ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยΝάρκισσος Πανκρατιος Βουρδουμπάς ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
นพ.ไพศาล ธัญญาวินิชกุล สาธารณสุขนิเทศ กระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการ “มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต พิชิตคุณภาพเด็กล้านนา รัฐประชาร่วมสร้าง” วันที่ ธันวาคม 2560 ณ โรงแรมดิเอ็มเพลส จังหวัดเชียงใหม่
2
มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต (Child Nutrition Growth and Development)
หลักการและเหตุผล “โอกาสทอง” ใน 1,000 วัน คือการดูแลทารกในครรภ์ตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนถึงคลอด(270วัน) เด็กอายุ 0-6 เดือน (180 วัน) 6 เดือนจนถึงอายุ 2 ปี (550วัน) ช่วงเวลาทองของการกำหนดศักยภาพของมนุษย์ ส่งผลต่ออนาคตของสังคม ประเทศ สมองพัฒนารวดเร็วที่สุด โดยเฉพาะสมองส่วนการเรียนรู้ ความจำ นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล ศ.ดร.เจมส์ เจ เฮคแมน “การลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าให้ผลตอบแทนแก่สังคมดีที่สุดในระยะยาว โดยคืนผลตอบแทนกลับคืนมาในอนาคตมากถึง 7 เท่า” เปิดตัวโครงการในการประชุม ครม. สัญจร ที่จังหวัดเชียงใหม่ เดือนมกราคม 2561 วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กในช่วง1,000 วันแรกของชีวิตให้มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ เต็มตามศักยภาพ เพื่อสร้างความมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนตามแนวทางประชารัฐ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรีตั้งครรภ์ และเด็ก 0-2 ปี เพื่อบูรณาการการทำงานของกลไกทุกระดับที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองและพัฒนาประชาชนกลุ่มสตรีตั้งครรภ์และเด็ก0-2 ปี ให้สามารถเชื่อมโยงในระดับนโยบาย กำกับดูแลและติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกัน เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4
คุณภาพชีวิตที่พึงประสงค์เพื่อส่งต่อในแต่ละกลุ่มวัย
วัยรุ่น วัยเรียน -สูงดีสมส่วน -ไม่เกิดการตั้งครรภ์ซ้ำ วัยเจริญพันธุ์- ตั้งครรภ์ 1.การตั้งครรภ์และการเกิดคุณภาพ น้ำหนักเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ ไม่มีภาวะโลหิตจาง ไม่ขาดไอโอดีน 2.ทัศนคติที่ดีในการสร้างครอบครัว 3.ตั้งครรภ์เมื่อพร้อมและวางแผนก่อนมีบุตร สูงดีสมส่วน ทักษะชีวิตดี 3 – 5 ปี วัยทำงาน - สูงดีสมส่วน - พัฒนาการสมวัย - ทักษะชีวิตดี - BMI ปกติ 1. เกิดและเติบโตอย่างมีคุณภาพ น้ำหนักแรกเกิด 2,500 – 3,900 กรัม พัฒนาการสมวัย เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 2. ครอบครัวอบอุ่น - พ่อแม่อยู่กับลูก/พ่อแม่เลี้ยงลูกด้วยตนเองอย่างน้อย 6 เดือน 3. สิ่งแวดล้อมดี - มุมนมแม่ในสถานประกอบการ 1. เติบโตอย่างมีคุณภาพ - พัฒนาการสมวัย - พฤติกรรมที่พึงประสงค์ วินัยเชิงบวก - สูงดีสมส่วน - ฟันไม่ผุ - เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการดูแลและส่งต่อ - การเข้าถึงบริการและผู้เชี่ยวชาญ 2.ครอบครัวอบอุ่น 3.สิ่งแวดล้อมดี แรกเกิด – 6 เดือน 6 เดือน – 2 ปี วัยสูงอายุ -อายุยืนยาว HEAL = 75 ปี -พร้อมสุขภาพยอดเยี่ยม
5
กรอบแนวคิด โครงการมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต ปี 2561 กลไก
เป้าหมาย เด็กล้านนา เก่ง ดี มีสุข (LANNA SMART KID) “เด็กในชุมชนทุกคนคือลูกหลาน บูรณาการความก้าวหน้า รัฐประชาสาธารณสุข” สถานการณ์แม่และเด็ก ความร่วมมือภาคีเครือข่าย พื้นที่สูง ป่าเขา ความแตกต่างวิถีชีวิต in put พัฒนาการสมวัย (85%) สูงดีสมส่วน (54%) IQ เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100 เด็กอายุ 18 เดือนฟันไม่ผุ (52%) Out come ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ไม่เกินร้อยละ 18 ทารกคลอดก่อนกำหนดลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 10 จังหวัด /พชอ.มีแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยระดับ อำเภอ ตำบลร้อยละ 70 จังหวัด /พชอ. มีข้อมูลสถานการณ์ด้านสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยที่มีความถูกต้อง ร้อยละ 100 พชอ.มีการรายงานความก้าวหน้าการดำเนินมหัศจรรย์ 1000 วัน ให้จังหวัด ทุกไตรมาส ศพด./สถานรับเลี้ยงเด็กเอกชนผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็ก แห่งชาติ ร้อยละ 60 พ่อแม่ผู้ปกครองมีการรับรู้เข้าใจและมีทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (health literacy) สำรวจ Out put Process เตรียมพร้อมก่อนตั้งครรภ์ ANC, LR,WCC, ครอบครัวคุณภาพ สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ บูรณาการโภชนาการ การเล่น การนอน สุขภาพช่องปาก สุขาภิบาลอาหารและน้ำ การอ่านเล่านิทาน ฝึกวินัย ฝึกทักษะชีวิต แผนพัฒนาคุณภาพชีวิต อำเภอ MCH Board อำเภอ คปสอ พชอ ครอบครัว อสม อสพ FCT อาสากาชาด แม่บ้าน กลไก จังหวัด MCH Board จังหวัด คณะกรรมการคุ้มครองเด็กระดับจังหวัด คณะกรรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ระดับ จังหวัด(4 กระทรวง) เป้าหมายของโครงการฯ คือ พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กล้านนา เป็นเด็กเก่ง ดี มีความสุข (lanna smart kid) ภายใต้หลักการร่วม คือ เด็กในชุมชนทุกคนคือลูกหลาน บูรณาการความก้าวหน้า รัฐประชาสาธารณสุข โดยวัด out come 4 ด้านคือ พัฒนาการสมวัย (85%) สูงดีสมส่วน (54%) IQ เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100 เด็กอายุ 18 เดือนฟันไม่ผุ (52%) กำหนดกลไกขับเคลื่อนในแต่ละระดับ ตั้งแต่ระดับเขต ลงไปจนถึง ตำบล ครอบครัว ที่เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง โดยจุดเชื่อมต่อสำคัญ คือ ระดับอำเภอ จะใช้กลไก mchb ที่มีในทุกอำเภอ ทำงานร่วมกับ คปสอ และ พชอ เขตสุขภาพ คณะกรรมการเขตสุขภาพที่ 1 MCH Board เขต CLUSTER MCH CLUSTER DHS ตำบล,หมู่บ้าน รพ.สต. อปท มท พม สธ ศธ กษ สปสช ภาคประชาชน
6
ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
แนวทางปฏิบัติ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กระทรวงศึกษาธิการ หลักสูตรเพศวิถีศึกษา ทักษะการปฏิเสธ จัดการศึกษานอกระบบ พัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในสังกัด ศธ. ให้ได้มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ครอบครัวอบอุ่น เงินอุดหนุนเพื่อเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด – 3 ปี 600 บาท/เดือน พัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุในการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย ดูแลเด็กกลุ่ม social risk LANNA SMART KIDS กระทรวงสาธารณสุข บริการ ANC LR WCC คุณภาพ Screening pregnancy risk Individual care plan จ่ายยาเม็ดไอโอดีน เหล็ก โฟลิก แคลเซียม จ่ายยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก โรงเรียนพ่อแม่ พ่ออุ๊ยแม่อุ๊ย กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน จัดบ้านพักรอคลอด ผดุงครรภ์โบราณ กระทรวงมหาดไทย สนับสนุนการจัดตั้งมุมนมแม่ ในสถานประกอบการ ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน นโยบายสาธารณะท้องถิ่น/เทศบัญญัติ จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาเด็ก(ลานลูกเล่นตามรอยพระยุคลบาท พื้นที่สร้างสรรค์ พื้นที่เรียนรู้ สวนสุขภาพ และลานกระโดดโลดเต้น) ยกระดับบริการ เตรียมก่อนคลอด ด้วยจิตประภัสสร Prevention preterm birth Early bonding นานอย่างน้อย 1 ชม. จัดนมและไข่ ให้แม่หลังคลอดในโรงพยาบาล จัดมุมนมแม่ใน รพ. breast feeding corner สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ Advocate คืนข้อมูลภาวะโภชนาการ พัฒนาการ เด็กให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แนวทางปฏิบัติ จะเป็นการดำเนินงานของแต่ละหน่วยงานตาม function ที่แตกต่างกัน แต่มีจุดหมายเดียวกัน คือ การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กล้านนา เป็น lanna smart kid ได้จากการประชุมร่วมกันของเครือข่าย สธ อปท พม ศธ และถอดบทเรียนจากพื้นที่ อ.พญาเม็งราย จ.เชียงราย เพื่อเป็นกรอบให้แต่ละพื้นที่ ไปปรับใช้และดำเนินการต่อ อสม/อสพ / FCT/อาสากาชาด ครอบครัว/แม่บ้าน ดูแลหญิงตั้งครรภ์ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่และอาหารตามวัย ตามวิถีล้านนา แปรงฟัน เล่านิทาน อ่านหนังสือ เล่นกับลูก สร้างวินัยเชิงบวก ใช้ DSPM ในการส่งเสริมพัฒนาการ จัดสภาพแวดล้อมที่สะอาดและปลอดภัย ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ค้นหาครอบครัวเสี่ยง ส่งต่อข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เยี่ยมบ้าน หญิงหลังคลอด และเด็ก 0-6 เดือน
7
การสนับสนุนกลไก พชอ กระทรวงสาธารณสุข (SP ปฐมภูมิ)
(ร่าง)ภารกิจและแนวทางการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กระทรวงสาธารณสุข (SP ปฐมภูมิ) Community base activities Advocate หรือคืนข้อมูลภาวะโภชนาการ การเจริญเติบโตและพัฒนาการเด็ก ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยระดับอำเภอ ตำบล ร่วมกับ พชอ. พัฒนาทีมหมอครอบครัวมาดูแลประชาชนให้เกิด Self-Care และการเข้าถึงบริการ ตามหลักการ UCARE เสริมพลังผู้นำระบบสุขภาพอำเภอ District Health Management Learning (DHML) ร่วมเรียนรู้ร่วมปฏิบัติ PILA (Participatory Interactive Learning through Action) เรียนในสิ่งที่ทำ ทำในสิ่งที่เรียน CBL (Context Based Learning)
8
อสม / อสพ/FCT/อาสากาชาด
การสนับสนุนกลไก พชอ (ร่าง)ภารกิจและแนวทางการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อสม / อสพ/FCT/อาสากาชาด ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ในชุมชน แนะนำหรือพามาฝากครรภ์ทันที และมาฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง ค้นหาและรวบรวมปัญหาในครอบครัวที่อาจส่งผลกระทบต่อเด็ก ทั้ง ด้านกาย จิต สังคม และส่งต่อข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ติดตามเยี่ยมบ้าน หญิงหลังคลอด และเด็ก 0-6 เดือน
9
พื้นที่เป้าหมาย ดำเนินการ ทุกอำเภอ จำนวน 103 อำเภอ
พัฒนาให้เกิดตำบลต้นแบบ 1ตำบล ต่ออำเภอ จำนวน 103 ตำบล ตำบลต้นแบบ
10
cluster MCH ,DHS งานความก้าวหน้าต่อ คกก เขต ทุก 2 เดือน
การกำกับติดตาม ระดับเขต cluster MCH ,DHS งานความก้าวหน้าต่อ คกก เขต ทุก 2 เดือน ระดับจังหวัด MCHB DHS ระดับจังหวัด เยี่ยมเสริมพลัง ไตรมาสละ 1 ครั้ง คณะกรรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ระดับจังหวัด รายงานความก้าวหน้าปีละ 2 ครั้ง ระดับอำเภอ คปสอ ติดตามทุก 1 เดือน มีรายงานผลการติดตามใน พชอ
11
Bright spot พะเยา Bright spot ลำปาง -ภาคีเครือข่ายอำเภอเถินขับเคลื่อน
“เด็กเถิน เก่ง ดี มีพัฒนาการสมวัยได้สองภาษา” Bright spot แม่ฮ่องสอน -ความเข้มแข็งเครือข่ายในการทำงานเชิงรุก ค้นหา/คัดกรองกลุ่มเสี่ยง -พัฒนาการใช้ GPS /network ในสสช.และพื้นที่เข้าถึงยาก -การจัดทำมาตรการคัดกรอง มี FLOW คัดกรอง ส่งต่อกลุ่มเสี่ยง ที่ชัดเจน (การกำหนดผู้รับผิดชอบในชุมชน การจัดพาหนะตามบริบทพื้นที่) -การอบรม ผดุงครรภ์โบราณ ในการทำคลอด/ห้องรอคลอด/ห้องคลอด ในรพสต.ที่ห่างไกล (สบเมย) -การจัดทำCare plan ในการดูแลสตรีและเด็กปฐมวัย -การผลิตเครื่องมือ/สื่อในการคัดกรองให้เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย(ภาษากระเหรี่ยง) -กองทุนโภชนาการในทุกอำเภอ การจัดเมนูโภชนาการ สำหรับเด็กปฐมวัย ในศดล. Bright spot แพร่ -ต้นแบบตำบล บูรณาการ ตำบลเวียงทอง -โรงเรียนพ่อแม่ต้นแบบ รพสต. เวียงทอง อ.สูงเม่น - ชมรมจิตอาสาแม่และเด็ก /แม่นมอาสา Bright spot เชียงราย -การต่อยอดสร้างเครือข่ายพัฒนาสติปัญญาเด็กด้วยกระบวนการพัฒนาสมองส่วนหน้า EF จากพญาเม็งรายสู่จังหวัดเชียงราย Bright spot เชียงใหม่ -ตำบลบูรณาการส่งเสริมเด็ก0-5 ปี สูงดี สมส่วน(หนองควาย หนองตอง และ ออนใต้) -การมีส่วนร่วมภาคีเครือข่ายในการติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยง(กาชาด/กิ่งกาชาด) Bright spot ลำพูน -การพัฒนาระบบข้อมูล -การดำเนินงาน PCC ตำบลต้นแบบพัฒนาเด็กปฐมวัย ตำบลมะเขือแจ้ อ.เมือง จ.ลำพูน (3 GEN 3G) รพ.สต.ห้วยยาบ อ.บ้านธิ ๐ ความร่วมมือของภาครัฐ ประชาชน ในพื้นที่ บูรณาการดูแลสุขภาพทุกกลุ่มวัย เกิดนวัตกรรมชุมชน เช่น ศูนย์เรียนรู้นมแม่และพัฒนาเด็กปฐมวัย ถุงเก็บน้ำนมแม่ ที่นอนจากถุงน้ำยาล้างไต Bright spot น่าน -การพัฒนาสื่อนวัตกรรม “1:1=19” เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย รพสต. บ้านดงป่าสัก ต.ฝายแก้ว อ.ภูเพียง จ.น่าน -การขับเคลื่อนเชิงรุกโดย FCT จัดบริการโรงเรียนพ่อแม่ในรพช/รพสต. ที่ต.บ่อแก้วอ. นาหมื่น ต.เปือ อ.เชียงกลางและรพ.สต.ศิลาแลง อำเภอปัว Bright spot พะเยา -การขับเคลื่อนตำบลพัฒนาการดีเริ่มที่นมแม่ และตำบลส่งเสริมเด็ก 0 – 5 ปี สูงดีสมส่วน - การจัดประชุมร่วมระหว่างคณะอนุกรรมการ พัฒนาเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดพะเยา “โครงการบูรณาการกิจกรรมเด็กอนุบาลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยจังหวัดพะเยา”
12
สร้างเด็กคิดเป็น ทำเป็น เรียนรู้เป็น แก้ปัญหาเป็น อยู่กับคนอื่นเป็น และมีความสุขเป็น
Bright spot อ.พญาเม็งราย เชียงราย ปี 2547 เริ่มจาก mchb ปัญหาแม่และเด็กไม่ได้อยู่ในระบบบริการสาธารณสุขเท่านั้น โรงเรียนพ่อแม่ ชมรมนมแม่ เครือข่ายพัฒนาเด็ก ครู ผู้ปกครอง ชุมชน วัด สาธารณสุข อปท. เอกชน จุดเริ่มปี 2547 เริ่มจากทีม MCH BORD และจนท.ที่เกี่ยวข้อง ร่วมหาแนวทางแก้ไขปัญหา โดย ปรับมุมมอง ปัญหาแม่และเด็กไม่ได้อยู่ในระบบบริการสาธารณสุขเท่านั้น ... เริ่มจาก รพ. พัฒนา ANC WCC คุณภาพ เริ่มแรกใช้จุดโรงเรียนพ่อแม่ เชื่อมโยงกับชมรมนมแม่ในชุมชน ให้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม รร.พ่อแม่ใน รพ. - จนเกิดการขยายภาคีเครือข่าย เพื่อพัฒนาเด็กออกไปเรื่อย ๆ ทั้งครู ผู้ปกครอง ชุมชน วัด สาธารณสุข อปท. เอกชน ภายใต้ คกก ระบบสุขภาพอำเภอ DHS – สาธารณสุข มีบทบาทหลัก ในการสะท้อนข้อมูล และจัดเวที .คืนข้อมูล ตั้งโจทย์ร่วม แก้ปัญหาร่วม” – มีการจัดเวทีในชุมชนบ่อยมาก เช่น เวทีผู้ปกครองเด็ก แรกเกิด - 2 ปี ในชุมชน เพื่อสร้างความรับรู้ร่วม และหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน – เวทีประชาคม เกิดนโยบายสาธารณด้านส่งเสริมคุณภาพชีวิตเด็ก – การพัฒนาคู่มือ ส่งต่อเด็กรายบุคคล จาก รพ. ถึง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และ ขยายไปจนถึง รร.ประถมศึกษา และเชื่อมโยงการทำงานกัน อย่างเป็นระบบ - ขยายผลไปจนถึงการพัฒนาแนวทางการช่วยเหลือเด็กกลุ่มพิเศษในสถานศึกษา - การใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน บุคคล(พ่ออุ้ยแม่อุ้ย) ของเล่นพื้นบ้าน มาประดิษฐ์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็ก – ดึงความร่วมมือกับเครือข่าย เอกชน สถาบัน RLG(รักลูก เลิร์นนิ่ง กรุ๊ป) สสส ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ด้วย EF มีการอบรม EF ให้กับพยาบาลพัฒนาการเด็ก รพ. รพสต. ทุกแห่ง ครูผู้ดูแลเด็ก - ขยายเครือข่ายพัฒนา EF สู่ระดับจังหวัด ครอบคลุม 18 อำเภอของ จ.เชียงราย โดยเลือกพื้นที่นำร่องอำเภอละ 1 ตำบล (10-15 คนต่ออำเภอ ) ผู้เข้ารับการอบรมประมาณ 300 คน โดยทีมวิทยากร จาก RLG สิ่งที่ได้จากกระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก อ.พญาเม็งราย คือ 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน ภาคีเครือข่าย 2. ผลของการพัฒนาคุณภาพเด็ก(IQ,EQ,ต้นทุนชีวิต) 3. ระบบการคัดกรอง ส่งต่อ 4. ขยายผลกระบวนการไปสู่ประเด็นสุขภาพด้านอื่นๆ รวมถึงขยายการพัฒนาเด็กไปยังเครือข่ายอื่นๆ 5. ยกระดับทีมงานขึ้นเป็นวิทยากร ในระดับอำเภอ จังหวัด ประเทศ 6. ขยายเครือข่ายการทำงานไปยังหน่วยงานอื่นทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เช่น โรงเรียน มหาวิทยาลัย ปปส - เวทีผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ในชุมชน คืนข้อมูล ตั้งโจทย์ร่วม แก้ปัญหาร่วม นโยบายสาธารณ ถอดบทเรียน ต่อยอด
13
ขยายผลสู่ ระบบดูแลช่วยเหลือ เด็กกลุ่มพิเศษ
สร้างสื่อกระตุ้นพัฒนาการเด็กจากภูมิปัญญาพื้นบ้าน คู่มือส่งต่อเด็กรายบุคคล จากโรงพยาบาล สู่ศูนย์เด็กเล็ก จากศูนย์เด็กเล็ก สู่โรงเรียนประถมศึกษา ทำให้ครูรู้ประวัติเด็กรายบุคคลเร็วขึ้น
15
ปฏิทินการขับเคลื่อนโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน เขตสุขภาพที่ 1
จัดทำโครงการฯร่างและปรับกรอบแนวคิดฯ ถอดบทเรียนเพื่อหาแนวทางดำเนินงาน ในพื้นที่เขต 1 ”การประชุมเชิงปฏิบัติการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิตพิชิตคุณภาพเด็กล้านนา รัฐประชาร่วมสร้าง” พื้นที่ดำเนินงานโครงการฯ เยี่ยมนิเทศและติดตามโครงการฯ ผตร. มอบนโยบาย ต.ค.60 จัดตั้งคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนและจัดทำแนวทางการดำเนินงาน ม.ค.- มิ.ย.61 พ.ค.- มิ.ย.61 11 ต.ค. 60 พ.ย.60 Kick off ครม.สัญจร ประชุมชี้แจงนโยบาย mchb นำเสนอแนวทางฯ แก่ ผบห คกก เขตสุขภาพที่ 1 ธ.ค. - มี.ค.61 1980 ม.ค.61 2019 20 ต.ค. 60 พ.ย.60 Today ตุลาคม 2560 พ.ย.2560 ธ.ค.2560 ก.ย.2561 ม.ค. 2561 ก.พ. 2561 ส.ค.2561 ก.ค.-ส.ค. 61 ต.ค.60 ถอดบทเรียนโครงการฯ ร่างโครงการ ก.ย. 61 สรุปผลโครงการฯ 8
16
THANK YOU สร้างอนาคตประเทศไทย ด้วยเด็กไทยคุณภาพ
สร้างอนาคตของชาติ ด้วยเด็กฉลาดสมวัย THANK YOU
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.