยุทธ์ของโรงเรียน มีระบบประกันคุณภาพ กระจายอำนาจ ทำงานกันเป็นทีม จัดสายการบังคับบัญชา การมอบหมายหน้าที่ มาตรฐานการทำงาน ฯลฯ

17 จะปรากฏคำอธิบายที่ หมวด 1 และผลลัพธ์ 7.4
ตัวอย่างมุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Organization Perspective) - โครงสร้างการบริหาร - บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ และมาตรฐานการปฏิบัติ - ระบบการกำกับการปฏิบัติครูและบุคลากรของสถานศึกษา - ระบบการบริหารงานตามโครงสร้าง - ระบบการสื่อสาร - คุณภาพ และประสิทธิภาพกระบวนการปฏิบัติ - วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานร่วมกัน - ระบบการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงาน ฯลฯ จะปรากฏคำอธิบายที่ หมวด 1 และผลลัพธ์ 7.4

18 มุมมองด้านการเรียนรู้และการเติบโต
มุมมองด้านการเรียนรู้และการเติบโต  (The Learning and Growth Perspective) มุมมองด้านการเรียนรู้และการเติบโตขององค์กร เป็นการจัดการความรู้ (KM) ความสามารถ (สมรรถนะองค์กร) ความพึงพอใจของบุคลากร ขวัญและกำลังใจของบุคลากร รวมไปถึงความผูกพันของคนในองค์กร สำหรับการประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการศึกษา เกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมการทำงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา ระบบอำนวยความสะดวกในการทำงาน การพัฒนาทักษะในการทำงาน เน้นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ (นวัตกรรม) การสร้างเสริมความสามารถของบุคลากรในโรงเรียน ปฏิบัติงานบนพื้นฐานของการเรียนรู้ มีการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา รวมไปถึงการสร้างความผูกพันของครูและบุคลากรของโรงเรียน

19 จะปรากฏคำอธิบายที่ หมวด 5 และผลลัพธ์ 7.3
ตัวอย่างมุมมองด้านการเรียนรู้และการเติบโต (Learning & Growth or Innovation Perspective) - ประสิทธิภาพของการจัดการความรู้ - ระบบการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน - ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม - ระบบการพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากร - การเผยแพร่นวัตกรรม - การพัฒนาการปฏิบัติที่เป็นเลิศของโรงเรียน ฯลฯ จะปรากฏคำอธิบายที่ หมวด 5 และผลลัพธ์ 7.3

20 คุณค่าของ Balanced Scorecard
สื่อสารให้สมาชิกทุกคนในหน่วยงานได้เข้าใจวัตถุประสงค์สำคัญ เป้าหมายหลักและขอบเขตความรับผิดชอบในแต่ละส่วน สมาชิกในหน่วยงานจะได้พัฒนาตนเองให้มีความสามารถเหมาะสม (Competencies) กับการดำเนินงานในส่วนที่รับผิดชอบโดยเชื่อมโยงกับความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่จะมีผลต่ออนาคตของหน่วยงาน สร้างโอกาสการเรียนรู้ และการแก้ปัญหาของการดำเนินงานในส่วนที่รับผิดชอบด้วยการวัดและประเมินผลอย่างเป็นระบบ สร้างการยอมรับ การนับถือที่ไม่ได้หวังผลในระยะสั้นแต่คำนึงถึงความยั่งยืน ความ มั่นคงของหน่วยงานทั้งด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล อธิบายให้บุคคลภายนอกได้เห็นภาพและภารกิจของหน่วยงานที่สามารถทำได้อย่าง ชัดเจนมากกว่าการนำเสนอข้อมูลในรายงานประจำปีเพียงอย่างเดียว

21 ประโยชน์ของ BSC สำหรับผู้บริหาร: เพื่อเรียนรู้มุมมองสำคัญที่ส่งผลต่อการอยู่รอดขององค์กร กำกับ สนับสนุนโครงการ แผนงานระยะสั้น และระยะยาว ให้สอดคล้อง และบรรลุวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ขององค์กร อีกทั้งเป็นปัจจัยในการขับเคลื่อนการปฏิบัติงานและถ่ายทอด สื่อสารถึงผู้ปฏิบัติงาน สำหรับผู้ปฏิบัติ: เพื่อปฏิบัติงานได้ตรงเป้าหมาย และวิสัยทัศน์ขององค์กรอย่างแท้จริง สำหรับทุกคนในองค์กร: เพื่อความเป็นหนึ่งเดียวกันทั้งองค์กร ความอยู่รอดท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง และสร้างผลงานที่สนับสนุนองค์กรไปสู่จุดหมาย

22 การจัดการที่สำคัญ ๔ ประการ
หลักคิดเกี่ยวกับ BSC จากเครื่องมือในการควบคุมสู่เครื่องมือการบริหารจัดการ การจัดการที่สำคัญ ๔ ประการ - การวางแผน - การจัดองค์กร - การชี้นำ - การควบคุม วัดไม่ได้บริหารไม่ได้ วัดไม่ได้พัฒนาไม่ได้ สิ่งไหนได้รับการวัดสิ่งนั้นสามารถทำให้ประสบความสำเร็จได้

23 Financial Customer Internal Organization Vision & Strategy
Objectives Measures Initiative “ To satisfy our shareholders and customers, what business process must we excel at? ” Objectives Measures Initiative Targets Targets “ To succeed financially, how should we appear To our shareholders? ” Vision & Strategy Customer Learning & Growth or Innovation Objectives Measures Initiative Objectives Measures Initiative Targets “ To achieve our vision,how will we sustain our ability to change and improve? ” Targets “ To achieve our vision, how should we appear to our customers? ”

24 การจัดทำกลยุทธ์ (แผนระยะยาว)

25 การประยุกต์ใช้เทคนิคBSC มาบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์
ขั้นตอนที่ ๑ กำหนดทิศทางของโรงเรียน ระยะ ที่ กำหนดกลยุทธ์องค์กร ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ กำหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ขั้นตอนที่ ๔ จัดทำแผนที่กลยุทธ์ ขั้นตอนที่ ๕ กำหนดเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ ระยะ ที่

26 ระบบการบริหารเชิงกลยุทธ์ตามเทคนิค BSC
กำหนดทิศทาง กำหนดกลยุทธ์ การปฏิบัติ การควบคุม สภาพแวดล้อม ภายนอกองค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ตามกรอบ แผนกลยุทธ์ แผนงาน การปฏิบัติตาม แผนงาน โครงการ กิจกรรม โครงการ ภายใต้ แผนงาน โครงการ กิจกรรม สภาพแวดล้อม ภายในองค์กร กิจกรรม การทบทวน สถานภาพ องค์กร การทบทวน พันธกิจ เป้าประสงค์ การประเมินผล แผนงาน/โครงการ กิจกรรม การติดตามผล การปฏิบัติงาน

27 ระบบงานการปฏิบัติสู่วิสัยทัศน์โรงเรียน
S W O T วิสัยทัศน์ พันธกิจ KPI เป้าประสงค์ กลยุทธ์สถานศึกษา แผนปฏิบัติการ แผนที่ ๑ แผนที่ ๒ แผนที่ ๓ โครง โครง โครง โครง โครง โครง โครง โครง โครง การ การ การ การ การ การ การ การ การ การวัดผลเชิงดุลยภาพ หรือ BSC

28 P QA D C A แนวทางการจัดการศึกษาแนวทางมาตรฐานสากล หลักการ แนวคิด ทฤษฎี
ขั้นตอน วิเคราะห์สภาพแวดล้อม หลักการ แนวคิด ทฤษฎี วิสัยทัศน์ กำหนดทิศทางองค์กร Benchmarking (การเทียบเคียง) พันธกิจ P กำหนดกลยุทธ์ เป้าประสงค์ ร่วมคิด กรอบประมาณการรายจ่ายฯ การมีส่วนร่วม วิจัยและพัฒนา ร่วมปฏิบัติ การควบคุมคุณภาพ QA แผนปฏิบัติการประจำปี D ร่วมรับผล การกำกับควบคุม การปฏิบัติตามแผน การอำนวยการ การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน C การตรวจสอบ การประเมินแผน มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน การรายงาน A มาตรฐานการศึกษา (สมศ.) การทบทวน โรงเรียนมาตรฐานสากล

29 กระบวนการกำหนดทิศทางการจัดการศึกษาแนวทางมาตรฐานสากล
ปัจจัยภายนอก EXTERNAL กระบวนการกำหนดทิศทางการจัดการศึกษาแนวทางมาตรฐานสากล สถาณการณ์ ของประเทศ STRATY REVIEW สังคมและวัฒนธรรม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมืองและกฎหมาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ นโยบาย ศธ. REVIEW S W O T ANALYSIS จุดแข็ง (STRENGTHS) VISION จุดอ่อน (WEAKNESSES) KEY ISSUES MISSION โอกาส (OPPORTUNITIES) ข้อจำกัด (THREATS) OBJECTIVE หน่วยงานหรือ บุคคลที่มีส่วน เกี่ยวข้อง REVIEW SCENARIO 5-15 YEARS เป็นเทคนิคที่ช่วยในการกำหนดทิศทางการจัดการศึกษา ของโรงเรียน โดยวิธีศึกษาวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม ภายในและภายนอก เพื่อให้ทราบ จุดยืนและนำมาใช้วางแผนทิศทาง และเป้าหมาย REVIEW โครงสร้างและนโยบาย ผลผลิตและการให้บริการ บุคลากร งบประมาณ วัสดุ ครุภัณฑ์ การบริหารจัดการ ผลการประเมินคุณภาพ ปัจจัยภายใน INTERNAL

30 สถานภาพขององค์กร (1) (2) (4) (3) O + Stars S + W - Cash Cows Dogs T -
Question marks:? เอื้อและแข็ง เอื้อแต่อ่อน (1) (2) S + W - Cash Cows Dogs ไม่เอื้อแต่แข็ง ไม่เอื้อและอ่อน (4) (3) T -

31 องค์ประกอบของทิศทางองค์กร....
วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์

32 การจัดวางทิศทางของโรงเรียน
สภาพแวดล้อมภายนอก สภาพแวดล้อมภายใน โอกาส อุปสรรค จุดแข็ง จุดอ่อน วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ค่านิยมองค์กร ภารกิจ ตามกฎหมาย ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

33 ตัวอย่าง

34 วิสัยทัศน์ มุ่งมั่นจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่ศตวรรษที่ 21 ตามแนวทางมาตรฐานสากล

35 พันธกิจ พัฒนาศักยภาพนักเรียนให้มีคุณภาพตามเป้าหมายด้านนักเรียนโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล และบุคคลในศตวรรษที่ 21 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา จัดการเรียนการสอน และการสนับสนุนตามแนวทางมาตรฐานสากลได้อย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล เป็นที่พึงพอใจของนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะเหมาะสมกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามแนวทางมาตรฐานสากล พัฒนาระบบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBECQA) อย่างมีประสิทธิผล

36 เป้าประสงค์ นักเรียนจบการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพตามเป้าหมายด้านผู้เรียนโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลและบุคคลในศตวรรษที่ 21 ตามที่โรงเรียนกำหนด สถานศึกษาจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลตามแนวทางมาตรฐานสากล ๓. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะเหมาะสมกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่ศตวรรษที่ 21 และแนวทางมาตรฐานสากล สถานศึกษาบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามข้อกำหนดของเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (OBECQA) อย่างมีประสิทธิผล

37 ตัวชี้วัดความสำเร็จตามวิสัยทัศน์
๑. ร้อยละของนักเรียนที่จบการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ด้านนักเรียนและบุคคลในศตวรรษ 21 ที่สถานศึกษากำหนด ๒. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษา ๓. ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีสมรรถนะเหมาะสมกับการจัดการศึกษาสู่ศตวรรษที่ 21 และแนวทางมาตรฐานสากล ๔. ระดับของผลการประเมินระบบบริหารจัดการศึกษาตามข้อกำหนดของเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับ OBECQA

38 เป้าหมายความสำเร็จ ๑. นักเรียนจบการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพร้อมรุ่นที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ด้านนักเรียนและบุคคลในศตวรรษ 21 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ๒. ระดับระดับความพึงพอใจของนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อคุณภาพ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของการจัดการศึกษาคามแนวทางมาตรฐานสากลไม่ต่ำกว่าดีร้อยละ ๙๐ ๓. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะเหมาะสมกับการจัดการศึกษาสู่ศตวรรษที่ 21 ตามแนวทางมาตรฐานสากลระดับดีขึ้นไปไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๔. ระดับผลการประเมินระบบบริหารจัดการศึกษาตามข้อกำหนดของเกณฑ์รางวัล OBECQA ระดับ OBEC-QA ภายในปี ๒๕๖๒

39 ตัวอย่าง การจัดทำแผนที่กลยุทธ์ ตามมุมมองของ BSC

40 คุณลักษณะของผู้เรียน ผ่านเกณฑ์อย่างมีคุณภาพ
นักเรียนได้รับการศึกษาเต็มตามศักยภาพของแต่ละคน และจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม เกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนดอย่างมีคุณภาพทั้งด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวอย่าง Customers Perspective ค่าเฉลี่ยทางการเรียน สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด นักเรียนด้อยโอกาสได้รับการบริการ ทางการศึกษาอย่างทั่วถึง คุณลักษณะของผู้เรียน ผ่านเกณฑ์อย่างมีคุณภาพ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนตามความสนใจ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการ จัดการเรียนการสอน การบริหารหลักสูตร สถานศึกษาที่มีคุณภาพ Internal Perspective ครูจัดการเรียนการสอนเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญอย่างมีคุณภาพ สถานศึกษาจัดกิจกรรมให้นักเรียน ได้ตรงความถนัดและความสนใจ ครูและบุคลากรทาง การศึกษามีความรู้ ความสามารถเพียงพอ ประสิทธิภาพของนวัตกรรมและเทคโนโลยี ในการเรียนการสอนและการบริหาร Innovation Perspective ข้อมูลสารสนเทศเป็นปัจจุบัน และใช้บริหารจัดการศึกษาได้ ครูและบุคลากรมีผลงาน ความก้าวหน้าทางวิชาการ ครูใช้เทคนิคการการสอนแบบบูรณาการ Financial Perspective ทุนและทรัพยากรเพื่อการศึกษา มีพอเพียงต่อการจัดการศึกษา การจัดสรรงบประมาณ มีประสิทธิภาพเพียงพอ การบริหารแผนงบประมาณ ของสถานศึกษาก่อให้เกิด ผลผลิตตามที่สถานศึกษากำหนด

41 วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์สำคัญ การให้บริการทางการศึกษา
วิสัยทัศน์ มุ่งมั่นจัดการศึกษาสู่ศตวรรษที่ 21 ตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล ภายในปี ๒๕๖๒ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์สำคัญ นักเรียนมีคุณภาพระดับดีมากทุกมาตรฐานตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกของสำนักงานประเมินและรับรองคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สมศ.) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระตามตัวชี้วัดและเป้าหมายที่ สพฐ.กำหนด มุมมองด้าน ผู้เรียน ผู้เรียนมีทักษะและความสามารถการใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาอื่นตามความสนใจตามเกณฑ์ที่ สพฐ.กำหนด นักเรียนมีทักษะและความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างวิทยาศาสตร์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดวิเคราะห์ตามเกณฑ์ที่ สพฐ. กำหนด นักเรียนมีทักษะ ความสามารถในการผลิตผลงานโดยการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง (Independent Study: IS) สามารถนำเสนอและไปใช้ประโยชน์ต่อสังคมได้ นักเรียนมีจิตสาธารณะ รับผิดชอบสังคม พิทักษ์ปกป้องสิ่งแวดล้อมและเข้าใจวิถีชีวิตของพลเมือง พลโลก มุมมองด้าน การให้บริการทางการศึกษา โรงเรียนใช้หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางเทียบเคียงมาตรฐานสากลอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนมีระบบการกำกับ ติดตาม นิเทศ ตรวจสอบการจัดการศึกษาตามแนวทางมาตรฐานสากลอย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนมีระบบการสนับสนุน ส่งเสริมและให้เอื้อต่อการจัดการศึกษาตามแนวทางมาตรฐานสากลอย่างมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผล มุมมองครู และบุคลากร ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะเหมาะสมกับการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล ครูและบุคลากรทางการศึกษามีค่านิยมหลักและกระบวนการทำงานตามข้อกำหนดของเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ครูและบุคลากรทางการศึกษามีเครือข่ายความร่วมมือทางการศึกษามาตรฐานสากลทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ มุมมองด้าน บริหารฯ โรงเรียนใช้ระบบบริหารจัดการศึกษาตามข้อกำหนดของเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ โรงเรียนมีเครือข่ายความร่วมมือการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเทียบเคียงมาตรฐานสากลทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ

42 ตัวอย่างการกำหนดกลยุทธ์ริเริ่มเชื่อมโยงความสำเร็จสู่วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

43 ตารางวิเคราะห์ตัวชี้วัด เป้าหมาย และกลยุทธ์ปฏิบัติการ
Strategic Initiatives Objective Measures Target วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ในแต่ละมุมมองที่จะส่งต่อความสำเร็จตามพันธกิจ และวิสังทัศน์ ตัวชี้วัดหลักที่ใช้เป็นตัวแทนความสำเร็จที่วัดเชิงปริมาณได้ ตามวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ เป้าหมายเชิงปริมาณของความสำเร็จตามตัวชี้วัดที่โรงเรียนกำหนดเพื่อใช้เป็นตัวเทียบเคียง วิธีการเชิงนวัตกรรมที่คำนึงถึงโอกาสและสมรรถนะเหมาะสมว่าเมื่อปฏิบัติแล้วจะก่อให้เกิดความสำเร็จตามวัตถุประสงค์

44 เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์
(ตัวอย่าง) การกำหนดกลยุทธ์ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ ๑. โรงเรียนใช้หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางเทียบเคียงมาตรฐานสากลอย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ๒. โรงเรียนมีระบบการกำกับ ติดตาม นิเทศ ตรวจสอบการจัดการศึกษาเทียบเคียงมาตรฐานสากลเป็นที่พึงพอใจของนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๓. โรงเรียนมีระบบการสนับสนุน ส่งเสริมที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาตามแนวทางมาตรฐานสากลอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล

45 การกำหนดกลยุทธ์เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์ ๑. โรงเรียนใช้หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางเทียบเคียงมาตรฐานสากลอย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเทียบเคียงมาตรฐานสากล - ปรับโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทางเทียบเคียงมาตรฐานสากล - ระดับคุณภาพของหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐานเทียบเคียงมาตรฐานสากล - หลักสูตรสถานศึกษาฯมีคุณภาพระดับดีถึงดีมากไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕

46 วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์
- ร้อยละของนักเรียนกลุ่มความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ นักเรียนกลุ่มความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ - จัดแผนการเรียนส่งเสริมความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ - ร้อยละของนักเรียนที่มีความสามารถและทักษะภาษาอังกฤษในระดับดี - นักเรียนมีความสามารถและทักษะภาษาอังกฤษในระดับดีไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕๐ - จัดแผนการเรียนส่งเสริมความสามารถพิเศษภาษาอังกฤษ - ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับอาเซียนในระดับดี - นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับอาเซียนในระดับดีร้อยละ ๙๐ - จัดแผนการเรียนอาเชียนศึกษาแบบบูรณาการ

47 วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์
- ร้อยละของนักเรียนที่เรียนต่อระดับอุดมศึกษาคณะแพทย์ศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ - นักเรียนเรียนต่อระดับอุดมศึกษาคณะแพทย์ศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ - จัดห้องเรียนพิเศษ(แพทย์- วิศวะ) อินเตอร์

48 วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์
ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล - ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) ที่เพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด - ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕ - จัดกิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - ร้อยละของนักเรียนที่มีประสบการณ์การเรียนรู้ประชาคมอาเซี่ยน - นักเรียนมีประสบการณ์การเรียนรู้ประชาคมอาเซี่ยนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๕ - จัดกิจกรรมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ประชาคมอาเซี่ยน

49 ตัวชี้วัดความสำเร็จ Key Performance Indicator: KPI

50 การกำหนดกรอบตัวชี้วัด
กำหนดกลยุทธ์ระดับแผนงาน (โครงการ) วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ

51 ตัวชี้วัดความสำเร็จ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
: สิ่งที่ระบุผลลัพธ์ของกลยุทธ์ระดับแผนงาน ( โครงการ ) ซึ่งเป็นผลสำเร็จปลายทางของการดำเนินการตามกลยุทธ์

52 ตัวชี้วัด ตัวแทนของสิ่งที่เป็นนามธรรมที่แสดงผลเป็น
ตัวชี้วัด ตัวแทนของสิ่งที่เป็นนามธรรมที่แสดงผลเป็น เป็นค่าประเมิน Indicators ตัวชี้วัดผลสำเร็จ ค่าตัวชี้วัดผลสำเร็จของกิจกรรม/ โครงการ/แผนงาน Performance Indicators ตัวชี้วัดผลการดำเนินการหลัก ค่าตัวชี้วัดผลสำเร็จหลักที่เป็น Key Performance Indicators ผลรวมตัวแทนของผลผลิตและ ผลลัพธ์

53 ผลการดำเนินการ = ผลผลิต + ผลลัพธ์
Performance = Outputs + Outcomes ผลผลิต หมายถึง ผลการดำเนินการที่เกิดจากการจัดทำ กิจกรรม ผลลัพธ์ หมายถึง ผลการดำเนินงานที่เกิดจากการนำ ผลผลิตไปใช้ประโยชน์ ผลกระทบ หมายถึง บุคคลหรือสภาพการณ์ที่ได้รับประโยชน์จากผล การดำเนินการจากผลลัพธ์

54 KPI = Key Performance Indicators
ครอบคลุม Output Indicators และ Outcome Indicators แต่ไม่รวม Process Indicators และ Impact Indicators

55 การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์...
เน้น ประหยัด (Economy) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness)

56 คุณลักษณะของตัวชี้วัด
จำแนกตามระดับ จำแนกตามมาตรวัด จำแนกตามค่าของตัวชี้วัด

57 ตัวชี้วัดจำแนกตามมาตรวัด
ตัวชี้วัดเชิงวัตถุวิสัย (Objective Indicators) มีค่าเป็นตัวเลขทางคณิตศาสตร์และมีนัยทางสถิติ ตัวชี้วัดเชิงอัตวิสัย (Subjective Indicators) เป็นข้อมูลแสดงเจตคติ ความคิดเห็น ความรับรู้ ความเชื่อ และความพึงพอใจ

58 ตัวชี้วัดจำแนกตามค่าของตัวชี้วัด...
ตัวชี้วัดเชิงบวก (Positive Indicators) ค่าตัวเลขมีแนวโน้มในทางเพิ่มขึ้นตอบสนองแนวทางที่พึงประสงค์ ตัวชี้วัดเชิงลบ (Negative Indicators) ค่าตัวเลขมีแนวโน้มในทางลดลงตอบสนองแนวทางที่พึงประสงค์

59 ค่าของตัวชี้วัด ร้อยละ (Percentage) สัดส่วน (Proportion) อัตราส่วน (Ratio) อัตรา (Rate) จำนวน (Number) ค่าเฉลี่ย (Average or Mean)

60 ตัวชี้วัดความสำเร็จ ค่าตัวชี้วัด ระดับ มาตรวัด คุณค่า ปัจจัย ร้อยละ
ผลผลิต อัตราส่วน ผลลัพธ์ สัดส่วน วัตถุวิสัย ตัวชี้วัดความสำเร็จ มาตรวัด ค่าตัวชี้วัด อัตวิสัย อัตรา จำนวน เชิงบวก คุณค่า เชิงลบ ค่าเฉลี่ย

61 ข้อคิดในการจัดทำและนำตัวชี้วัดไปใช้
. ความตรงประเด็น . แสดงเป้าหมายของกิจกรรมของหน่วยงาน . สอดคล้องกับลำดับชั้นของเป้าหมาย . ไม่ควรมีตัวชี้วัดมากนัก . ใช้ข้อมูลสารสนเทศที่มีตามปกติให้มากที่สุด . การตีความหมายต้องเข้าใจตรงกัน

62 คุณสมบัติที่ดีของตัวชี้วัด (VARS)
Validity สมเหตุสมผลที่จะอธิบายได้ Availability ความมีอยู่ของข้อมูล Reliability ความเชื่อถือได้ Sensitivity ความเคลื่อนไหวได้

63 คุณสมบัติที่ดีของตัวชี้วัด (VARS)
ต้องนำไปตัดสินใจ ในการบริหารได้

64 ประเด็นตัวชี้วัดประสิทธิภาพ PCT
Performance : ผลที่ถูกต้อง ปลอดภัย ประณีต ครบถ้วน Cost : ความประหยัด คุ้มค่า คุ้มทุน Time : ความรวดเร็ว ทันเวลา

65 ตัวชี้วัดที่เป็นรูปธรรม
Quantity ปริมาณ Quality คุณภาพ Time เวลา Target group กลุ่มเป้าหมาย Place สถานที่

66 ตัวอย่าง กลยุทธ์ระดับแผนงาน
พัฒนาครูด้านการผลิตและใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ครูผลิตและใช้สื่อเทคโยโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนการสอนได้มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละของครูที่ผลิตและใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น

67 ตัวอย่างตัวชี้วัด ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้นจากการระดมทุนจากผู้ปกครองและชุมชน สัดส่วนของนักเรียนกลุ่มเสี่ยงต่อนักเรียนปกติที่ลดลง อัตราการเพิ่มของนักเรียนต่อปีการศึกษา ร้อยละของนักเรียนที่ศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย ของรัฐที่เพิ่มขึ้น

68 ตัวอย่างการกำหนดค่าเป้าหมายแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระยะ ๓ ปี
( พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๒)

69 ปีงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒
๑. โรงเรียนใช้หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางเทียบเคียงมาตรฐานสากลอย่างมีคุณภาพ ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ปีงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๑.๑ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสู่มาตรฐานสากล - ปรับโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทางสู่มาตรฐานสากล - จัดแผนการเรียนส่งเสริมความสามารถพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ - จัดแผนการเรียนส่งเสริมความสามารถพิเศษภาษาอังกฤษ - จัดแผนการเรียนอาเชียนศึกษาแบบบูรณาการ - จัดห้องเรียนพิเศษ(แพทย์-วิศวะ) อินเตอร์

70 ปีงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒
๑.๒ ส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้สู่มาตรฐานสากล - จัดกิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน - จัดกิจกรรมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ประชาคมอาเซี่ยน - จัดกิจกรรมยกระดับความสามารถและทักษะการอ่าน การเขียน การพูด และการฟังภาษาไทย - จัดกิจกรรมเสริมความรู้ ความสามารถและทักษะคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ - จัดกิจกรรมเสริมความรู้ ความสามารถและทักษะภาษาอังกฤษ จีน ญี่ปุ่น และประเทศในกลุ่มอาเซี่ยน

71 ปีงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒
- จัดกิจกรรมส่งเสริมความมุ่งมั่นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง - จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามารถและทักษะการคิด - จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามารถและทักษะ ICT - จัดกิจกรรมเสริมความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์งานอาชีพ - จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามารถและทักษะงานทัศนศิลป์ นาฏศิลป์ ดนตรี - จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ อนามัย และความสามารถพิเศษด้านกีฬา

72 ปีงบประมาณ โครงการ/กิจกรรม ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒
- จัดกิจกรรมเสริมสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - จัดกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม - จัดระดมทุนการศึกษาแด่นักเรียนที่ด้อยโอกาส

73 การนำกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ (แผนระยะสั้น)

74 ระยะ ที่ ๑ ระยะ ที่ ๒ หลักการใช้เทคนิคBSC มี ๒ ระยะ ๑๐ ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ ๑ กำหนดทิศทางของโรงเรียน ระยะ ที่ กำหนดกลยุทธ์องค์กร ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ กำหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ขั้นตอนที่ ๔ จัดทำแผนที่กลยุทธ์ ขั้นตอนที่ ๕ กำหนดเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ ขั้นตอนที่ ๖ กำหนดกลยุทธ์สู่การปฏิบัติ ระยะ ที่ ขั้นตอนที่ ๗ กระจายกลยุทธ์ ตัวชี้วัดองค์กร/หน่วยงาน/บุคคล ขั้นตอนที่ ๘ เชื่อมโยง BSC กับระบบการบริหารงาน ขั้นตอนที่ ๙ ผู้นำองค์กรผลักดันการเปลี่ยนแปลงและสื่อสาร ขั้นตอนที่ ๑๐ เกิดสัมฤทธิผลตามพันธกิจและวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้

75 ระดับความรับผิดชอบการปฏิบัติเชิงกลยุทธ์
ระดับองค์กร(ทั้งโครงสร้าง) ระดับฝ่าย(แผนงานที่รับผิดชอบ) ระดับกลุ่มงาน/โครงการ (โครงการที่รับผิดชอบ) ระดับบุคคล (กิจกรรมที่รับผิดชอบ)

76 โครงการ แผนงาน โครงสร้างแผนกลยุทธ์สถานศึกษา กิจกรรมหลัก (ภายใต้
งปม.,นอกงปม. (ภายใต้แผนงานเดียวกัน) (ภายใต้ แผนกลยุทธ์ สถานศึกษา) กิจกรรมหลัก งปม.,นอกงปม. งปม.,นอกงปม. (ชุดกิจกรรม)

77 การจัดทำแผนปฏิบัติการ ของสถานศึกษา

78 แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี
ขั้นตอนที่ ๑ สร้างความเข้าใจ ขั้นตอนที่ ๒ สร้างกลุ่มแกนนำ ขั้นตอนที่ ๓ จัดทำรายละเอียดแผนงาน/โครงการ ขั้นตอนที่ ๔ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ขั้นตอนที่ ๕ จัดทำปฏิทินปฏิบัติการประจำปี ขั้นตอนที่ ๖ ผลิตเอกสารแผนปฏิบัติการประจำปี ขั้นตอนที่ ๗ การนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล ขั้นตอนที่ ๘ รายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ

79 บุคคลที่เกี่ยวข้อง สร้างความเข้าใจ ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง & ชุมชน โดย
ขั้นตอนที่ ๑ STAKEHOLDERS ผู้บริหาร บุคคลที่เกี่ยวข้อง ครู ผู้ปกครอง & ชุมชน โดย การประชุมสัมมนา การใช้เอกสารเผยแพร่ การนิเทศภายใน

80 กลุ่มแกนนำ พัฒนา สร้างกลุ่มแกนนำ คณะกรรมการบริหาร แผนงบประมาณ
ขั้นตอนที่ ๒ สร้างกลุ่มแกนนำ คณะกรรมการบริหาร แผนงบประมาณ สถานศึกษา กลุ่มแกนนำ อบรม พัฒนา สัมมนา ศึกษาดูงาน ผู้ให้การนิเทศ ศึกษาเอกสาร บทบาท กำกับ ติดตาม ประเมิน รายงานผล ทบทวน ปรับแก้

81 วิธีการ จัดทำรายละเอียดแผนงาน/โครงการ ขั้นตอนที่ ๓ ๑. วัตถุประสงค์
๒. ตัวชี้วัดความสำเร็จ แสดงความเชื่อมโยง ๓. แหล่งข้อมูล/วิธีการ ๔. เงื่อนไขความสำเร็จ วิธีการ คณะกรรมการบริหารฯทบทวน/ปรับ/ค่าใช้จ่ายจริง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารโครงการ ประชุมจัดทำรายละเอียดแผนงาน/โครงการ แบบ Log frame นำเสนอเพื่อขอความเห็นชอบ

82 โครงการและความสัมพันธ์กับแผนงาน
โครงการ = PROJECT สถานศึกษาหรือพื้นที่รับผิดชอบขององค์กร หน่วยงานในสถานศึกษา จุดมุ่งหมายของแผนงาน 5 PROGRAMME OBJECTVE การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ 4 PROJECT PURPOSE ผลงานที่ต้องการ 3 OUTPUTS OR RESULTS ชุดกิจกรรม 2 ACTIVITIES ทรัพยากรของสถานศึกษา 1 RESOURCES OR INPUTS START FINISH

83 (Conventional Method) (Logical framework method)
การเขียนโครงการ... แบบประเพณีนิยม (Conventional Method) แบบเหตุผลสัมพันธ์ (Logical framework method) หรือ Log Frame

84 ฐานคิด แบบประเพณีนิยม (Conventional Method)
องค์กรจะจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างไร ในการผลิตผลงานตามหน้าที่ของหน่วยงาน

85 หัวข้อการเขียนโครงการ.......
ชื่อโครงการ : PROJECT NAME หลักการและเหตุผล : BACKGROUND AND RATIONAL OF THE PROJECT วัตถุประสงค์โครงการ : PROJECT PURPOSE เป้าหมายของโครงการ : PROJECT OUTPUTS วิธีดำเนินการ : PROJECT ACTIVITIES ระยะเวลาดำเนินการ : PROJECT DURATION งบประมาณ : PROJECT BUDGET ผู้รับผิดชอบโครงการ : RESPONSIBLE AGENCY หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ORGANIZATIONAL ARRANGEMENT ผลที่คาดว่าจะได้รับ : EXPECTED BENEFITS FROM THE PROJECT

86 (Logical framework method)
แบบเหตุผลสัมพันธ์ (Logical framework method) หรือ Log Frame ใช้หลักตรรกวิทยาแสดงความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบ ระหว่าง... - วัตถุประสงค์ของโครงการ กับวัตถุประสงค์ของแผนงาน - ผลงาน กับวัตถุประสงค์โครงการ กระบวนการ และ ทรัพยากรที่นำมาใช้ในโครงการ - เงื่อนไขที่มีต่อความสำเร็จของโครงการ

87 กำหนดจุดหมายปลายทางที่ องค์กรต้องการให้เกิดผลใน ระดับโครงการและระดับ
แผนงาน ฐานคิดที่สำคัญ ถ้าต้องการให้เกิดผลเช่นนั้นจะต้อง ผลิตผลงานอะไรตามหน้าที่ และมี เงื่อนไขที่สำคัญอะไรที่จะนำไปสู่ ความสำเร็จ

88 ทำงานแบบโทษคนอื่นและรอคอยโชคชะตา เป็น ทำงานแบบหาทางเอาชนะอุปสรรคและ
Log Frame เป็นการเปลี่ยนกระบวนทัศน์จาก การเลือกสรรทรัพยากรก่อนกำหนดจุดหมายปลายทาง เป็น กำหนดจุดหมายปลายทางก่อนเลือกสรรทรัพยากร ทำงานแบบโทษคนอื่นและรอคอยโชคชะตา เป็น ทำงานแบบหาทางเอาชนะอุปสรรคและ รู้จักการแสวงหาโอกาสและการสร้างโอกาส

89 PPM: PROJECT PLANNING MATRIX
Narrative Summary : NS (สาระสำคัญโดยสรุป) Objectively Varifiable Indicators : OVI (ตัวชี้วัด; ตัวแปรเวลา ปริมาณ คุณภาพ สถานที่) Means of Varification : MOV (วิธีการ/แหล่งทรัพยากร) Important Assumption : IA (เงื่อนไขสำคัญ) จุดมุ่งหมายของ แผนงาน (NS4) ตัวชี้วัด/ผลกระทบ (OVI4) วิธีการ/ทรัพยากรระดับ แผนงาน (MOV4) เงื่อนไขความสำเร็จ ของแผนงาน (IA4) วัตถุประสงค์ของ โครงการ (NS3) ตัวชี้วัด/ผลลัพธ์ (OVI3) โครงการ (MOV3) ของโครงการ (IA3) จุดหมายผลผลิต (NS2) ตัวชี้วัด/ผลผลิต (OVI2) กิจกรรม (MOV2) ของผลผลิต (IA2) ชุดกิจกรรม/ ปัจจัย (NS1) ต้นทุน/หน่วยผลผลิต (OVI1) วิธีการ/ทรัพยากรระดับกระบวนการและปัจจัย (MOV1) ของกระบวนการและปัจจัย (IA1)

90 ทั้งระบบของการบริหาร
จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ขั้นตอนที่ ๔ ภาพรวมการดำเนินงาน ทั้งระบบของการบริหาร สถานศึกษาในแต่ละปี งบประมาณ สาระสำคัญ วิธีการ กำหนดรายละเอียดของกิจกรรมในแต่ละโครงการ กำหนดรายละเอียดของกิจกรรมในงานประจำ จัดทำร่างแผนปฏิบัติงานประจำปี นำเสนอเพื่อขอความเห็นชอบ

91 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามแผนกลยุทธ์สถานศึกษา
ผลลัพธ์ (เป้าหมาย ปี 2560) กิจกรรม หลัก ผลผลิต (เป้าหมายปี 2560) ระยะ เวลา งบประมาณ ผู้รับ ผิดชอบ แผนงานหลักที่ ๑ ๑.๑ ๑.๒ ฯลฯ ๒.๑ ๒.๒ นอก งปม. งปม.

92 รายละเอียดของกิจกรรม/ โครงการที่ใช้กำกับ ติดตาม
จัดทำปฏิทินปฏิบัติงานประจำปี ขั้นตอนที่ ๕ รายละเอียดของกิจกรรม/ โครงการที่ใช้กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ สาระสำคัญ องค์ประกอบ ชื่อแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก/กิจกรรมรอง ระยะเวลา งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ

93 ปฏิทินปฏิบัติการประจำเดือน...............................
วัน/เดือน/ปี ชื่อกิจกรรม โครงการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ เดือน/พ.ศ. วันที่ วันที่ ฯลฯ

94 เอกสารที่แสดงรายละเอียด ของการดำเนินงานตามแผน กลยุทธ์สถานศึกษาในแต่ละ
ผลิตเอกสารแผนปฏิบัติการประจำปี ขั้นตอนที่ ๖ เอกสารที่แสดงรายละเอียด ของการดำเนินงานตามแผน กลยุทธ์สถานศึกษาในแต่ละ ปีงบประมาณ สาระสำคัญ ทิศทางของสถานศึกษา (วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์) กลยุทธ์สถานศึกษา องค์ประกอบ ผลผลิตหลัก/ตัวชี้วัด รายได้ประจำปี โครงสร้างแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม แผนการดำเนินงาน

95 สาระสำคัญ วิธีการ นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล ขั้นตอนที่ ๗
การกระตุ้น การช่วยเหลือ สร้างแรงจูงใจให้ผู้ปฏิบัติ ดำเนินงานภารกิจให้สำเร็จ ตามแผนปฏิบัติการประจำปี สาระสำคัญ ประชุมปฏิบัติการเพื่อจัดทำแผนการนิเทศฯ จัดทำเครื่องมือการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล การรายงานผลการดำเนินงาน วิธีการ ดำเนินงานตามแผนการนิเทศฯ จัดทำรายงานผลการนิเทศ

96 การกำหนดแผนปฏิบัติงาน (Barchart & Flowchart)
กิจกรรม ผลผลิต ระยะเวลาดำเนินการ หน่วยงาน รับผิดชอบ กิจกรรมที่ ๑ หมวด ๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ กิจกรรมที่ ๒ งาน

97 ใช้แผนภูมิแสดงตารางเวลาสิ้นสุด (Milestone)
กิจกรรม.... วัน/เดือน/ปี กิจกรรมที่ ๑ ๑.๑ ...../...../..... ๑.๒ ๑.๓ ...../....../..... กิจกรรมที่ ๒ ๑.๑ ...../...../..... ๑.๒ ๑.๓ ...../....../..... กิจกรรมที่ ๓ ๑.๑ ...../...../..... ๑.๒ ๑.๓ ...../....../..... กิจกรรมที่ ๔ ๑.๑ ...../...../..... ๑.๒ ๑.๓ ...../....../.....

98 เครือข่ายเชื่อมโยงกิจกรรม (Flowchart )
Cash Flow D1 D2 A1 A2 A3 A4 A5 B1 B2 กิจกรรม ....จำนวนวัน A1 .....วัน B1 .....วัน C1 .....วัน D1 .....วัน A2 .....วัน B2 .....วัน .....วัน C2 .....วัน D2 A3 .....วัน C3 .....วัน A4 .....วัน A5 .....วัน

99 การประเมินการนำแผนกลยุทธ์ สู่การปฏิบัติ

100 รูปแบบและประเด็นการประเมิน
รูปแบบของการประเมินผลโครงการ การประเมินผลกระบวนการ (Process Evaluation) หรือการประเมินประสิทธิภาพ (Efficiency Evaluation) เน้นการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของโครงการโดยศึกษา กระบวนการจัดกิจกรรมต่างๆ ว่ามีประสิทธิภาพมากน้อย เพียงใดเพื่อให้เกิดผลงาน ACTIVITIES >>>>>>>>>>>>> OUTPUTS

101 รูปแบบของการประเมินผลโครงการ
๒. การประเมินผลที่ได้รับของโครงการ (Project Evaluation) หรือการประเมินประสิทธิผล (Effectiveness Evaluation) เน้นการวิเคราะห์ประสิทธิผลของโครงการ โดยศึกษา ว่าผลลัพธ์เมื่อสิ้นสุดโครงการสามารถนำไปสู่การบรรลุ วัตถุประสงค์ของโครงการได้หรือไม่เพียงใด OUTPUTS >>>>>>> PROJECT PURPOSE

102 รูปแบบของการประเมินผลโครงการ
๓. การประเมินผลกระทบของโครงการ (Impact Evaluation) เน้นการวิเคราะห์ผลที่ได้รับต่อเนื่องจากประสิทธิผลของ โครงการ โดยศึกษาว่าผลที่ได้รับจากการบรรลุวัตถุประสงค์ โครงการสามารถนำไปใช้เป็นส่วนหนึ่งที่จะไปช่วยสนับสนุน การบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือไม่ เพียงใด >>>>> PROJECT PURPOSE PROGRAMME OBJECTIVES

103 ประเด็นของการประเมินผลโครงการ
การประเมินผลกระบวนการหรือการประเมินประสิทธิภาพ ๑. ประเมินผลการดำเนินการกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนว่าช่วยส่งเสริมหรือมีอุปสรรคในการผลิตผลงานของโครงการในระยะเวลากำหนด ๒. ประเมินผลการจัดหาทรัพยากรของโครงการในแต่ละ ขั้นตอนตามระยะเวลาที่กำหนด ๓. วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของโครงการที่มี ผลต่อกระบวนการดำเนินการของกิจกรรมทั้งเชิงบวกและเชิงลบ ๔. เปรียบเทียบมูลค่าของผลงานที่ได้รับกับค่าใช้จ่ายโดยวิเคราะห์ เชิงปริมาณ ๕. สำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น ผู้ปกครอง นักเรียน หรือองค์กรต่างๆที่ช่วยสนับสนุนการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

104 ประเด็นของการประเมินผลโครงการ
การประเมินประสิทธิผลของโครงการ ประเมินผลความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการตามตัวชี้วัดที่ได้กำหนดไว้ ๒. ประเมินผลโดยการวิเคราะห์ต้นทุนของประสิทธิผล (Cost – Effectiveness) ของโครงการ ๓. วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของ โครงการที่มีผลต่อความสำเร็จของโครงการทั้งเชิงบวก และเชิงลบ

105 ประเด็นของการประเมินผลโครงการ
การประเมินผลกระทบ ประเมินผลความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการและประเมินผลกระทบของโครงการที่มีต่อแผนงานที่ให้ผลตอบแทนแก่แผนงานตามตัวชี้วัดที่ได้กำหนดไว้ ๒. วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของ โครงการที่มีต่อความสำเร็จของแผนงานและผลสำเร็จ ของโครงการภายใต้แผนงานทั้งเชิงบวกและเชิงลบ

106 ตามแผนปฏิบัติการประจำปี
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ ขั้นตอนที่ ๘ การรายงานผลการ ดำเนินงานของโครงการ ตามแผนปฏิบัติการประจำปี สาระสำคัญ รายงานผลการจัดกิจกรรม ประเมินผลการดำเนินงานโครงการ วิธีการ จัดทำเอกสารรายงานผลการดำเนินงาน นำเสนอผู้รับผิดชอบพิจารณา

107 แบบฟอร์มรายงานความก้าวหน้าของโครงการ ถึงวันที่...................................
ชื่อโครงการ หน่วยงานรับผิดชอบ ภายใต้แผนงาน ระยะเวลาเริ่มต้น ระยะเวลาสิ้นสุด กิจกรรม ปริมาณงาน ณ วันที่รายงาน ปัญหาและอุปสรรค 1. แผน.. ผล.... 100% ไม่มีปัญหา 2. 40% 25% ++++++ ----- คณะกรรมการฯ ท้วงติงเรื่องการ เบิกจ่ายเงิน 3. -

108 แบบฟอร์มรายงานทางการเงิน รายงานถึงวันที่ ชื่อโครงการ หน่วยงานรับผิดชอบ ภายใต้แผนงาน ระยะเวลาเริ่มต้น ระยะเวลาสิ้นสุด กิจกรรม ณ วันที่รายงาน เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าใช้สอย วัสดุ ครุภัณฑ์ อื่นๆ ๑. แผน ผล ๒. ๓. …. รวม คิดเป็นร้อยละ ของงบประมาณ ทั้งหมด …% ………%


ดาวน์โหลด ppt หมวด ๒ กลยุทธ์.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google