ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
International Environmental Law
กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ 1972 Stockholm 1992 Severn Cullis-Suzuki at Rio Summit 2015 Paris Agreement 2017 Paris Climate Agreement Won't Change the Climate An Inconvenient Truth Revisited Chapter 4 International Environnemental Law
2
มิติต่างๆของกฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ
จากมิติทางสิ่งแวดล้อม ที่อาจจัดเป็นปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ และปัญหามลพิษ ในการจัดการสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศมีมิติ 7 ด้าน อากาศ Air & Atmospheres ทะเลและมหาสมุทร Sea & Ocean น้ำ Fresh Water พืชและสัตว์ ความหลากหลายทางชีวภาพ Biodiversity ที่อยู่อาศัย Habitat วัตถุอันตราย Hazardous Substance ของเสีย Waste Chapter 4 International Environmental Law
3
แนวทางในการศึกษาเกี่ยวกับ กฎหมายระหว่างประเทศ
Treaty Based Approach: การศึกษาจากตัวข้อตกลงระหว่างประเทศ ที่เรามีข้อผูกพัน ต้องปฏิบัติตาม Body Based Approach: การศึกษาจากตัวองค์กร ที่มีอำนาจหน้าที่สำหรับการดูแลสิ่งแวดล้อมในมิติต่างๆ Chapter 4 International Environmental Law
4
องค์กรที่มีบทบาทในการดูแลสิ่งแวดล้อมในระดับระหว่างประเทศ
องค์การสหประชาชาติ (United Nations) United Nations Environment Program – UNEP โครงการสิ่งแวดล้อมของสหประชาชาติ Food and Agriculture Organization – FAO องค์การอาหารและการเกษตร International Maritime Organization – IMO องค์การพาณิชยนาวีระหว่างประเทศ International Atomic Energy Agency – IAEA ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ องค์การอื่นๆ เช่น WHO, WTO, World Bank Chapter 4 International Environmental Law
5
Chapter 4 International Environmental Law
United Nations Environment Program – UNEP โครงการสิ่งแวดล้อมของสหประชาชาติ ตั้งขึ้นจากการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมของมนุษย์ ที่สต๊อกโฮม 1972 โดยมติของสมัชชาที่ประชุมใหญ่ (General Assembly Resolution)ที่ 2997 UN GA Res. 2997 กฎบัตรของสหประชาชาติ เพื่อคุ้มครองและรักษาสิ่งแวดล้อม ผ่านทางคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม (Economic and Social Council) ปฏิญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน Chapter 4 International Environmental Law
6
Chapter 4 International Environmental Law
โครงสร้างของ UNEP คณะมนตรีปกครอง Governing Council (คือตัวแทน 58 รัฐ จากภูมิภาคต่างๆทั่วโลก โดยเลือกตั้งในสมัชชาที่ประชุมใหญ่แห่งสหประชาชาติ) ทำการประชุมปีละครั้ง และรายงานผลต่อที่ประชุมใหญ่ คณะกรรมการผู้แทนถาวร Committee of Permanent Representatives (คือตัวแทนจากรัฐทั้งหมด 187 รัฐ ประชุมทุก 3 เดือน และรายงานต่อคณะมนตรีปกครอง) คณะกรรมการรัฐมนตรีและเจ้าหน้าที่ระดับสูง High – Level Committee of Ministers and Officials (กรรมการ 36 คนที่รับเลือกจากผู้แทนของรัฐจากภูมิภาคต่างๆ ทำหน้าที่ตรวจสอบการทำงานของเลขาธิการ UNEP) Chapter 4 International Environmental Law
7
Chapter 4 International Environmental Law
กิจกรรมของ UNEP การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ Climate change ภัยพิบัติและความขัดแย้ง Disasters & Conflicts การจัดการระบบนิเวศ Ecosystem Management การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม Environmental Governance เช่น การเงิน นโยบาย กฎหมาย สารพิษและวัตถุอันตราย Harmful Substances การจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ Resource Efficiency Chapter 4 International Environmental Law
8
Chapter 4 International Environmental Law
Body Based Approach: UN Sustainable Development Goals: Sustainable Development: UNEP: FAO: WHO: IAEA: IMO: Chapter 4 International Environmental Law
9
Chapter 4 International Environmental Law
Treaty Based Approach: Basel Convention: Rotterdam Convention: Ramsar Convention: CITES: Convention on Biological Diversity: Cartagena Protocol on Biosafety: Kyoto Protocol: Chapter 4 International Environmental Law
10
กฎบัตรสหประชาชาติ และ ปฎิญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
กฎบัตรสหประชาชาติ ข้อ 55 ด้วยความมุ่งหมายในการสถาปนาภาวการณ์แห่งเสถียรภาพ และความเป็นอยู่ที่ดี ซึ่งจำเป็นสำหรับความสัมพันธ์โดยสันติและโดยฉันทมิตร ระหว่างประชาชาติทั้งหลาย โดยมีความเคารพต่อหลักการแห่งสิทธิอันเท่าเทียมกันและการกำหนดเจตจำนงของตนเองของประชาชนเป็นมูลฐานสหประชาชาติจะต้องส่งเสริม ก. มาตราฐานการครองชีพที่สูงขึ้น ข. การแก้ไขปัญหาระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจ สังคม อนามัยและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและความร่วมมือระหว่างประเทศทางวัฒนธรรมและการศึกษา และ ค. การเคารพโดยสากล และการปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชน และอิสรภาพอันเป็นหลักมูลสำหรับทุกคนโดยไม่เลือกปฏิบัติในเรื่องเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา ปฎิญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อ 3 ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิต เสรีภาพและความมั่นคงแห่งบุคคล Chapter 4 International Environmental Law
11
กรอบการดำเนินการของทุกองค์กรภายใต้ การพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs
การกำหนดนโยบายและโครงการต่าง ๆ ของรัฐ ต้องอยู่ภายใต้นโยบายการพัฒนาที่ยั่งยืน มีการกำกับ หน่วยงานภาครัฐ โดยการจัดทำแผน ต้องมีการคำนึงถึง เป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นแผนยุทธศาสตร์ (ผูกพันองค์กรรัฐ ที่ต้องระบุให้ชัดเจน ว่าเป็นแผนกลยุทธ์ข้อใด) สำหรับภาคเอกชน เป็นแรงจูงใจในการให้การสนับสนุนทางการเงิน Chapter 4 International Environmental Law
12
Chapter 4 International Environmental Law
13
Chapter 4 International Environmental Law
14
พันธกรณีตามกฎหมาย สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ ที่ประเทศไทยลงนาม
พันธกรณีตามกฎหมาย สิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ ที่ประเทศไทยลงนาม จากเวปไซด์ของสำนักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม ฐานข้อมูลอนุสัญญาทางด้านสิ่งแวดล้อมที่ประเทศไทยลงนาม Chapter 4 International Environmental Law
15
วิธีค้นกฎหมายระหว่างประเทศ
ข้อมูลสนธิสัญญาต่างๆ จาก UN คลิกเข้าไปดู แล้วพิมพ์ชื่อข้อตกลงที่ต้องการค้นหา Chapter 4 International Environmental Law
16
**กลไกทางกฎหมาย** ในการบังคับใช้กฎหมายระหว่างประเทศ
การเป็นภาคีในสนธิสัญญานั้น > การภาคยานุวัติ การบัญญัติเป็นกฎหมายภายใน และการจัดตั้งหน่วยงานภายในประเทศขึ้นมาเพื่อดำเนินการ ปฏิบัติตามสนธิสัญญานั้น การตั้งกรรมการ ผู้ชำนัญการพิเศษเข้ามาเพื่อดูแลการบังคับใช้สนธิสัญญา การกำหนดนโยบาย การจัดการงบประมาณ และการปฏิบัติการ (โดยหน่วยงานนั้น) การทำรายงานของประเทศ (country report & shadow report) Sanction > boycott; fine; abandon Chapter 4 International Environmental Law
18
ข้อสังเกตสำหรับการศึกษา ข้อตกลงระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อม
เป้าหมายในการเกิดข้อตกลงนั้น คืออะไร วิธีการในการจัดการและสภาพบังคับ มีว่าอย่างไร Chapter 4 International Environmental Law
19
ข้อตกลงระหว่างประเทศที่สำคัญ ที่ประเทศไทยลงนาม
อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำ (Ramsar) อนุสัญญาบาเซล (Basel – ของเสียอันตราย) อนุสัญญารอตเตอร์ดัม (สารเคมีอันตราย) อนุสัญญาไซเตส (การค้าพืชและสัตว์ใกล้สูญพันธุ์) กลุ่มอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) อนุสัญญาว่าด้วยความหลากลายทางชีวภาพ อนุสัญญาสตอคโฮล์ม (ว่าด้วยสารพิษตกค้าง) Chapter 4 International Environmental Law
20
Chapter 4 International Environmental Law
อนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ (Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage) ปี 1976 องค์การยูเนสโกได้จัดตั้ง "คณะกรรมการมรดกโลก" เพื่อทำหน้าที่ดูแลมรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติที่สำคัญของโลก และจัดตั้ง "กองทุนมรดกโลก" เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนสนับสนุนการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ Chapter 4 International Environmental Law
21
Chapter 4 International Environmental Law
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ตามข้อเสนอของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ กระทรวงการต่างประเทศดำเนินการร่วมเป็นภาคีในอนุสัญญาฯ ในปี พ.ศ (ค.ศ. 1987) ประเทศไทยเป็นสมาชิกของยูเนสโก เมื่อวันที่ 1 ม.ค (ลำดับที่ 49) และให้สัตยาบันต่ออนุสัญญาเมื่อวันที่ 17 ก.ย.2530 และเป็นสมาชิกคณะกรรมการมรดกโลกชุดปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งระหว่างปี ภายในเดือนมกราคม 2533 คณะรัฐมนตรีมีมติแต่งตั้ง "คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก" โดยมีสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นฝ่ายเลขานุการ เพื่อดำเนินงานต่างๆ ให้เป็นไปตามพันธกรณีของอนุสัญญาฯ และทำหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้มีการดำเนินงานตามแผนการจัดการแหล่งมรดกโลก Chapter 4 International Environmental Law
22
อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำ (Ramsar Convention on Wetlands)
เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ (ค.ศ.1971) ที่เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน ประเทศไทยเข้าเป็นภาคอนุสัญญาแรมซาร์เป็นลำดับที่ 110 และอนุสัญญามีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทยในวันที่ 13 กันยายน 2541 ซึ่งการเข้าเป็นภาคีนั้นประเทศสมาชิกต้องเสนอพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศ (Wetland of International Importance) 1 แห่ง ซึ่งประเทศไทยได้เสนอพรุควนขี้เสียน ในเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย จ.พัทลุง มีพื้นที่ 3,085 ไร่ เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศแห่งแรกของประเทศไทย และเป็นลำดับที่ 948 ในทะเบียนพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศของอนุสัญญาแรมซาร์ Chapter 4 International Environmental Law
23
Chapter 4 International Environmental Law
อนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของของอันตรายและการกำจัด (Basel Convention on the Control of Transboundary Movement of Hazardous Waste and their Disposal :BASEL) การควบคุมการเคลื่อนย้ายของของเสีย และเครื่องมือหรือกลไกการจัดการของเสียอันตรายให้อยู่ในระดับสากล ประเทศไทยให้สัตยาบันเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 1997 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 1998 เป็นต้นมา กรมควบคุมมลพิษ ทำหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงาน (Focal Point) ของอนุสัญญาฯ โดยทำหน้าที่รับและส่งข้อมูลการรายงานอุบัติเหตุ การแจ้งคำนิยามของเสียอันตรายแห่งชาติ รายงานประจำปี ส่งต่อข้อมูลข่าวสารที่ได้รับแจ้งจากสำนักเลขาธิการอนุสัญญาฯ ไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และการจัดส่งค่าใช้จ่ายในการเป็นสมาชิกอนุสัญญาฯ Chapter 4 International Environmental Law
24
Chapter 4 International Environmental Law
อนุสัญญารอตเตอร์ดัมว่าด้วยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสำหรับสารเคมีอันตรายและสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์บางชนิดในการค้าระหว่างประเทศ (Rotterdam Convention on the Prior Informed Consent Procedure for Certain Hazardous Chemicals and PesticPIC) ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันต่ออนุสัญญารอตเตอร์ดัม เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2545 หน่วยงานหลัก ประกอบด้วย 3 หน่วยงาน คือ 1) กรมวิชาการเกษตร รับผิดชอบสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช 2) กรมโรงงานอุตสาหกรรม รับผิดชอบสารเคมีทางอุตสาหกรรม และ 3) กรมควบคุมมลพิษ รับผิดชอบสารเคมีอื่นๆ นอกเหนือจากสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์ และทำหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางประสาน Chapter 4 International Environmental Law
25
Chapter 4 International Environmental Law
อนุสัญญารอตเตอร์ดัมว่าด้วยกระบวนการแจ้งข้อมูลสารเคมีล่วงหน้าสำหรับสารเคมีอันตรายและสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชและสัตว์บางชนิดในการค้าระหว่างประเทศ (ต่อ) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมศุลกากร กรมองค์การระหว่างประเทศ กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กรมการค้าต่างประเทศ กรมยุโรป การท่าเรือแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย Chapter 4 International Environmental Law
26
Chapter 4 International Environmental Law
อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora :CITES) ระบบการควบคุมของไซเตส การค้าสัตว์ป่าพืชป่าและผลิตภัณฑ์ระหว่างประเทศ จะถูกควบคุมโดยระบบใบอนุญาต (Permit) หมายความว่า สัตว์ป่าและพืชป่าที่อนุสัญญาฯ ควบคุมจะต้องมีใบอนุญาตในการส่งออก (export) การส่งกลับออกไป (re-export) การนำเข้า (import) และการนำเข้าจากทะเล (Introduction from the sea) Chapter 4 International Environmental Law
27
Chapter 4 International Environmental Law
อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora :CITES) 2 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ (เมื่อประเทศที่ลงนามรับรองอนุสัญญาฯ ได้ให้สัตญาบันครบ 10 ประเทศ) ปัจจุบันอนุสัญญาไซเตสมีประเทศภาคี 169 ประเทศ (ข้อมูล ณ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2549) ประเทศไทยส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุมเพื่อยกร่างอนุสัญญาฯ นี้ในปี พ.ศ แต่มาลงนามรับรองอนุสัญญาฯ นี้ในปี พ.ศ และให้สัตยาบันเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ นับเป็นภาคีลำดับที่ 78 หน่วยงานประสานกลางของชาติ (National Focal Point) คือ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช Chapter 4 International Environmental Law
28
Chapter 4 International Environmental Law
อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ (Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora :CITES) 3 พระราชบัญญัติคุ้มครองการประชุมภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ครั้งที่ 13 ในประเทศไทย พ.ศ. 2547 พระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518 พระราชบัญญัติพันธุ์พืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 ประกาศกระทรวงพาณิชย์ว่าด้วยการส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร (ฉบับที่ 58) พ.ศ. 2534 ประกาศกรมวิชาการเกษตรเรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการนำเข้า ส่งออก หรือนำผ่านพืชอนุรักษ์และซากของพืชอนุรักษ์ตามพระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ พ.ศ. 2547 Chapter 4 International Environmental Law
29
Chapter 4 International Environmental Law
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) 1980 หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ได้เชื่อมโยงการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมของมนุษย์ การจัดตั้งคณะกรรมการการเจรจาระหว่างรัฐบาลด้านกรอบของอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Negotiating Committee for a Framework Convention on Climate Change: INC) ในปี พ.ศ และต่อมา INC ได้ยกร่างอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) ขึ้นและได้มีการลงมติรับรองในวันที่ 9 พฤษภาคม 2535 ณ สำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นครนิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา จากนั้นได้เปิดให้มีการลงนามในระหว่างการประชุม Earth Summit ในเดือนมิถุนายน 2535 ณ กรุงริโอ เดอ จาเนโร ประเทศบราซิล ซึ่งมีประเทศต่างๆ รวม 154 ประเทศได้ร่วมลงนาม และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2537 (ค.ศ. 1994) Chapter 4 International Environmental Law
30
พิธีสารมอนทรีออลว่าด้วยสารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน (1989)
สนธิสัญญานี้มุ่งไปที่การจำกัดการใช้กลุ่มสารประกอบประเภทไฮโดรคาร์บอน-ฮาโลเจนซึ่งพบว่ามีส่วนสำคัญในการทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน โดยสารทำลายชั้นโอโซนทั้งหมดนี้มีส่วนผสมของคลอรีนหรือโบรมีนประกอบอยู่ด้วย (ในขณะที่สารที่ประกอบด้วยฟลูออรีนเท่านั้นจะไม่ทำลายชั้นโอโซน) สนธิสัญญาได้จำแนกสารทำลายชั้นโอโซนออกเป็นกลุ่มๆ โดยแบ่งเป็นตารางเวลาที่ระบุถึงจำนวนปีที่การผลิตสารเหล่านี้จะต้องยุติลงและหมดสิ้นลงไปในที่สุด Chapter 4 International Environmental Law
31
พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol)
ริเริ่มเมื่อ 1990 เป็นข้อผูกพันทางกฎหมาย (Legal binding) ซึ่งกำหนดพันธกรณีในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศภาคีในภาค ผนวกที่ 1 (Annex I) โดยรวมแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 จากระดับการปล่อยโดยรวมของกลุ่มภาคผนวกที่ 1 ในปี พ.ศ (ค.ศ. 1990) ภายในช่วงปี พ.ศ โดยปริมาณการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจะแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ และมีการกำหนดชนิดก๊าซเรือนกระจกที่อยู่ภายใต้พิธีสารฯ 6 ชนิดคือ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน (CH4) ไนตรัสออกไซด์ (N2O) ไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFCs) เปอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PCFs) และซัลเฟอร์เฮกซาฟลูโอไรด์ (SF6) Chapter 4 International Environmental Law
32
พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ต่อ
ไทยลงนามเมื่อ 1997 อย่างไรก็ตามประเทศไทยในฐานะภาคีในกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาในกลุ่ม Non-annex I จึงไม่มีพันธกรณีในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก แต่ ประเทศไทยได้นำ กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism: CDM) ซึ่งเป็นกลไกภายใต้พิธีสารเกียวโตมาดำเนินงาน โดยมีองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์กรมหาชน) หรือ อบก. ทำหน้าที่เป็น Designated National Authority of Clean Development Mechanism (DNA-CDM) office ทำหน้าที่ วิเคราะห์ กลั่นกรองโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด Clean Development Mechanism (CDM) และให้ความเห็นแก่คณะกรรมการบริหารองค์การก๊าซเรือนกระจก ว่าโครงการต่างๆ ที่ดำเนินงานในประเทศไทย Chapter 4 International Environmental Law
33
Paris Agreement 2015 ‘Conference of the Parties’ COP21
เป้าหมายที่จะไม่ให้อุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้นเกิน 2 องศาเซลเซียสจากช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรม และจะพยายามป้องกันไม่ให้อุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้นเกิน 1.5 องศาเซลเซียส เพื่อลดความเสี่ยงและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กลไกสำคัญคือระบบทบทวน ‘แผนสนับสนุนในระดับประเทศอย่างมุ่งมั่น’ หรือ NDCs (Nationally Determined Contributions) ทุกๆ 5 ปี ซึ่งจะมีการดำเนินการ 2 ขั้นตอนคือ ประเมินความก้าวหน้าร่วมกันในระดับโลก เพื่อให้บรรลุเป้าหมายระยะยาวตามที่ระบุไว้ในข้อตกลงปารีส ในปี ค.ศ.2023 จากผลลัพธ์การประเมินในขั้นตอนที่หนึ่ง แต่ละประเทศจะต้องส่งแผน NDCs ฉบับใหม่ ที่ได้รับการปรับปรุงให้สอดคล้องกับเทคโนโลยี ณ ขณะนั้น Chapter 4 International Environmental Law
34
Paris Agreement 2015 ‘Conference of the Parties’ COP21
คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลที่ว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) จะทำการวัดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ลดลง โดยข้อกำหนดจะมีความยืดหยุ่นตามศักยภาพที่แตกต่างของแต่ละประเทศ ทุกประเทศจะต้องส่งรายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและความก้าวหน้าตามแผน NDCs ทุกๆ 2 ปี Chapter 4 International Environmental Law
35
Chapter 4 International Environmental Law
อนุสัญญาว่าด้วยความหลากลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity: CBD) อนุสัญญาฯ ได้มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม ค.ศ และมีการประชุม The Conference of the Parties to the Convention on Biological Diversity; COP) เพื่อมีการหาข้อยุติในประเด็นขัดแย้งต่างๆ ในอนุสัญญามาแล้ว ถึง 8 ครั้ง โดยครั้งสุดท้าย จัดขื้นที่เมืองคูริติบา ประเทศบราซิล ระหว่างวันที่ มีนาคม 2549 ประเทศไทยได้ลงนามรับรองอนุสัญญา เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2535 และได้ให้สัตยาบรรณเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2546 และมีผลบังคับใช้ต่อประเทศไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2547 ประเทศไทยเป็นประเทศภาคีอนุสัญญา ลำดับที่ 188 จาก 190 ประเทศ (มีนาคม 2550) Chapter 4 International Environmental Law
36
Chapter 4 International Environmental Law
พิธีสารคาร์ตาเฮนา ว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Cartagena Protocol on Biosafety) เป็นพิธีสารที่เป็นผลสืบเนื่อง มาจากบทบัญญัติของข้อ 19 วรรค 3 และ 4 และข้อ 8 (g) และ 17 ของอนุสัญญาว่าด้วย ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีการคำนึงถึงความตกลงของสมัชชาภาคีของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพที่ II/5 ให้พัฒนาพิธีสารว่าด้วยความปลอดภัยทางชีวภาพโดยเน้นเรื่องการเคลื่อนย้ายข้ามเขตแดน (Transboundary movement) ซึ่งสิ่งมีชีวิตใดๆ ก็ตามที่ได้รับการดัดแปลงทางพันธุกรรม (Living modified organisms – LMOs) ซึ่งเป็นผลมาจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ที่อาจมีผลกระทบในทางลบต่อการอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน ตลอดจนกำหนดกระบวนการที่เหมาะสมสำหรับความตกลงในการแจ้งล่วงหน้า (Advance Informed Agreement – AIA) Chapter 4 International Environmental Law
37
Chapter 4 International Environmental Law
ความตกลงอาเซียนว่าด้วยมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน (ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution) ริเริ่มเมื่อ 2002 ระหว่างกลุ่มสมาชิกอาเซียน โดยมีวัตถุประสงค์ในการลดมลหมอกพิษในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Chapter 4 International Environmental Law
38
การคำนวณค่าเสียหายจากคดีโลกร้อน
จากกรณีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และกรมป่าไม้ ดำเนินคดีแพ่ง เรียกค่าเสียหายจากเกษตรกร ที่มีที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัยทับซ้อนกับพื้นที่ป่า โดยได้สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับประเมินค่าเสียหายทางสิ่งแวดล้อม ที่มีรายละเอียด 1. ค่าเสียหายทำให้อากาศร้อนมากขึ้น 45, บาท ต่อไร่ต่อปี 2. ค่าเสียหายทำให้ฝนตกน้อยลง 5,400 บาท ต่อไร่ต่อปี 3. ค่าเสียหายทำให้ดินสูญหาย 1,800 บาท ต่อไร่ต่อปี 4. ทำให้ธาตุอาหารในดินสูญหาย 4,064 บาท ต่อไร่ต่อปี 5. ทำให้ดินไม่ดูดซับน้ำฝน 600 บาท ต่อไร่ ต่อปี 6.ทำให้น้ำสูญเสียจากการแผดเผาของดวงอาทิตย์ 52,800 บาท ต่อไร่ต่อปี และ 7. ค่าเสียหายจากการทำลายป่า 40, บาท ต่อไร่ต่อปี รวมเป็นค่าเสียหายการดำเนินคดีโลกร้อนกับคนที่ถูกศาลตัดสินจากคดีอาญา ไร่ละ 150,000 บาท Chapter 4 International Environmental Law
39
คาร์บอนเครดิต (Carbon Credit)
สภาวะโลกร้อนในปัจจุบันเป็นปัญหาใหญ่สำหรับหลายประเทศทั่วโลก อันเกิดขึ้นจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง ไม่ว่าจะเป็นน้ำมันดิบ ถ่านหิน ที่มาจากการใช้พลังงานของบ้านเรือน อุตสาหกรรม และการขนส่ง ดังนั้นจึงทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจก เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และมีเทน ที่เกิดจากมูลสัตว์และซากของพืช เป็นต้น นานาประเทศจึงต้องการจัดให้มีการทดแทนการปล่อยก๊าซเรื่อนกระจก ซึ่งก็คือก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เราเรียกการทดแทนนี้ว่า คาร์บอนเครดิต (Carbon Credit) และเรียกแหล่งดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ว่า อ่างกักเก็บคาร์บอน หรือคาร์บอนซิงค์ (Carbon Sink) คาร์บอนซิงค์นั้นก็คือ ป่าไม้ธรรมชาตินั่นเอง โดยป่าสมบูรณ์ที่มีพื้นที่ 1 เอเคอร์นั้นสามารถกักเก็บคาร์บอนได้ถึง 2 ตัน เราสามารถคำนวณหาคาร์บอนเครดิตได้โดยหาอัตราการใช้พลังงานทดแทนต่างๆ เช่นการใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์เพื่อผลิตไฟฟ้า แทนการใช้น้ำมันหรือถ่านหิน โดยการใช้พลังงานแสงอาทิตย์แทนน้ำมัน 1 หน่วย (กิโลวัตต์/ชั่วโมง) สามารถคำนวณเป็นเครดิตได้ประมาณ 0.6 กิโลกรัม ทั้งนี้ ดังที่ได้กล่าวมาขั้นต้นว่า เราสามารถใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่นในขณะนี้ สามารถใช้นาโนเทคโนโลยี หรือเทคโนโลยีระดับโมเลกุล มาพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ให้สามารถดูดซับแสงอาทิตย์ได้มากขึ้น เป็นต้น ดูวิดีโอ เกี่ยวกับ Carbon Trade: Chapter 4 International Environmental Law
40
Chapter 4 International Environmental Law
ปัจจุบันมีกองทุนคาร์บอนเครดิตระดับโลกและระดับประเทศมากมาย เช่น กองทุนของธนาคารโลก (World Bank) ที่สนับสนุนเงินทุนให้ผู้ที่มีคาร์บอนเครดิต ส่วนเหล่าประเทศที่ต้องการคาร์บอนเครดิตมาก คือ ประเทศพัฒนาแล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ที่มีอัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงที่สุด และมักไม่ใช่ประเทศกำลังพัฒนา (ยกเว้นประเทศจีน) ด้านประเทศไทยนั้น ยังไม่มีความจำเป็นต้องหาคาร์บอนเครดิตมาเพิ่มเติม อย่างไรก็ตาม เราสามารถตั้งเป้าการลดอัตราการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ซึ่งนอกจากจะช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อนแล้ว ยังสามารถช่วยให้หาเงินทุนได้จากกองทุนคาร์บอนเครดิต โดยการเข้าร่วมโครงการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนอีกด้วย Chapter 4 International Environmental Law
41
การทำคาร์บอนออฟเซ็ต (Carbon Offset)
คือการที่องค์กรต่างๆ เช่น ห้างร้าน บริษัท มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปในชั้นบรรยากาศ และต้องการทดแทนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกชนิดนี้ โดยคำนวณออกมาว่ากิจกรรมต่างๆ ของบริษัทนั้นทำให้เกิดคาร์บอนไดออกไซด์ในอัตราเท่าไร และทดแทนด้วยการบริจาคเงินเข้าโครงการต่างๆ ที่มีการรณรงค์และทำกิจกรรมลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในแหล่งอื่น เช่น โครงการใช้พลังงานธรรมชาติทดแทน โครงการปลูกป่า เป็นต้น เราเรียกผู้ที่รับบริจาคว่า Carbon Offset Provider และองค์กรเจ้าของโครงการ (carbon offset provider) นี้จะมีวิธีคำนวณแปรอัตราการปล่อยคาร์บอนฯของบริษัทออกมาเป็นจำนวนเงินที่ควรบริจาค Chapter 4 International Environmental Law
42
Chapter 4 International Environmental Law
5 เรื่องที่ต้องอ่าน Agenda 21 Kyoto Protocol / Convention on Climate Change UNFCCC & COP21 CITES Convention on Biological Diversity Chapter 4 International Environmental Law
43
World Database on Protected Areas (WDPA)
International Union for Conservation of Nature and Natural Resources (IUCN) Nigel Dudley, ed., Guidelines for Applying Protected Area Management Categories (Gland, Switzerland: International Union for Conservation of Nature and Natural Resources, 2008) Chapter 4 International Environmental Law
44
Chapter 4 International Environmental Law
I) strict protection (including I(a) – strict nature reserve and I(b) – wilderness area) II) ecosystem conservation and protection (i.e. national parks) III) conservation of natural features (i.e. natural monuments) IV) conservation through active management (i.e. habitat/species management areas) V) landscape/seascape conservation and recreation VI) sustainable use of natural resources (i.e. managed resource protected areas) Chapter 4 International Environmental Law
45
Chapter 4 International Environmental Law
ตามการจำแนกประเภทของพื้นที่คุ้มครองจากรายงานของประเทศที่ที่กรมอุทยานจัดทำขึ้นเพื่อรายงานต่อ International Centre for Environmental Management (ICEM) เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า = I) strict protection เขตอุทยานแห่งชาติ = II) ecosystem conservation and protection พื้นที่สวนป่า = V) landscape/seascape conservation and recreation พื้นที่ลุ่มน้ำ และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า = VI) sustainable use of natural resources ข้อสังเกต – เราอาจจัดให้การจัดการป่าชุมชนอยู่ในประเภทการจัดการพื้นที่คุ้มครองแบบที่ 6 ได้ Chapter 4 International Environmental Law
46
ข้อแนะนำจาก IUCN ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
ขยายพื้นที่ ปรับปรุงการเชื่อมต่อ/เชื่อมโยงระหว่างพื้นที่คุ้มครอง พัฒนา ปรับปรุงการจัดการพื้นที่คุ้มครอง พัฒนา ปรับปรุงประโยชน์ของพื้นที่คุ้มครองต่อชุมชนท้องถิ่น จัดการผู้ใช้/ผู้เข้าชมพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนา ปรับปรุงผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น หน่วยงานรัฐ นักวิชาการ นักพัฒนาเอกชน ข้อสังเกตในการเสนอข้อแนะนำนี้ มีความเป็นไปได้ในการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับพื้นที่คุ้มครองได้มากน้อยเพียงใด? Chapter 4 International Environmental Law
47
Chapter 4 International Environmental Law
จบ ☃ Chapter 4 International Environmental Law
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.