งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประเภทของสุ่มตัวอย่าง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประเภทของสุ่มตัวอย่าง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประเภทของสุ่มตัวอย่าง
แบบอาศัยความไม่น่าจะเป็น 5 ประเภท

2 โดยอาศัยหลักเครือข่าย
3 1 การสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วน หรือโควต้า การสุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง 2 (Purposive Sampling) (Quota Sampling) การสุ่มตัวอย่าง แบบอาศัยความสะดวก หรือความบังเอิญ 4 (Convenience/Accidental Sampling) 5 การสุ่มตัวอย่าง โดยอาศัยหลักเครือข่าย หรือแบบสโนว์บอล การสุ่มตัวอย่าง แบบอาสาสมัคร (Network/Snow Ball or Chain Sampling) (Volunteer Sampling)

3 1 การสุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง
Purposive Sampling คือ วิธีการสุ่มตัวอย่างที่ผู้วิจัยใช้วิจารณญาณของตนเองเลือกกลุ่มประชากรที่ทางตัวผู้วิจัยคิดว่ากลุ่มคนกลุ่มนั้นๆ น่าจะเป็นตัวแทนที่ดี และเป็นตัวแทนของประชากรทั้งหมดได้ ดังนั้น...ในการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง กลุ่มประชากรใด จะถูกเลือกหรือไม่ ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของผู้วิจัยนั่นเอง

4 ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
1 การสุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 1 ผู้วิจัยเลือกโรงเรียนประจำจังหวัดขึ้นมาเป็นกลุ่มตัวอย่างของการศึกษา โดยคิดว่า...โรงเรียนประจำจังหวัดน่าจะเป็นตัวแทนของโรงเรียนทั้งหมด ในจังหวัดหนึ่ง 2 ผู้วิจัยเลือกเพศหญิงที่ทำงานในธนาคารอายุระหว่าง 30 ถึง 40 ปีมาเป็น กลุ่มตัวอย่าง โดยคิดว่า...เพศหญิงที่ทำงานในธนาคารและอายุ ปี เป็นตัวแทนของพนักงานธนาคารหญิงทั้งหมด

5 ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
1 การสุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 3 ผู้วิจัยเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนอยู่ในโรงเรียน สังกัดกรมสามัญศึกษาที่ได้เกรดเฉลี่ย 3.50 ขึ้นไป และมีความ สามารถพิเศษทางดนตรี โดยคิดว่า...กลุ่มสุ่มตัวอย่างนี้สามารถ เป็นตัวแทนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นทั้งหมดที่เรียน อยู่ในโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา

6 ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
1 การสุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 4 บริษัทผลิตยาต้องการศึกษาผลจากการไช้ยาตัวใหม่จากผู้ป่วยที่มี ปัญหาสุขภาพในด้านต่างๆ เช่น โรคข้อต่ออักเสบ โรคโลหิตจาง เพื่อ ให้ได้ข้อมูลตามต้องการผู้วิจัยต้องติดต่อบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพเหล่านี้

7 1 1 1 การสุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง ข้อดีๆ การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
ทำให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่ตรงกับความต้องการหรือสอดคล้องกับ ประเด็นของการวิจัย ข้อจำกัด&ข้อเสียการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 1 ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นกรณีที่ผู้วิจัยไม่มีความคุ้นเคยกับประชากรทั้งหมด ทำให้การเลือกมีอคติหรือลำเอียงได้

8 Convenience/Accidental
2 การสุ่มตัวอย่าง แบบบังเอิญ หรือตามสะดวก คือ...การที่ผู้วิจัยได้คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง โดยยึดหลักความสะดวกเป็นสำคัญ เป็น วิธีการเลือกตัวอย่างที่ยึดเอาความสะดวก Convenience/Accidental Sampling สบายและความปลอดภัยของผู้วิจัยเป็นสำคัญ ซึ่งการ สุ่มไม่มีการกำหนดกฎเกณฑ์แน่นอน เป็นการสุ่มตัวอย่างโดย วิธีง่ายๆ เป็นใครก็ได้ที่ให้ความร่วมมือ คือ พบตัวก็เลือก สัมภาษณ์หรือศึกษาเลย เห็นบ่อยๆ ก็เช่น สัมภาษณ์บุคคล ตามท้องถนนของผู้สื่อข่าวทีวี

9 ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่าง แบบอาศัยความสะดวกหรือความบังเอิญ
2 การสุ่มตัวอย่าง แบบบังเอิญ หรือตามสะดวก ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่าง แบบอาศัยความสะดวกหรือความบังเอิญ 1 ผู้วิจัยสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับวิกฤตการณ์น้ำท่วมใหญ่ 2 ผู้วิจัยสัมภาษณ์บุคคลตามป้ายรถเมล์ 200 คนแรกที่ผู้วิจัยพบ 3 ผู้วิจัยสัมภาษณ์บุคคลที่ที่ใช้บริการของธนาคารเกี่ยวกับความสนใจ ในการทำบัตรเครดิต

10 ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่าง แบบอาศัยความสะดวกหรือความบังเอิญ
2 การสุ่มตัวอย่าง แบบอังเอิญ หรือตามสะดวก ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่าง แบบอาศัยความสะดวกหรือความบังเอิญ 4 สำรวจความคิดเห็นในการให้บริการอาหารกลางวัน ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง (ผู้วิจัยอาจยืนตรงประตูทาง เข้าโรงอาหารแล้ว คอยสัมภาษณ์นักศึกษา 50 คน ที่เดินผ่านเข้ามา)

11 ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่าง แบบอาศัยความสะดวกหรือความบังเอิญ
2 การสุ่มตัวอย่าง แบบอังเอิญ หรือตามสะดวก ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่าง แบบอาศัยความสะดวกหรือความบังเอิญ 5 ผู้บริหารทางด้านบัญชีได้ติดตั้งบัญชีแนวใหม่ ซึ่งจะทำให้เป็นประโยชน์ ต่อเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์มากขึ้น ก่อนการเปลี่ยนแปลงจะเริ่มขึ้น ผู้บริหารต้องการทราบว่าเสมียนบัญชีมีปฏิกิริยาต่อระบบใหม่อย่างไร โดยผู้บริหารต้องแสดงว่าไม่ได้มีการสงสัยในตัวเสมียนเกี่ยวกับการยอมรับระบบ ใหม่โดยผู้บริหารอาจจะพูดคุยโดยบังเอิญกับพนักงานบัญชี 5 คนแรกที่เดินเข้า มาในสำนักงานและจากการสอบถามพนักงานโดยตรง ทำให้ผู้บริหารสามารถประเมินปฏิกิริยาการตอบรับ ระบบใหม่ได้

12 2 1 1 การสุ่มตัวอย่าง แบบอังเอิญ หรือตามสะดวก
ข้อดีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญหรือตามสะดวก 1 มีความสะดวกสบายในการรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัด&ข้อเสียการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญหรือตามสะดวก 1 ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างอาจไม่สามารถนำมาใช้ได้ทั้งหมด

13 3 การสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วน หรือโควต้า
Quota Sampling คือ...วิธีการเลือกตัวอย่างที่ผู้เลือกได้กำหนดสัดส่วน และจำนวนตัวอย่างที่มีคุณสมบัติตามที่ต้องการแต่ละกลุ่ม ไว้ล่วงหน้า โดยใช้ระบบโควต้าเป็นเกณฑ์ในการเลือก เช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ ระดับการศึกษา ฯลฯ เป็นวิธีการที่ผู้สัมภาษณ์เป็นผู้เลือก ตัวอย่างในสนามโดยใช้คุณสมบัติตามที่ได้กำหนดไว้ก่อนแล้ว จำนวนโควต้ามักจะได้จากข้อมูลที่มีอยู่แล้ว

14 ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วนหรือโควต้า
3 การสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วน หรือโควต้า ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วนหรือโควต้า 1 กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายและเพศหญิงในสัดส่วนที่เท่ากัน 2 ข้อมูลจากการสำรวจสำมะโนประชากรในเขตต่างๆ 3 ผู้วิจัยกำหนดให้มีกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหาร 30 คน แพทย์ 100 คน เจ้าหน้าที่ 300 คน

15 ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วนหรือโควต้า
3 การสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วน หรือโควต้า ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วนหรือโควต้า 4 ผู้วิจัยต้องการศึกษาเจตคติต่อมหาวิทยาลัย จึงกำหนดสัดส่วนกลุ่มตัวอย่าง 400 คน แบ่งเป็นนักศึกษาปริญญาตรี 60% ปริญญาโท 30% และปริญญาเอก 10%

16 ข้อดีของการสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วนหรือโควต้า
3 การสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วน หรือโควต้า ข้อดีของการสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วนหรือโควต้า 1 ทำให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่มีคุณสมบัติตรงตามต้องการและ จำนวนที่เหมาะสม

17 ข้อจำกัด&ข้อเสียของการสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วนหรือโควต้า
3 การสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วน หรือโควต้า ข้อจำกัด&ข้อเสียของการสุ่มตัวอย่าง แบบจัดสัดส่วนหรือโควต้า 1 ข้อมูลที่นำมาใช้ในการกำหนดโควต้ามักจะจำกัด จนบางที อาจจะไม่เกี่ยวข้องหรือไม่มีความสำคัญสำหรับการวิจัยก็ได้ 2 ไม่สามารถรู้ได้ว่า...ผู้ที่ถูกเลือกมาเป็นตัวแทนของประชากรนั้น จริงหรือไม่ 3 มีความยุ่งยากในการเลือกเนื่องจากต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับคุณลักษณะของประชากรเป็นอย่างดีก่อนการสุ่มตัวอย่าง **การสุ่มตัวอย่างแบบจัดสัดส่วนหรือโควต้าควรจะใช้เมื่อผู้วิจัยต้องการความสะดวกในการเก็บข้อมูลแต่ผลจากการวิจัยไม่สามารถสรุปอ้างอิงไปยังประชากรทั้งหมดได้

18 4 การสุ่มตัวอย่าง แบบเครือข่าย หรือแบบสโนว์บอล
Network/Snow Ball or Chain Sampling คือ...การเลือกสุ่มตัวอย่างในลักษณะแบบต่อเนื่อง โดยที่ตัวอย่างแรกจะเป็นผู้ให้คำแนะนำในการเลือก เลือกตัวอย่างถัดไป และมีการแนะนำต่อไปจนกระทั่งได้ขนาดตัวอย่างตามที่ผู้วิจัยต้องการ หรือเมื่อเลือกตัวอย่างหนึ่งได้แล้ว ผู้วิจัยก็จะถามตัวอย่างนั้นว่า...ควรจะไปศึกษาหรือสัมภาษณ์ใครต่อ เรียกว่าตัวอย่างก็จะเป็นลูกโซ่ไป ซึ่งวิธีการนี้เหมาะในการศึกษากลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะปกปิด

19 ตัวอย่างแบบเครือข่ายหรือแบบสโนว์บอล
4 การสุ่มตัวอย่าง แบบเครือข่าย หรือแบบสโนว์บอล ตัวอย่างแบบเครือข่ายหรือแบบสโนว์บอล 1 การวิจัยเรื่องหนี้สินนอกระบบ ผู้วิจัยทำการเลือก ตัวอย่างแรกขึ้นมาก่อน จากนั้นตัวอย่างแรกที่ได้ เลือกมาก็จะเป็นผู้ให้ชื่อของตัวอย่างที่สองต่อไปและตัวอย่างที่สองก็จะเป็นผู้ให้ชื่อของตัวอย่างที่สามต่อไป ทำเช่นนี้เรื่อยไปจนกระทั่งได้ขนาดตัวอย่างตามที่ผู้วิจัยต้องการ 2 การศึกษาผู้มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศเมื่อผู้วิจัยสามารถสัมภาษณ์ บุคคลแรกได้แล้วก็จะถามต่อว่าควรสัมภาษณ์ ใครอีกซึ่งอาจได้รับคำแนะนำมากกว่า 1 คน

20 ตัวอย่างแบบเครือข่ายหรือแบบสโนว์บอล
4 การสุ่มตัวอย่าง แบบเครือข่าย หรือแบบสโนว์บอล ตัวอย่างแบบเครือข่ายหรือแบบสโนว์บอล 3 การวิจัยเรื่องการปราบปรามยาเสพติด ผู้วิจัยทำ การเลือกตัวอย่างแรกขึ้นมาก่อนจากนั้นตัวอย่างแรก ที่ได้เลือกมาก็จะเป็นผู้แนะนำต่อๆ กันของกลุ่มตัวอย่าง ดังนั้น...ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจะเพิ่มขึ้นทุกครั้งที่ได้ไปสัมภาษณ์เก็บข้อมูลเหมือนกับ ก้อนหิมะที่ยิ่งกลิ้งไปลูกหิมะก็จะยิ่งใหญ่ขึ้น วิธีนี้...จึงเรียกอีกชื่อว่า “สโนว์บอล”

21 รูปแบบของการสุ่มตัวอย่างแบบเครือข่าย
4 การสุ่มตัวอย่าง แบบเครือข่าย หรือแบบสโนว์บอล รูปแบบของการสุ่มตัวอย่างแบบเครือข่าย หรือแบบสโนว์บอล Linear Snowball Sampling Exponential Non-Discriminative Snowball Sampling Exponential Discriminative Snowball Sampling

22 4 การสุ่มตัวอย่าง แบบเครือข่าย หรือแบบสโนว์บอล
ข้อดีๆ ของการสุ่มตัวอย่าง แบบเครือข่ายหรือแบบสโนว์บอล มักได้ความร่วมมือจากผู้ที่รู้จักกันเป็นการส่วนตัว อยู่แล้ว หรืออาจรู้จักกับเครือข่ายของเราเป็นการส่วนตัวทำให้ได้ตัวอย่างต่อๆ ไปง่ายขึ้น ข้อจำกัด&ข้อเสียการสุ่มตัวอย่างแบบเครือข่ายหรือแบบสโนว์บอล การหากลุ่มตัวอย่างแรกเริ่มอาจทำได้ยากลำบาก เพราะอาจไม่ได้รับความร่วมมือเนื่องจากกลุ่มตัวอย่างต้องการปกปิด ไม่เปิดรับให้ทำการวิจัย

23 5 การสุ่มตัวอย่าง แบบอาสาสมัคร Volunteer Sampling
คือ...วิธีการบุคคลอาสาเป็นกลุ่มตัวอย่างตามประกาศโฆษณา หรือตามที่ผู้วิจัยชี้ชวน เป็นวิธีที่สะดวกรวดเร็ว และสามารถเข้าถึงกลุ่มตัวอย่างได้หลากหลาย Volunteer Sampling นอกจากนี้ในบางกรณีหรือบางสถานการณ์ของการศึกษานั้น ตัวผู้วิจัยไม่สามารถกำหนดคุณสมบัติ หรือคุณลักษณะของกลุ่มตัวอย่างได้อย่างชัดเจน ก็จะใช้วิธีขออาสาสมัครนั่นเอง โดยอาจมี ค่าตอบแทนให้กับบุคคลที่อาสา และผู้ที่อาสาก็จะยินยอมทำตามที่ผู้วิจัย กำหนดนั่นเอง

24 ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่างแบบอาสาสมัคร
5 ตัวอย่างการสุ่มตัวอย่างแบบอาสาสมัคร การสุ่มตัวอย่าง แบบอาสาสมัคร 1 กลุ่มอาสาสมัครที่เป็นคนไข้โรคข้ออักเสบ ในการทดลองยาตัวใหม่ของบริษัทผลิตยา 2 กลุ่มอาสาสมัครในการทดลองใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสูตรใหม่ ก่อนเปิดตัววางขายในตลาด 3 กลุ่มอาสาสมัครดูการแสดงของนักร้องที่ บ. แกรมมี่ ก่อนออกสู่สายตาประชาชนว่า เพลงแบบนี้ หน้าตา ทรงผม สไตล์การแต่งตัวแบบนี้ เมื่อออกสู่ตลาดแล้วจะดังหรือไม่ (กรณีก่อนออกสู่ตลาดของกอล์ฟ+ไมค์)

25 ข้อดีๆ การสุ่มตัวอย่างแบบอาสาสมัคร การสุ่มตัวอย่างแบบอาสาสมัคร
5 ข้อดีๆ การสุ่มตัวอย่างแบบอาสาสมัคร การสุ่มตัวอย่าง แบบอาสาสมัคร ได้ตัวอย่างที่มีความสนใจในเรื่องที่วิจัยนั้นๆ ข้อจำกัดหรือข้อเสีย การสุ่มตัวอย่างแบบอาสาสมัคร อาสาสมัครบางคนอาจไม่ใช่ผู้ที่มีคุณสมบัติตรงตามที่ผู้วิจัยต้องการ เนื่องจากผู้วิจัยไม่มีข้อมูลของอาสาสมัครท่านนั้นอย่างลึกซึ้ง จึงอาจจะทำให้เกิดข้อข้องใจในการวิจัย เช่น อาสาสมัครอาจไม่เชื่อฟัง ไม่ให้ความร่วมมือเท่าที่ควร ฯลฯ สามารถสร้างปัญหาในสุ่มตัวอย่างได้

26 ตารางแสดงการเปรียบเทียบการสุ่มตัวอย่างของทั้ง 2 วิธี โดย Hair, J. S
ตารางแสดงการเปรียบเทียบการสุ่มตัวอย่างของทั้ง 2 วิธี โดย Hair, J.S. et al เรื่อง Probability Non Probability รายชื่อของประชากรทั้งหมด จำเป็น ไม่จำเป็น ข้อมูลเกี่ยวกับตัวอย่าง ต้องการทราบแต่ะละหน่วย ต้องการทราบนิสัย กิจกรรมลักษณะอื่นๆ ของตัวอย่าง ทักษะในการสุ่มตัวอย่าง จำเป็นเพียงเล็กน้อย เวลาที่ใช้ กินเวลา กินเวลาไม่มากนัก ค่าใช้จ่ายต่อตัวอย่าง ปานกลาง, สูง ต่ำ การประมาณค่าประชากร ไม่มีอคติ มีอคติ ความเป็นตัวแทน ดี มั่นใจได้ สงสัย กำหนดไม่ได้ ความแม่นยำและเชื่อถือได้ คำนวณโดยใช้ Confidence interval ไม่ทราบ การวัด Sampling error วัดได้ทางสถิติ ไม่มีทางวัด ***คัดลอกจากหนังสือ : การสำรวจโดยการสุ่มตัวอย่าง : ทฤษฎีและปฏิบัติ โดย รศ. ดร. พิชิต พิทักษ์เทพสมบัติ p

27 Thank you


ดาวน์โหลด ppt ประเภทของสุ่มตัวอย่าง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google