ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Brief Intervention : BI
Brief Advice : BA Brief Intervention : BI การบำบัดแบบสั้น สุพรรณี อุตส่าห์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลศรีรัตนะ
2
ผมถูกจับเรื่องตรวจพบฉี่ม่วง ถ้าผมเลิกยุ่งกับยาบ้า
อยากปรึกษา ผมตั้งใจจะเลิกยาบ้า จะมีปัญหากับการเรียนไหมถ้าจะมารักษา เรียนใกล้จบแล้ว ผมถูกจับเรื่องตรวจพบฉี่ม่วง ถ้าผมเลิกยุ่งกับยาบ้า ผมจะถูกส่งไปสถานพินิจไหมครับ ผมตั้งใจเลิกยาบ้า จะเริ่มเรียน กศน. ผมควรทำยังไงบ้าง 2
3
การสร้างแรงจูงใจเพื่อการเปลี่ยนแปลง (Motivation for Change)
4
Slide Title SCREENING Motivation to change substance using behaviour
Low risk Moderate risk (hazardous/harmful use) High risk (dependence) Brief advice Referral More intensive care Reduction of substance use Reduction of substance related problems Brief intervention -FRAMES -Stage of change -Motivational interviewing Motivation to change substance using behaviour Slide Title
5
Motivational interviewing
ความหมาย : การสนทนา(สื่อสารสองทาง)เพื่อ สร้างแรงจูงใจ ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้ส่งเสริมสนับสนุนการมีพฤติกรรม สุขภาพ 5
6
ความสำคัญของทัศนคติ 6
7
สถานการณ์ที่ 1 คู่ปรับ คู่ปรับที่สูสี? 7
8
ผลักดันการเปลี่ยนแปลง
สถานการณ์ที่ 2 เร่งรัดผลักดัน ผลักดันการเปลี่ยนแปลง 8
9
สถานการณ์ที่ 3 กดดัน บีบบังคับ การดิ้นรน 9
10
สถานการณ์ที่ 4 มีเป้าหมายร่วมกัน
ค้นหา ความร่วมมือ สอดคล้อง และเป้าหมายเดียวกัน 10
11
สถานการณ์ที่ 4 มีเป้าหมายร่วมกัน
พายเรือไปในทางเดียวกัน สถานการณ์ที่ 4 มีเป้าหมายร่วมกัน 11
12
ใครล่ะที่มีความสำคัญสำหรับเขา/เธอ?
12
13
การให้คำแนะนำแบบสั้น 2 BI.;Brief Intervention การให้คำปรึกษาแบบสั้น
1 BA.;Brief Advice การให้คำแนะนำแบบสั้น 5-10 นาที ประเด็น - ประเด็นที่สนใจ/มีปัญหา - หลักฐานของปัญหา - แนะนำการรักษา/ทางเลือก วัตถุประสงค์ สร้างความตระหนัก มองเห็นปัญหา ทราบข้อมูลหากจะแก้ไข 2 BI.;Brief Intervention การให้คำปรึกษาแบบสั้น 20-30 นาที ประเด็น - ประเด็นที่สนใจ/มีปัญหา - หลักฐานของปัญหา - แนะนำการรักษา/ทางเลือก วัตถุประสงค์ สร้างความตระหนัก มองเห็นปัญหา ทราบข้อมูลการแก้ไข วางแผนระยะสั้นได้ 13
14
1. ขั้นเมินเฉยปัญหา (Pre-contemplation) 2. ขั้นลังเลใจ (Contemplation)
รูปแบบขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม Stage of Change (Prochaska &DiClemente) 1. ขั้นเมินเฉยปัญหา (Pre-contemplation) 2. ขั้นลังเลใจ (Contemplation) 3. ขั้นตัดสินใจหรือเตรียมการ (Determination or preparation) 4. ขั้นลงมือแก้ไข (Action) 5. ขั้นกระทำต่อเนื่อง (Maintenance) 6. ขั้นกลับไปติดซ้ำ (Relapse) prochaska Diclemente, 1982
15
ขั้นเมินเฉยปัญหา (Pre-contemplation)
ไม่คิดว่าตนเองมีปัญหาจากการใช้แอลกอฮอล์หรือสารเสพติด
16
ผู้ป่วย ผู้บำบัด ให้ข้อมูลเกี่ยวกับข้อดี-ข้อเสีย
1. PRE-CONTEMPLATION ระยะเมินเฉย ผู้ป่วย ผู้บำบัด ให้ข้อมูลเกี่ยวกับข้อดี-ข้อเสีย ให้ความหวัง ให้เกิดสำนึกรับผิดชอบต่อคนอื่น ต่อสังคม ให้บันทึกหรือบอกเล่าเรื่องตนเอง ให้สงสัย/ข้องใจในปัญหา * ไม่สนใจทำอะไรเลย ใน 6 เดือนข้างหน้า * ไม่รู้ข้อดี-ข้อเสียของพฤติกรรมที่มีอยู่ * ท้อใจ เพราะไม่สามารถหยุดพฤติกรรมเดิมได้ * มันไม่ใช่ปัญหาของฉัน
17
ขั้นลังเลใจ (Contemplation)
มักประสบกับผลกระทบในทางลบจากการใช้แอลกอฮอล์หรือสารเสพติดบ้างแล้ว แต่ไม่รุนแรงมาก
18
2.CONTEMPLATION ระยะลังเลใจ
ผู้ป่วย ผู้บำบัด มีความประสงค์ที่จะเปลี่ยนนิสัย – พฤติกรรม ใน 6 เดือนข้างหน้า เริ่มรู้ข้อดี-ข้อเสียในพฤติกรรมเดิมและพฤติกรรมใหม่ ช่วยขั้นสูงต่อไป ให้บอกเหตุผลของการหยุดยา ให้สำรวจตนเองถึงร้ายของ พฤติกรรมเดิมและพฤติกรรมใหม่ สร้างความเชื่อมั่น ชี้ให้เห็นข้อดีของพฤติกรรมใหม่ “ ชีวิตนี้จะดีอย่างไรถ้าไม่ติดยา”
19
ขั้นตัดสินใจ (Determination or preparation)
มักประสบกับโทษภัยของแอลกอฮอล์หรือสารเสพติดที่รุนแรง หรือตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากการใช้สารเสพติด และต้องการเลิกแอลกอฮอล์และสารเสพติด
20
3. PREPARATION / DETERMINATION ระยะเตรียมพร้อม / ระยะมุ่งมั่น
ผู้ป่วย ผู้บำบัด ตั้งใจจะเปลี่ยนพฤติกรรม ภายใน 1 เดือน มีแผนปฏิบัติการโดยได้ศึกษามาพร้อมแล้ว ย้ำถึงความตั้งใจจริง * สัญญากับตัวเอง กับ ครอบครัว กับคนที่เคารพนับถือ ขจัดอุปสรรคต่อการปฏิบัติการ หาหนทางรักษาที่ดีที่สุด
21
ขั้นลงมือแก้ไข (Action)
กำลังลงมือหยุดแอลกอฮอล์และสารเสพติดแต่ยังไม่สำเร็จ ระยะเวลามักอยู่ในช่วง 6 เดือนแรก
22
ปฏิบัติการ/รักษา คือ เปลี่ยนพฤติกรรมได้แล้ว แต่ยังไม่นาน ถึง 6 เดือน
4. ACTION ปฏิบัติการ/รักษา ปฏิบัติการ/รักษา คือ เปลี่ยนพฤติกรรมได้แล้ว แต่ยังไม่นาน ถึง 6 เดือน ช่วยโดยการให้เรียนรู้ถึงชีวิตใหม่ที่ ไม่ตกเป็นทาสของยาเสพติด ป้องกันไม่ให้เกิดการกลับไปเสพติดซ้ำ (Relaps Prevention )
23
หยุดยาคงที่แล้ว เป็นภาวะอยู่ตัว คือไม่ใช้ยา แต่ก็ต้อง ไม่ประมาท
5. MAINTENANCE หยุดยา หยุดยาคงที่แล้ว เป็นภาวะอยู่ตัว คือไม่ใช้ยา แต่ก็ต้อง ไม่ประมาท หมั่นป้องกันการกลับไปเสพซ้ำ ต้องมีความอดทน
24
ขั้นกระทำต่อเนื่อง (Maintenance)
ในขั้นนี้ผู้ป่วยมักเลิกแอลกอฮอล์หรือสารเสพติดมาได้ประมาณ 6 เดือน อารมณ์ ความคิดค่อนข้างมั่นคงกระทำตามวิธีการที่ตนเองเลือกได้อย่างต่อเนื่อง มีความมั่นใจว่าตนเองเลิกแอลกอฮอล์และสารเสพติดได้
25
ขั้นตอนนี้จะไม่นึกถึงยา ไม่สนใจยาเสพติด
6. TERMINATION หยุดยาอย่างถาวร ขั้นตอนนี้จะไม่นึกถึงยา ไม่สนใจยาเสพติด มีความรู้สึกโดยสัญชาตญาณว่า ยาเสพติดเป็นของแปลกปลอม ไม่ใช่สิ่งที่ควรสัมผัสหรือแตะต้อง
26
ขั้นกลับไปติดซ้ำ (Relapse)
กลับไปใช้แอลกอฮอล์และสารเสพติดซ้ำ
27
สรุปบทบาทของผู้บำบัดต่อวัฐจักรการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ระยะ
เมินเฉย แหวกคอก ให้สงสัย/ข้องใจในปัญหา ลังเลใจ ตอกย้ำ เหตุผลที่ควรหยุดยา มุ่งมั่น ให้ทำจริง หาหนทางรักษาที่ดีที่สุด ปฏิบัติการ/รักษา วิ่งต่อไป ผลักดันให้เห็นความก้าวหน้า หยุดยา ไม่ใช้ยา ป้องกันการกลับไปใช้ยาซ้ำ กลับไปใช้ยา หาทางใหม่ สร้างความตั้งใจใหม่ มุ่งมั่นรักษาต่อไป
28
กิจกรรม E พฤติกรรมสุขภาพของฉัน
6 พฤติกรรมนั้นคือ......(A) เผลอไป 5 คิดอยู่บ้าง / ลังเล เป็นนิสัย มองไม่เห็น /เพิกเฉย 2 1 ตัดสินใจทำ 4 ทำได้บ่อย 3
29
ทฤษฏีลำดับขั้นของการเปลี่ยนแปลง
6 Stages of change เผลอไป 5 คิดอยู่บ้าง เป็นนิสัย มองไม่เห็น 2 1 ตัดสินใจทำ 4 ทำได้บ่อย (Prochaska และ Di Clemente 1982) 3
30
หลักสำคัญ 6 ประการ * องค์ประกอบที่จำเป็นในการให้คำปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ 1. ชี้ให้เห็นความขัดแย้งในตนเอง Develop Discrepancy 2. แสดงความเห็นใจ Express empathy 3. แนะนำ แบบมีทางเลือก Advice with menu 4. ไม่เถียงด้วย Avoid argumentation 5. กลิ้งไปกับแรงต้าน Roll with Resistance 6. สนับสนุนความมั่นใจในตนเอง Increase self - efficacy
31
DEAR MI หลักสำคัญ 6 ประการ
* องค์ประกอบที่จำเป็นในการให้คำปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ 1. ชี้ให้เห็นความขัดแย้งในตนเอง Develop Discrepancy 2. แสดงความเห็นใจ Express empathy 3. แนะนำ แบบมีทางเลือก Advice with menu 4. ไม่เถียงด้วย Avoid argumentation 5. กลิ้งไปกับแรงต้าน Roll with Resistance 6. สนับสนุนความมั่นใจในตนเอง Increase self - efficacy DEAR MI 31
32
Developing Discrepancies
การเน้นและชี้ให้เห็นความแตกต่างของสิ่งที่ทำอยู่ กับสิ่งที่ต้องการ วิธีการกระตุ้น 1. การถามถึงอนาคต / มองไปในอนาคต 2. ถามถึงเป้าหมายในชีวิต 3. ถามถึงอดีตที่ดีกว่า 4. ถามถึงสิ่งเลวร้ายสุด ๆ ที่เป็นไปได้ 5. ถามถึงสิ่งที่ดีสุด ๆ ที่เป็นไปได้ “คุณบอกว่าอยากมีร่างกายแข็งแรง และก็ได้ยินว่าคุณไม่อยากออกกำลังกาย” อาจเป็นตัวเอง/คนที่รัก/ คุณค่า/ความเชื่อ 32
33
หากใช้คำถามได้ถูกต้องตรงใจ
Change talk 33
34
การประยุกต์ใช้ การสร้างสัมพันธภาพ การสนทนาสร้างแรงจูงใจ การถามให้คิด
การสนทนาสร้างแรงจูงใจ การถามให้คิด การแสดงความชื่นชม การสะท้อนให้เห็นแรงจูงใจ การสรุปเหตุผลและแรงจูงใจ การให้ข้อมูลที่จำเป็น บอกเล่า เอกสาร เบอร์โทร จบการสนทนา สรุป คาดหวังและให้กำลังใจ (อาจใช้เครื่องมือประเมินแรงจูงใจ) 34
35
การให้คำปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ
กระบวนการ 1 สัมพันธภาพ(ทักทาย/เกริ่น/ด้านบวก) 2 ประเมินแรงจูงใจ 3 ถามเพื่อสร้างแรงจูงใจ(develop discrepancy) 4 จัดการกับแรงต้าน(breaking resistance) 5 กำหนดเป้าหมาย-วางแผน/ประยุกต์ 6 ให้กำลังใจ-คาดหวังด้านบวก/สรุป-นัดหมาย 35
36
Resistance 36
37
เมื่อ client มีแรงต้าน
สังเกตได้จาก การถกเถียงและปฏิเสธความเป็นไปได้ในการเปลี่ยนแปลงตนเอง การนิ่งเฉยไม่ยอมวางแผนที่เป็นรูปธรรม การไม่ติดตามการรักษา 37
38
เทคนิคจัดการกับ Resistance
- ไม่ควร ตำหนิ , ตัดสิน , เตือน (ถึงผลเสีย) แปลความหมาย หรือถกเถียงมากเกินไป - ควร 1. ทวนความสั้น ๆ เพื่อชี้ให้เห็น Discrepancy 2. ทวนความแบบ over Cl ฉันไม่ได้ติดเหล้าสักหน่อย Co เท่าที่รู้สึกก็คือการดื่มเหล้าไม่ทำให้เกิดปัญหาใดๆขึ้นเลย Cl เปล่าผมไม่ได้ บอกอย่างนั้น มักก็มีปัญหาอยู่บ้าง 38
39
เทคนิคจัดการกับ Resistance (ต่อ)
3. Double side Reflection คือสนทนาทั้งข้อดีและข้อเสีย 4. เปลี่ยนเป้าหมาย C ฉันหยุดดื่มไม่ได้หรอก T ฉันไม่ได้บอกว่าคุณจะต้องหยุดดื่ม หยุดหรือไม่ขึ้นอยู่กับคุณเอง แต่เรามาคุยกันว่าปัญหาสุขภาพของคุณจะวางแผนแก้ไขอย่างไร 5. Rolling C ฉันไม่มีเวลา ออกกำลังกายหรอก T คุณคงรู้สีกดีที่สุดเพราะคุณคงรู้ว่าตนเองว่างหรือไม่ว่างอย่างไร การใช้เวลาไปออกกำลังกายหรือไม่ก็ขึ้นอยู่กับคุณเองอยู่แล้ว 39
40
ทักษะการสนทนา สนทนาด้วยกุหลาบ (A ROSE)
Micro Skills (OARES) (A ROSE) ชื่นชม Affirm the Cl สะท้อน Reflect What the person says ถาม Open Ended Question 4. สรุป (Summarize Perspectives on Change) สนับสนุนกำลังใจ(Encourage)
41
ถาม Open Questions? ช่วยค้นหาข้อมูล ช่วยกระตุ้นแรงจูงใจ เช่น
อะไรทำให้คุณอยากเสพยาบ้าน้อยลง คุณเสพมานานแล้วแต่เพราะอะไรทำให้คุณอยากเลิกในวันนี้ มีสิ่งใดที่สำคัญต่อคุณมากๆ?
42
ชื่นชม Affirm What? 1 การตัดสินใจ
“ผมเห็นด้วยกับการตัดสินใจออกกำลังกายของคุณ” “สุขภาพดีขึ้นไม่เหนื่อยง่ายเพราะช่วงนี้คุณกินยาต่อเนื่อง” 2 ความรู้สึกเช่น “คุณทำสิ่งที่ลูกชื่นชมยกย่อง” 3 พฤติกรรมโดยเฉพาะความพยายาม เช่น “คุณมีความตั้งใจเหมือนกันเพราะผมทราบมาว่าคุณมาไกล”
43
สะท้อน Reflects What? ไม่รีบเห็นด้วย แต่จงทำให้ “ชัด”
1 ปัญหาที่ประสบ/นำมาเช่น “คุณบอกว่าอาจมีปัญหากับหัวหน้า” 2 ผู้คนที่ผลักดันเขาอยู่เช่น “ทำไมเพื่อนคนนี้ถึงอุตส่าห์พาคุณมา” 3 สิ่งที่ Concern เช่น “คุณรู้สึกกลัวเพราะเพื่อนป่วยหนัก” 4 อนาคตที่ต้องการเช่น “ทำไมคุณถึงเป็นห่วงอนาคต” ไม่รีบเห็นด้วย แต่จงทำให้ “ชัด”
44
ทักษะการให้กำลังใจ(Encouragement)
การให้กำลังใจ เป็นทักษะที่ใช้กับปัญหาทางด้านจิตใจ โดยช่วยให้ ผู้รับการปรึกษาสามารถมองเห็นด้านที่เป็นบวกของตนเองและสถานการณ์ ซึ่งจะทำให้ผู้รับการปรึกษา มีความมั่นใจ มีความคาดหวังและส่งเสริมความ พยายามแก้ไขปัญหา การให้กำลังใจนี้ต้องอิงอยู่บนศักยภาพของผู้รับการ ปรึกษาด้วย
45
วัตถุประสงค์ของการใช้ทักษะการให้กำลังใจ
1. เพื่อกระตุ้นให้ Cl ได้รู้ว่ามีคนเข้าใจเขาไม่ได้เผชิญปัญหาเพียงลำพัง 2. ช่วยให้ Cl รู้ว่าตนเองมีศักยภาพ มีคุณค่าต่อตนเองและสังคม 3. ช่วยลดความรู้สึกท้อแท้ของ Cl นำไปสู่ความตั้งใจในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
46
สรุป Summary ? สรุปอะไรบ้าง? สรุปปัญหา
สรุปอะไรบ้าง? สรุปปัญหา สรุปสาเหตุหรือสิ่งจูงใจที่จะเปลี่ยนแปลงตนเอง หากมีแผนการแล้วก็สามารถสรุปแผนได้ อาจถามให้ผู้รับการปรึกษาช่วยสรุปก็ได้
47
กลยุทธ์ในการปลุกเร้า SMS (Eliciting change talk or SMS) 1
กลยุทธ์ในการปลุกเร้า SMS (Eliciting change talk or SMS) 1. ถามเพื่อกระตุ้นเร้า ( Evocative Questions ) ความตั้งใจที่จะเปลี่ยนแปลง (Intention to Change ) “อะไรที่ทำให้คุณอยากหยุด” “สมมติว่าคุณเลิกได้สำเร็จ ชีวิตมันจะเปลี่ยนไปอย่างไร” มองด้านบวกของการเปลี่ยนแปลง (Optimism forChange) “อะไรที่ทำให้คุณคิดว่าคุณจะทำมันได้สำเร็จ” “อะไรที่ทำให้คุณมีความเชื่อมั่น” อ
48
กลยุทธ์ในการปลุกเร้า SMS 2
กลยุทธ์ในการปลุกเร้า SMS 2. ตรวจสอบข้อดี-ข้อเสีย (Exploring Pros and Cons) ตรวจสอบเหตุผลทั้งสองด้านของการเปลี่ยนและไม่เปลี่ยน 3. ถามรายละเอียด (Elaboration) ถามเพื่อให้ได้รายละเอียดมากๆ จะพบ SMS มากขึ้น แล้วค่อยสรุป 4. จินตนาการ (Imagining) สมมติสิ่งที่เลวร้ายที่สุดเกิดขึ้น คุณจะเป็นอย่างไร สมมติสิ่งที่ดีเกิดขึ้น คุณจะเป็นอย่าง
49
กลยุทธ์ในการปลุกเร้า SMS 5. มองไปข้างหน้า (Looking Forward)
กลยุทธ์ในการปลุกเร้า SMS 5. มองไปข้างหน้า (Looking Forward) ถ้าเปลี่ยนแปลง…… อะไรจะดีขึ้น ถ้าไม่เปลี่ยนแปลง……. ชีวิตจะเปลี่ยนไปอย่างไร 6. มองย้อนกลับไป (Looking Back) เปรียบเทียบช่วงอดีตก่อนที่จะมีปัญหากับปัจจุบันที่มีปัญหา 7. ค้นหาเป้าหมายและคุณค่า ชีวิต (Exploring Goals or Values) อะไรคือสิ่งที่สำคัญมากที่สุดในชีวิต
50
กลยุทธ์ในการปลุกเร้า SMS 8. ไม้บรรทัดของความพร้อม (Readiness ruler) 9
กลยุทธ์ในการปลุกเร้า SMS ไม้บรรทัดของความพร้อม (Readiness ruler) 9. ขัดเพื่อให้แย้ง ( Paradoxical Challenge ) ผู้บำบัดใช้เหตุผลของจิตใจด้านที่ไม่อยากเปลี่ยน เพื่อกระตุ้นให้ ผู้ป่วยโต้แย้ง เข้าข้างจิตใจที่ไม่อยากเปลี่ยนแปลง “ดูแล้วคุณยังติดใจสุรายาเสพติดอยู่มาก คงจะเลิกยาก”
51
จุดมุ่งหมายของการบำบัดแบบสั้น
เพื่อช่วยให้ผู้รับบริการเห็นว่าพฤติกรรมการใช้สารเสพติดของตนเอง ทำให้มีความเสี่ยงที่จะเกิดปัญหา
52
วิธีการให้คำแนะนำแบบสั้น BRIEF ADVICE; BA
53
การให้คำแนะนำแบบสั้น
- สำหรับผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงต่ำ (Low risk) /ผู้ใช้เป็นครั้งคราว(use) - 0-3 คะแนน ไม่กำหนด - จำนวน 1- 2 ครั้ง , 2 สัปดาห์ - สะท้อนข้อมูลกลับ และให้คำแนะนำ ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบ ของการใช้สารเสพติด
54
การให้คำปรึกษาแบบสั้น (1)
ใช้ในผู้ที่มีแรงจูงใจอยู่บ้าง เน้นเสริมแรงความตระหนัก การประเมินปัญหาทั้งความรู้และแรงจูงใจ แนะนำ-ให้ข้อมูล ตั้งเป้าหมายที่ชัดเจน วางแผนเพื่อไปยังเป้าหมาย หลักการสำคัญ เป็นการช่วยเหลือแบบครั้งเดียวจบ(แต่นัดต่อได้) เน้นเรื่องที่สำคัญเท่านั้น ใช้เวลา นาที 54
55
วิธีการบำบัดแบบสั้น BRIEF INTERVENTION :BI
56
การบำบัดแบบสั้น ผู้ป่วยขั้นเมินเฉย/ลังเลใจ
- กลุ่มผู้เสพ (กลุ่มใช้ยาจนเกิดผลกระทบ )/เสี่ยงปานกลาง - 4 – 26 คะแนน - ผู้ป่วยขั้นเมินเฉย/ลังเลใจ เวลา นาที , 4 ครั้ง ใน 1 เดือน ใช้องค์ประกอบ 5/10 ขั้นตอน
57
ขั้นตอนของการบำบัดแบบสั้น
ขั้นที่ 1 Ask : อยากทราบผลการคัดกรอง ? ขั้นที่ 2 Feedback : ให้ข้อมูลผลการคัดกรอง และความเสี่ยง /อันตรายจากสารเสพติดแต่ละชนิดที่ใช้อยู่ ขั้นที่ 3 Advice : ให้คำแนะนำวิธีการลดความเสี่ยงจากการใช้สารเสพติด ขั้นที่ 4 Responsibility : ให้ผู้รับบริการตัดสินใจทางเลือกด้วยตัวเอง ขั้นที่ 5 Concerned : ถามถึงความกังวลที่เขามีต่อผลการคัดกรอง “คุณรู้สึกกังวลกับคะแนน…(ชื่อสารเสพติด)…ของคุณเพียงไร”
58
ขั้นตอนของการบำบัดแบบสั้นตามผลการคัดกรองASSIST
ขั้นที่ 6.Good things : ข้อดีของการเสพ “ อะไรคือข้อดีของการใช้สารเสพติดของคุณ “ ขั้นที่ 7.Less Good things : ข้อไม่ค่อยดีของการเสพ “ มีข้อไม่ค่อยดีอะไรบ้างในการใช้สารเสพติดของคุณ “ ขั้นที่ 8. Summarize and reflect : สรุปและสะท้อนคำพูดของผู้รับบริการโดยเน้นที่ “ข้อไม่ดี”
59
ขั้นตอนของการบำบัดแบบสั้นตามผลการคัดกรองASSIST
ขั้นที่ 9. Concern : ถามผู้รับบริการว่า “ กังวลกับข้อไม่ค่อยดี มากน้อยเพียงไร “ Exp ; “คุณกังวลกับข้อไม่ค่อยดีจากการใช้สารเสพติดของคุณอย่างไรบ้าง “ ขั้นที่ 10. Take-home materials : ให้เอกสารคู่มือกลับบ้าน
60
Readiness to Change Rulers
Not Prepare Already to change changing Willingness to change (Zimmerman:2000) 60
61
ไม้บันทัดวัดใจ B 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 (Zimmerman:2000)
ไม่พร้อมที่จะเปลี่ยนแปลง หรือยากที่จะเปลี่ยน แก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงได้แล้ว (Zimmerman:2000) 61
62
คำถามที่ควรมี 1. หาก Cl เลือกทางซ้าย
- คุณจะรู้ได้อย่างไรว่าเมื่อไรควรเปลี่ยนแปลงตนเอง - มีสัญญาณอะไรไหมที่จะเตือนเรื่องนี้ - คุณต้องการอะไร? อยากได้อะไร? (เช่นสุขภาพดี) - ความเชื่อมโยงของ”สิ่งที่ต้องการ” กับ”สิ่งที่ทำอยู่” 62
63
คำถามที่ควรมี 2. หากอยู่ระหว่างกลาง
2. หากอยู่ระหว่างกลาง 1. ทำไมคุณถึงไม่เลือกทางซ้าย (อะไรที่จูงใจ) 2. อะไรจะช่วยดึงคุณไปทางขวาได้ 3. การพยายามเปลี่ยนแปลงนี้ทำให้คุณพบสิ่งดีๆอะไรบ้าง หากอยู่ทางขวา 1. ทำไมไม่เลือกทางซ้าย(หรือกลางๆ) 2. มีอะไรที่ดึงคุณไปทางขวาได้อีก(หรือเต็ม 10 ) 63
64
คำถามที่ควรมี เมื่อเกิดความก้าวหน้า 1. เกิดสิ่งดีๆใดบ้าง
2. อะไรที่ช่วยให้ทำได้ หาก Pt สามารถผ่าน step สำคัญได้ 1. อะไรทำให้คุณตัดสินใจเช่นนั้น 2. วิธีการอะไรที่ work 3. มีอะไรที่ช่วยได้อีกบ้าง 64
65
คำถามที่ควรมี 6. หาก Maintenance ได้ - ดีใจด้วย - อะไรที่ช่วยคุณได้
- ดีใจด้วย - อะไรที่ช่วยคุณได้ - อะไรที่ได้ผล - อะไรเป็นสถานการณ์เสี่ยงที่ต้องระวัง 7. หากล้มเหลว - อะไรที่ได้ผลสักระยะหนึ่ง - เรียนรู้อะไรบ้าง - ต้องพยายามอีก 65
66
ความเชื่อที่ต้องแก้ 1. ไม่ใช่ปัญหา 2. ต้องใช้/ทำ เพื่อ ………
1. ไม่ใช่ปัญหา 2. ต้องใช้/ทำ เพื่อ ……… 3. ทนการเย้ายวนได้ยาก 4. ถ้าหยุดจะเสีย…… (เพื่อน) 5. ใคร ๆ ก็ใช้/ทำ 6. การรักษาเป็นเรื่องเสียเวลาเปล่า 66
67
THE STAGE OF CHANGE MODELTHE STAGE OF CHANGE MODEL
Prochaska & DiClemente 1982
68
องค์ประกอบสำคัญของการบำบัดแบบสั้น “ FRAMES ”
Feedback การให้ข้อมูลสะท้อนกลับ สะท้อนข้อมูลความเสี่ยง หรืออันตรายที่เกิดขึ้นจาการใช้ยาเสพติด : คะแนนASiST, Responbility ความรับผิดชอบ เน้นว่าเป็นความรับผิดชอบของผู้ป่วยที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Advice การให้คำแนะนำ การให้คำแนะนำที่ชัดเจนถึงวิธีลดอันตรายที่จะเกิดขึ้น
69
องค์ประกอบสำคัญของการบำบัดแบบสั้น “ FRAMES ”
Menu การให้ข้อมูลทางเลือก เสนอทางเลือกในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และ ตั้งเป้าหมาย Empathy ความเข้าใจ เห็นใจ ฟังอย่างเข้าใจเห็นใจ ไม่เป็นผู้สั่งให้ทำหรือดุว่า Self-efficacy เสริมความมั่นใจให้ผู้ป่วยว่ามีศักยภาพที่จะเปลี่ยนได้
70
Client-centered & Goal-directed Counseling
มีเป้าหมายชัดเจน ; เลิกยาเสพติด ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ยอมรับในสิ่งที่เขาเป็น ความเห็นอกเห็นใจ
71
ครั้งที่ 1 BA กิจกรรม ชื่นชมที่ผู้ป่วยมารับการบำบัด แนะนำตนเอง
Objective เพื่อ สร้างสัมพันธภาพ ประเมินปัจจัยสาเหตุ/เกื้อหนุน ให้ใช้ยา ให้ข้อมูลผลV2 ชื่นชมที่ผู้ป่วยมารับการบำบัด แนะนำตนเอง สัมภาษณ์ตามแบบV2 ประเมินแรงจูงใจ ใช้เทคนิคการบำบัดแบบสั้น
72
ครั้งที่ 2 กิจกรรม Objective เพื่อ ประเมินแรงจูงใจในการปรับพฤติกรรม
การประเมินและการให้คำแนะนำตามลำดับขั้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กิจกรรม Objective เพื่อ ประเมินแรงจูงใจในการปรับพฤติกรรม สำรวจความมั่นใจ กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน อุปสรรคและจุดแข็งของผู้ป่วย 1.ชื่นชมที่ผู้ป่วยมาตามนัด 2.ทบทวนการสนทนาครั้งแรก 3.เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัยต่างๆ 4.สอบถามความคิดเห็นว่าสามารถหยุดใช้ยาได้หรือไม่ 5.ให้การดูแลตามระดับของแรงจูงใจ
73
กิจกรรมของBI ครั้งที่2(ต่อ)
6. ใช้เทคนิคการสัมภาษณ์เพื่อสร้างแรงจูงใจ โดยการถามด้วยคำถามปลายเปิด การสะท้อนความ การสรุปความ เพื่อให้ผู้ป่วยพูดประโยคที่เป็นแรงจูงใจภายใน 7.พูดคุยเพื่อให้เห็นความแตกต่างระหว่างเป้าหมายและสิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และสิ่งที่ผู้ป่วยต้องการ/คาดหวังคืออะไร โดยใช้หลักการDARES
74
ครั้งที่ 3 ฝึกทักษะด้วยหนังสือคู่มือการดูแลตนเอง
ครั้งที่ 3 ฝึกทักษะด้วยหนังสือคู่มือการดูแลตนเอง กิจกรรม Objective เพื่อ ให้ผู้ป่วยสามารถควบคุมการใช้ยา/สารเสพติดได้ มีทักษะในการหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูง 1.ชื่นชมที่ผู้ป่วยมาตามนัด 2. ประเมินลำดับขั้นของstage of change กำหนดเป้าหมายที่การลด หยุดใช้ยา/สารเสพติด 3.แนะนำการใช้คู่มือการดูแลตนเอง ให้ญาติมีส่วนร่วมเรียนรู้ไปกับผู้ป่วย 4.เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย 5.ทบทวนประเด็นการพูดคุย นัดหมายอีก 1 สัปดาห์
75
ครั้งที่ 4 ติดตาม Objective เพื่อ ประเมินผลการปฏิบัติของผู้ป่วย
ครั้งที่ 4 ติดตาม Objective เพื่อ ประเมินผลการปฏิบัติของผู้ป่วย ทบทวนเป้าหมายในการลด หยุดเสพ ประเมินปัญหาที่พบภายหลังได้ลงมือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
76
กิจกรรมของครั้งที่ 4 ชื่นชมที่ผู้ป่วยมาตามนัด
ประเมิน stage of change ว่าไม่กลับไปอยู่ขั้นลังเลใจอีก ทบทวนการบันทึกการใช้ยา/สารเสพติดใน2สัปดาห์ที่ผ่านมา ทบทวนการปฏิบัติตามคู่มือการดูแลตนเอง สอบถามถึงปัญหาอุปสรรค สำรวจการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เปิดโอกาสซักถามข้อสงสัย เน้นย้ำเป้าหมายของแต่ละบุคคล เสริมกำลังใจให้ปฏิบัติต่อเนื่อง สอบถามพฤติกรรมการใช้ยาจากญาติ บุคคลใกล้ชิด เพื่อนบ้าน หาวิธีลดปัญหาและอุปสรรค เช่น ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม หาที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ กิจกรรมที่ช่วยเบี่ยงเบนความสนใจจากยา/สารเสพติด เช่น การออกกำลังกาย งานอดิเรก ให้ข้อมูลการติดตามครั้งต่อไปอีก ทุก 1 เดือน 3 เดือน 6เดือน 9เดือน 1ปี
77
Motivational Counseling Process
5 สรุปและวางแผน (perspective on change) ให้กำลังใจ เปิดโอกาสให้มาปรึกษาได้อีก 1 สร้างสัมพันธภาพ และ Affirmation 2 ตกลงบริการ ประเมินระดับแรงจูงใจ 4 ให้ข้อมูล/ข้อเสนอแนะ แบบมีทางเลือก/ชวนแก้ปัญหา 3 รวบรวมข้อมูล สำรวจปัญหา(ค้นหาและสนับสนุนแรงจูงใจ) 77
78
แบบประเมินระหว่างการบำบัดด้วยBI ในกลุ่มผู้ใช้ ผู้เสพ
สำหรับรพ.สต./PCU ข้อคำถาม สัปดาห์ที่1 วันที่ สัปดาห์ที่2 สัปดาห์ที่3 สัปดาห์ที่4 หมายเหตุ ใน7วันที่ผ่านมา คุณใช้ยาเสพติดอะไรมาบ้าง คุณใช้สารเสพติดนั้นบ่อยแค่ไหน ปริมาณเท่าไหร่ คุณใช้สารเสพติดครั้งสุดท้ายเมื่อไร มีผลกระทบอะไรเกิดขึ้นบ้างหลังการใช้ยาเสพติด
79
สรุปผลการบำบัดด้วยBI
ผลการตรวจปัสสาวะ บวก ลบ 2.รายงานการใช้ยาเสพติด ใช้ ไม่ใช้
80
Thanks for your attention
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.